พัฒนาการวัยต่างๆ อ .โชติกา ธรรมวิเศษ เด็กวัยทารก (แรกเกิด- 3 ปี ) เด็กวัยทารก (แรกเกิดถึง 3 ปี ) เป็ นวัยที่สาคัญที่สุดในการวางรากฐานสาคัญ ต่างๆ ของชีวติ.

Download Report

Transcript พัฒนาการวัยต่างๆ อ .โชติกา ธรรมวิเศษ เด็กวัยทารก (แรกเกิด- 3 ปี ) เด็กวัยทารก (แรกเกิดถึง 3 ปี ) เป็ นวัยที่สาคัญที่สุดในการวางรากฐานสาคัญ ต่างๆ ของชีวติ.

พัฒนาการวัยต่างๆ
อ .โชติกา ธรรมวิเศษ
เด็กวัยทารก
(แรกเกิด- 3 ปี )
เด็กวัยทารก (แรกเกิดถึง 3 ปี )
เป็ นวัยที่สาคัญที่สุดในการวางรากฐานสาคัญ
ต่างๆ ของชีวติ
พัฒนาการของวัยทารก
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
 น้ าหนักของทารก ขึ้นอยูก่ บั สุ ขภาพและคุณภาพ
ของน้ านมแม่
 ส่ วนสูงของทารกเฉลี่ยปี แรกเพิ่มขึ้นประมาณ 2530 ซม.
 ระบบโครงกระดูกและฟัน :แรกเกิดจะยังไม่มีฟัน
 ระบบประสาท สมองส่ วนกลางมีการพัฒนา
มากกว่าส่ วนอื่น
พัฒนาการของวัยทารก
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
 ด้านการเคลื่อนไหว เคลื่อนไหวด้วยความเร็ ว
และทาซ้ าเป็ นจังหวะ
 ด้านสรี ระ การควบคุมการขับถ่ายให้ถูกเวลา
และสถานที่ ทาให้เด็กเริ่ มรู้จกั ควบคุมกล้ามเนื้อหูรูดได้
พัฒนาการของวัยทารก
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
ร้องไห้……………หนาว ร้อน เปี ยก เจ็บป่ วย
เงียบ............................รอคอย
พัฒนาการของวัยทารก
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
 สื่ อความหมายกับบุคคลอื่นโดยการร้องไห้
 ยืน่ แขนไห้อุม้ กับคนทีคุน้ เคย
พัฒนาการของวัยทารก
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
 การรับรู้รอบๆ ตัว ทารกเริ่ มแยกแยะระดับเสี ยง
 พัฒนาการด้านการเรี ยนรู้ ทั้งการเรี ยนรู้จากสิ่ งเร้า
และการลองผิดลองถูกยืน่ แขนไห้อุม้ กับคนที
คุน้ เคย
 พัฒนาการด้านการรู้คิด
ด้านภาษา จากระบบการเปล่งเสี ยงจากคอชอบเลียน
เสี ยง จนไปถึงการพูดได้รู้เรื่ อง
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล
(อายุ 3-6 ปี )
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
1. พัฒนาการทางร่ างกาย
ด้านร่ างกายของเด็กวัยนี้มีความก้าวหน้ามาก สรุ ป
เดินได้คล่องแคล่วและสามารถวิง่ และกระโดดได้
กล้ามเนื้อใหญ่ มีความก้าวหน้ามากกว่าพัฒนาการ
กล้ามเนื้อย่อย
ความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือยังไม่สมบูรณ์
เด็กชายจะมีรูปร่ างโตกว่าเด็กหญิง แต่เด็กหญิงมี
ความก้าวหน้าทางพัฒนาการทางด้านร่ างกายมากกว่า
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
1. พัฒนาการทางร่ างกาย
….สิ่งที่ควรจะระวังในวัยนี้คอื
ศีรษะ เพราะกระดูกะโหลกศีรษะของเด็กยัง
อ่ อน เวลาศีรษะกระทบของแข็ง หรื อในการสู้
กันโดยให้ ส่วนศีรษะกระทบกัน
........
