องค์กรอาชญากรรม - อาจารย์พัชรา นิติวิทยาศาสตร์ อาญาวิทยา งานวิจัย

Download Report

Transcript องค์กรอาชญากรรม - อาจารย์พัชรา นิติวิทยาศาสตร์ อาญาวิทยา งานวิจัย

การศึกษารูปแบบอาชญากรรม
ที่กระทาเป็ นองค์กร
รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา
www.ajarnpat.com, E-mail : [email protected]
Mobil : 081-826-3932
ตารางสอนรายวิชา อาชญากรรมองค์ กรและอาชญากรรมข้ ามชาติ ภาค 2/2553
ครั้งที่
1
วัน / เวลา สอน
หัวข้ อที่สอน
รายชื่อผู้สอน
ความหมายและลักษณะขององค์กร
6 พ.ย. 53
09.00-12.00 น. อาชญากรรมและอาชญากรรมข้ ามชาติ
พ.ต.ท.สนธยา รัตนธารส
13.00-16.00 น. บทบาทของหน่ วยงานในกระบวนการ
ยุตธิ รรมที่ใช้ ในการจัดการกับปัญหาองค์กร
อาชญากรรมและอาชญากรรม ข้ ามชาติ
2
13 พ.ย. 53
09.00-16.00 น
แนวคิด ทฤษฎีเกีย่ วกับพฤติกรรม
อาชญากรรมที่กระทาเป็ นองค์กร
ผศ.ดร.สุ ณยี ์ กัลยะจิตร
การศึกษารูปแบบอาชญากรรมที่กระทาเป็ น รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา
องค์กร
3
4
20 พ.ย. 53
09.00-16.00 น
องค์กรอาชญากรรมด้ านยาเสพติด
27 พ.ย. 53
09.00-16.00 น
การก่อการร้ าย
พ.ต.อ.ดร.ประพนธ์ สหพัฒนา
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
พ.ต.อ.ดร.ประพนธ์ สหพัฒนา
องค์กรอาชญากรรมด้ านการ
มนุษย์
พ.ต.อ.หญิง เพชราภรณ์ มงพลเมือง
ค้า
พ.ต.อ.หญิง เพชราภรณ์ มงพลเมือง
ตารางสอนรายวิชา อาชญากรรมองค์ กรและอาชญากรรมข้ ามชาติ ภาค 2/2553 (ต่ อ)
ครั้งที่
วัน / เวลา สอน
หัวข้ อที่สอน
รายชื่อผู้สอน
5
11 ธ.ค. 53
การสอบสวนและมาตรการทางกฎหมาย
09.00-12.00 น ต่ ออาชญากรรมทีก่ ระทาเป็ นองค์ กร
13.00-16.00 น. การรับฟังและการคุ้มครองพยานในการ
ป้ องกันและปราบปรามองค์ กร
อาชญากรรม
ศ.พล.ต.ต.สัญญา บัวเจริญ
6
18 ธ.ค. 53
รู ปแบบขององค์ กรอาชญากรรมทีน่ ่ าสนใจ
09.00-12.00 น. ในต่ างประเทศ
13.00-16.00 น แนวทางการแก้ไขปัญหา และการพัฒนา
องค์ ความรู้ ด้านอาชญากรรมองค์ กร
25 ธ.ค. 53
การนาเสนอรายงานอาชญากรรมองค์ กร
09.00-16.00 น และอาชญากรรมข้ ามชาติ
ผศ.ดร.สุ ณยี ์ กัลยะจิตร
8 ม.ค.2554 สรุปและทบทวน
09.00-16.00 น. สอบ
อาจารย์ ดร.อัครินทร์ ลิม่ ประเสริฐ
7
8
รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา
รศ.พ.ต.อ.หญิง ดร.พัชรา สินลอยมา
และอาจารย์ ดร.กฤษณพงค์ พูตระกูล
อาจารย์ ดร.อัครินทร์ ลิม่ ประเสริฐ