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
1. พัฒนาการทางร่ างกาย
 การใช้มือของเด็กเด็กที่ถนัดมือซ้าย
มักจะถูกล้อเลียนหรื ออาจจะถูกพ่อแม่
บังคับให้ใช้มือขวา
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
2.พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
เด็กเล็กเป็ นระยะวิกฤตของพัฒนาการ
ทางอารมณ์
อารมณ์ของเด็กมักจะเกิดขึ้นอย่างปุบ
ปับกะทันหัน
ยังไม่มีการควบคุมอารมณ์
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
2.พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
เด็กเล็กเป็ นระยะวิกฤตของพัฒนาการ
ทางอารมณ์
อารมณ์ของเด็กมักจะเกิดขึ้นอย่างปุบ
ปับกะทันหัน
ยังไม่มีการควบคุมอารมณ์
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
•เด็กมักจะชอบเล่นคนเดียว แต่เมื่อโตขึ้น
จะมีปฏิสมั พันธ์กบั เพื่อนมากขึ้น
…เด็กอายุ 4 ขวบ จะใช้ แรงเสริมในการมี
ปฏิสัมพันธ์ ต่อกันและกัน โดยการตั้งใจฟัง การ
ยอมรับเพือ่ น โดยการแสดงความรัก และให้ คา
ชมเชย
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล (อายุ 3-6 ปี )
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
• วัยอนุบาลเป็ นวัยที่ใช้สญ
ั ลักษณ์ได้
• วัยนี้สามารถที่จะวาดภาพพจน์ในใจได้
• มีความตั้งใจทีละอย่าง
•การเปรี ยบเทียบน้ าหนัก ปริ มาตร และความยาวยัง
ค่อนข้าง
•สับสน เด็กยังไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับความคงตัวของ
สสาร
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา
(อายุ 6-12 ปี )
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
1.พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
• จะช้ากว่าเด็กวัยอนุบาล
•อายุระหว่าง 9-10 ปี เด็กชายและเด็กหญิงจะมีขนาด
เท่าๆ กันทั้งน้ าหนักและส่ วนสูง เด็กชายจะโตกว่า
เด็กหญิง แต่ตอนหลังระหว่างอายุ 12-13 ปี เด็กหญิงจะ
โตกว่าเด็กชาย
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
1.พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
• แตกต่างระหว่างบุคคลในความสูงและ
น้ าหนัก จะเห็นได้ชดั ในวัยนี้
• เด็กหญิงที่โตเร็ วจะมีปัญหาการปรับตัว
• เด็กชายที่มีความเจริ ญเติบโตเร็ วกว่าเพื่อน
ร่ วมวัยมีการปรับตัวได้ดี
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
1.พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
• กล้ามเนื้อกระดูก และประสาทจะเพิม่ ขึ้น
•ชายมีพฒั นาการของกล้ามเนื้อเร็ วกว่าเด็กหญิง
•ประสานระหว่างมือกับตาของเด็กวัยนี้จะดีข้ ึน
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
2 พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
• เรี ยนรู้การควบคุมอารมณ์
•ควรจะคานึงถึงความแตกต่างกันมาก
•สิ่ งที่เด็กวัยนี้กลัวที่สุดคือ กลัวว่าจะถูกล้อเพราะ
แตกต่างกับเพื่อน
•มีความวิตกกังวล มีความกลัว
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
3พัฒนาการทางด้ านสั งคม
• จะมีสงั คมพิเศษเฉพาะของเด็ก
•เด็กมักจะรวมกลุ่มตามเพศ
•เพื่อนจะมีความสาคัญและมีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรม
ปรับตัวได้ วยั นีโ้ ตขึน้ จะดี
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
3พัฒนาการทางด้ านสั งคม
เด็กที่มีปัญหาควรจะได้รับการช่วยเหลือจากครู
ใช้ สังคมมิติ
พัฒนาการเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี )
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
• สามารถคิดเหตุผลเชิงตรรกะได้
•รับรู้สิ่งแวดล้อมได้ตามความเป็ นจริ ง
•เข้าใจเกี่ยวกับความคงตัวของสสาร
•ด้านภาษาและการใช้สญ
ั ลักษณ์เริ ม่กา้ วหน้ามาก
•ปัญหาต่างๆ ที่จะต้องแก้ดว้ ยความคิด เหตุผล ถ้า
แก้ได้กจ็ ะมีความภูมิใจ