การวัดและประเมินผล (ใช้ ระบบอิงกลุ่ม)
1. คะแนนระหว่ างภาคเรียน 40% แยกดังนี้
1.1 ความสนใจ/งานที่มอบหมายให้ ทา
1.2 รายงานวิจัยส่ วนบุคคล
1.3 การทดสอบย่ อย/ปฏิบัติ
2. คะแนนสอบปลายภาค
20%
20%
10%
50%
100%
อาชญากรรมองค์ กร (Organized Crime)
หมายถึง อาชญากรรมซึ่ งอาชญากรได้
รวมตัวเข้ าด้ วยกันตามสายการบังคับบัญชาในรู ป
องค์ กร โดยวางแผนและดาเนินงานเพื่อประกอบ
ธุรกิจผิดกฎหมายประเภทต่ างๆ
องค์กรอาชญากรรม "Organize Crime"
คือ
กลุ่มบุคคลซึ่งจัดตัง้ ขึ้นตัง้ แต่ 3 คนขึ้นไปที่ รวมตัว
หรือ ประสาน การดาเนินงานระหว่างกันในรูปแบบต่ างๆ
เป็ นระยะเวลาหนึ่ ง เพื่อก่อหรือกระทาความผิดร้ายแรงฐาน
ใดฐานหนึ่ ง หรือ หลายฐาน หรื อ เพื่ อ แสวงหาผลประโยชน์
ทางการเงิ น ทรัพ ย์สิ น หรื อ ผลประโยชน์ อื่ น ใดไม่ ว่ า โดย
ทางตรงหรือทางอ้อม
วัตถุประสงค์ขององค์กรอาชญากรรม
ต้ องการแสวงหารายได้ และการค้ า
กาไรที่ใช้ วิธีการผูกขาดและการกระทาผิด
กฎหมาย ผลประโยชน์ ที่เกิดจากการกระทา
ค ว า ม ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ซึ่ ง ท า ใ ห้ อ ง ค์ ก ร
อาชญากรรมมีอทิ ธิพล อานาจและเติบโตได้
ลักษณะขององค์ กรอาชญากรรม
1. คณะบุคคล
รวมตัวอย่างมันคง
่
2. มีการวางแผน กาหนดนโยบาย
3. การบริหาร + จัดการ
4. หัวหน้ า
มีประสิทธิภาพ
อานาจเศรษฐกิจ + การเมือง + สังคม
5. ข้าราชการ + นักการเมือง
ร่วมเป็ นสมาชิก
ลักษณะขององค์ กรอาชญากรรม (ต่ อ)
6. อาชญากรอาชีพ + ข้ามชาติ
7. การดาเนินงาน
8. ใช้เงินจานวนมาก
9. จัดสรรเงินพิเศษ
บุคคลมีความรู้ + เชี่ยวชาญ
ดูแลพรรคพวก บริวาร
10. ใช้ความรุนแรงในการดาเนินธุรกิจ
กิจกรรมที่ผิดกฎหมายขององค์กรอาชญากรรม
การใช้ อทิ ธิพลข่ มขู่
การลักลอบนาเข้ า
หรือส่ งออกคนต่ างด้ าว
การค้ ายาเสพติด
การชิงทรัพย์
การลักรถยนต์
การยักยอกเงิน
การกรรโชกทรัพย์
การลักลอบค้ าอาวุธ
การควบคุมตลาดมืด
การฉ้ อโกง
การทาร้ ายร่ างกาย
โดยใช้ อาวุธ
การลักลอบค้ าวัตถุโบราณ
การค้ ามนุษย์ และการแสวงหาประโยชน์
จากการค้ าประเวณี
ปัจจัยที่มีผลต่ อการจัดตั้งองค์ กรอาชญากรรม
ทีต่ ้งั ทางภูมิศาสตร์
มาตรการทางกฎหมาย
จารีตประเพณี
เชื้อชาติ เผ่ าพันธุ์
ขนบธรรมเนียม
เครือข่ ายความสั มพันธ์
ของผู้กระทาผิด ผู้มีอานาจ
ลักษณะทางกายภาพ
และอุปนิสัยของประชาชน
มรดกทางประวัติศาสตร์
โครงสร้ างขององค์ กรอาชญากรรม
1. กลุ่มอาชญากร (Criminal group)