วัยร่ ุ น
แบ่ งเป็ น
•วันรุ่นตอนต้ น
• ปลายรุ่นตอนกลาง
•วัยรุ่นตอนปลาย
•วันรุ่นตอนต้ น
การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายอย่างรวดเร็ วมีประจาเดือนมี
การสร้างฮอร์โมนอีสโตรเจน และโปรเจสเตอโรน
•วันรุ่นตอนต้ น
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
เปลี่ยนแปลงทางร่ างกายทัว่ ไป และการเปลี่ยนแปลงทางเพศ
มีการสร้างและหลัง่ ฮอร์โมนเพศ
(sex hormones) และฮอร์โมนของการเจริ ญเติบโต
(growth)
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
อารมณ์จะปั นป่ วน เปลี่ยนแปลงว่าย หงุดหงิด เครี ยดง่าย
โกรธง่าย อาจเกิดอารมณ์ซึมเศร้า
•วันรุ่นตอนต้ น
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
เริ่ มห่างจากทางบ้าน ไม่ค่อยสนิทสนมคลุกคลีกบั พ่อแม่
พี่นอ้ งเหมือนเดิม แต่จะสนใจเพื่อนมากกว่า
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
สติปัญญาจะพัฒนาสู งขึ้น จนมีความคิดเป็ นแบบ
รู ปธรรม
•พัฒนาการวัยรุ่นตอนกลาง
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
เจริ ญเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่เต็มที่ และสนใจร่ างกายตนเอง
ต่อมต่างๆ เจริ ญเติบโตเต็มที่
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
ต้องการความเป็ นอิสระมาก จึงมีปัญหาขัดแย้งกับพ่อ
แม่ ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างวัย มีการ
แสดงอารมณ์ที่แข็งกร้าว เพ้อฝัน
•พัฒนาการวัยรุ่นตอนกลาง
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
ชอบทาตามเป็ นกลุ่ม ขัดแย้งกับผูใ้ หญ่มากขึ้น เด็กหญิง
มีพฒั นาการเร็ วกว่าเด็กชาย สนใจเพศ
ตรงข้าม มีความคิดเรื่ องการมีนดั และการแต่งงาน
สับสน เข้าใจสิ่ งที่เป็ นนามธรรม
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
พัฒนาการเกือบเท่ากับผูใ้ หญ่ แต่ขาดประสบการณ์ มี
ปรัชญาชีวติ
•พัฒนาการวัยรุ่นตอนปลาย
1.พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายมีความสมบูรณ์ เป็ นผูใ้ หญ่
เต็มที่แล้ว มีความพร้อมทางด้านการเจริ ญพันธุ์สมบูรณ์
ทั้งเพศหญิงและเพศชาย
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
ตัดสิ นใจ อย่างมีเหตุผล มีความอดทนและความยับยัง่
ชัง่ ใจ มากขึ้น มีการประนีประนอม รู ้ขอบเขตและ
ข้อจากัดของตนเอง
•พัฒนาการวัยรุ่นตอนปลาย
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
มีการออกสังคมมากขึ้นในหมู่เพือนรุ่ นเดียวกัน วัย
ทางานหรื องานสมาคม
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
มีเหตุมีผล ใช้สติในการตัดสิ นปั ญหา ไม่ววู่ าม และมี
ความรอบคอบ มีความรับผิดชอบสูง
เป็ นที่ยอมรับ
•พัฒนาการวัยรุ่นตอนปลาย
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
มีการออกสังคมมากขึ้นในหมู่เพือนรุ่ นเดียวกัน วัย
ทางานหรื องานสมาคม
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
มีเหตุมีผล ใช้สติในการตัดสิ นปั ญหา ไม่ววู่ าม และมี
ความรอบคอบ มีความรับผิดชอบสูง
เป็ นที่ยอมรับ
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนต้ น
วัยรุ่ นเป็ นระยะของความงอกงามพอถึงวัยผูใ้ หญ่
ตอนต้นก็จะเป็ นระยะที่บุคคล
เจริ ญเติบโตเต็มที่ บรรลุวฒ
ุ ิภาวะโดยสมบูรณ์
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
ความเจริ ญเติบโตทางกายสมบูรณ์และพัฒนาเต็มที่
ประสิ ทธิภาพ และความสามารถของ
อวัยวะต่างๆ ของร่ างกายสู งสุ ด รวมทั้งความสามารถ
ทางด้านการสื บพันธุ์เต็มที่
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนต้ น
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
มีอารมณ์และความมัน่ คงทางจิตใจดีกว่าระยะวัยรุ่ น แต่
ความสนใจในสิ่ ง
ต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงมากไม่คงที่ และต้องประสบ
กับความตึงเครี ยดทางอารมณ์ในเรื่ องต่างๆ เพราะเป็ น
วัยที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนต้ น
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
วัยนี้เป็ นวัยแห่งการเริ่ มสร้างหลักฐานในชีวติ โดย
ประกอบอาชีพการงาน มีคู่ครอง มีบุตร
ต้องปรับตัวหลายอย่าง เช่น ปรับตัวให้เหมาะสมกับงาน
อาชีพ ชีวติ คู่
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนต้ น
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
วัยนี้จะมีประสิ ทธิ ภาพทางสติปัญญา สมองพัฒนาเต็มที่
และคงอยูส่ งูสุดไปจนถึงวัยกลางคน
จากการวิจยั ของธอร์นไดค์ได้ผลว่า ระยะเวลาที่บุคคล
เรี ยนรู ้ได้ดีที่สุดคือ อายุระหว่าง 2 0-25 ปี
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง
บรรลุถึงจุดยอดแห่งความเข้มแข็งทาง
กายและความมีพลังทางเศรษฐกิจ
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง
1. พัฒนาการทางด้ านร่ างกาย
การเคลื่อนไหวทางด้านกล้ามเนื้อทางานช้าลง และ
กาลังเริ่ มน้อยลง เหนื่อยง่าย ประสาทสัมผัสต่างๆ รับรู้
ช้า สายตาเริ่ มสั้นหรื อยาว รู ปร่ างเปลี่ยนแปลง ผมเริ่ ม
หงอก ความต้องการทางเพศลดล ง
ผูห้ ญิงอายุประมาณ 45-60 ปี ประจาเดือนจะหมด
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
วัยนี้มีความกังวลใจในด้านสุ ขภาพที่
เปลี่ยนไป และยังเป็ นห่วงการงานใน
หน้าที่ความรับผิดชอบของตน จึงทาให้
อารมณ์เปลี่ยนแปลงจากเดิม โดยเฉพาะ
ผูห้ ญิงจะมีมากกว่าผูช้ าย
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
คนที่อยูใ่ นวัยกลางคน มักจะประสบ
ความสาเร็ จในด้านอาชีพ หรื อมีการ
โยกย้ายตาแหน่งหน้าที่สูงขึ้น ทาให้ตอ้ ง
มีการปรับตัวทั้งในด้านส่ วนตัว
ครอบครัว และเพื่อนร่ วมงาน
•พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
ความจาเกี่ยวกับตัวเลขและการคิดคานวณค่อยๆ ลดลง แต่
ความสามารถทางสมองด้านอื่นๆ ยังสูงขึ้น เช่น การจาจานวน
คาศัพท์ และจากผลการค้นคว้าพบว่าผลงานของผูท้ ี่มี
ความสามารถพิเศษ ระยะอายุ 40 ปี ขึ้นไป เป็ นช่วงที่มีผลงาน
มากที่สุดและผลงานจะลดลงเมื่ออายุ 60 ปี
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
วัยชรา( Old Age) จะอยู่
ในช่วง 60 ปี ขึ้นไป ถือเป็ นระยะ
สุ ดท้ายของชีวิต
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
1. พัฒนาการทางด้านร่ างกาย
สภาพร่ างกายภายนอกผิวหนังจะเหี่ ยวย่น ผิวหนังแตงแห้ง
เส้นเลือดฝอยแตกง่าย ผมและขน
เริ่ มเปลี่ยนเป็ นสี ขาวและหลุดร่ วงง่าย
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
1. พัฒนาการทางด้านร่ างกาย
สภาพการทางานของอวัยวะต่างๆ ภายในร่ างกายจะลด
ประสิ ทธิภาพลง
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
การไม่ได้รับการเอาใจใส่ อาจทา
ให้เกิดปัญหาทางอารมณ์
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
2. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์
เศร้า เบื่อหน่าย ท้อแท้ เหงา
น้อยใจง่าย สิ้ นหวัง หงุดหงิดง่าย
เครี ยด ขี้บ่น
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
3. พัฒนาการทางด้ านสั งคม
บทบาททางสังคมจะถูกจากัดลง
เนื่องจากสุ ขภาพไม่เอื้ออานวย
ต้องเป็ นภาระให้กบั คนใกล้ชิด
พัฒนาการวัยผู้ใหญ่ ตอนปลาย
(วัยชรา 60 ปี ขึน้ ไป)
4. พัฒนาการทางด้ านสติปัญญา
เซลล์สมองจะเสื่ อมลง ถ้าสมอง
ขาดการบารุ งและส่ งเสริ มการใช้
งานที่เหมาะสมแล้ว
ควรมีความใส่ ใจและให้ ความสาคัญกับผู้ชรา
โดยอาจหาโอกาสให้ คนชรามีโอกาสพบปะ
สั งสรรค์ กบั คนในวัยเดียวกันบ้ าง จะมีส่วน
ช่ วยให้ คนชรามีจิตใจแจ่ มใส บางรายอาจ
ประสบปัญหา โรคสมองฝ่ อ (Atrophy)
ได้
จบ