2. ผู้พทิ กั ษ์ /ที่ปรึกษา (The Protector)
3. ผู้สนับสนุนทีเ่ ป็ นผู้เชี่ยวชาญ (Specialized Support)
4. ผู้สนับสนุนทีเ่ ป็ นผู้ใช้ บริการ (User Support)
5. การสนับสนุนจากสั งคม (Social Support)
1. กลุ่มอาชญากร (Criminal group)
เป็ นแกนกลางขององค์กร
ลักษณะของกลุ่มอาชญากร มีดงั นี้
•
•
•
•
•
•
มีความต่ อเนื่อง
มีโครงสร้ าง
มีสมาชิกภาพ
ประกอบอาชญากรรม
มีการใช้ ความรุนแรง
มีอานาจและผลกาไร
ปฏิบตั ิภารกิจตลอดไป ไม่ ขนึ้ อยู่กบั สมาชิก
สมาชิกคานึงถึงกลุ่มมากกว่ าผลประโยชน์ ส่วนตัว
จัดโครงสร้ างตามลาดับชั้นในลักษณะทีม่ คี วามสั มพันธ์ กนั
การเป็ นสมาชิก หมายถึง
การปฏิบตั ิตามพันธะตลอดชีวติ
เป็ นเป้ าหมายขององค์ กรเพือ่ แสวงหากาไร
เครื่องมือในการควบคุมและปกป้ องสมาชิก + บุคคลอืน่
2. ผู้พทิ กั ษ์ /ที่ปรึกษา (The Protector)
บุคคลกลุ่มนี้ ประกอบด้ วย
ให้ ความช่ วยเหลือกลุ่มอาชญากร ทา
ให้ รอดพ้นจากการดาเนินคดีของรัฐ
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐทีท่ ุจริต
และประพฤติมิชอบ
นักธุรกิจ
ที่ปรึกษาทางการเงิน
เจ้ าหน้ าทีใ่ นกระบวนการยุติธรรม,
ทนายความ
3. ผู้สนับสนุนทีเ่ ป็ นผู้เชี่ยวชาญ (Specialized Support)
บุคคลกลุ่มนีไ้ ม่ มพี นั ธะกับกลุ่มอาชญากรแต่ ถือเป็ นส่ วนหนึ่งขององค์ กรอาชญากรรม
เช่ น ผู้ให้ ความช่ วยเหลือ ให้ ความสะดวกในการประกอบอาชญากกรรม
4. ผู้สนับสนุนทีเ่ ป็ นผู้ใช้ บริการ (User Support)
เป็ นส่ วนประกอบทีม่ คี วามสาคัญในการสนับสนุนองค์ กรให้ ประสบความสาเร็จ
ช่ วยหาลูกค้ า/ผู้ใช้ บริการที่ผดิ กฎหมาย เช่ น ยาเสพติด การพนัน โสเภณี
รับซื้อของโจร ฯลฯ
5. การสนับสนุนจากสั งคม (Social Support)
เป็ นผู้ทาให้ องค์ กรมีอานาจและได้ รับการยอมรับจากสั งคม เช่ น
• นักการเมืองทีไ่ ด้ รับการสนับสนุนจากบุคคลในองค์ กร
• นักธุรกิจทีท่ าธุรกิจกับองค์ กร
• ผู้นาทางสั งคมและชุ มชน ซึ่งเชื้อเชิญสมาชิกขององค์ กรมาร่ วมงานสั งคม
สร้ างภาพที่ดีให้ กบั องค์ กร
รูปแบบขององค์กรอาชญากรรม
องค์ กรอาชญากรรม ทีม่ ีการจัดโครงสร้ างในรูปแบบต่ างๆ ทีส่ าคัญมีดังนี้
(1) รู ปแบบโคซา นอสตรา
ประกอบด้ วย
นายใหญ่ /หัวหน้ า
ผู้ใกล้ ชิดหัวหน้ า/ที่ปรึกษา
นายรอง/รองหัวหน้ า
ผู้นาระดับกลาง
ผู้ปฏิบัติงาน
มีการกาหนดอานาจหน้ าทีข่ องสมาชิกอย่ างชัดเจน
เป็ นผู้มอี ทิ ธิพล/นักกฎหมายทีไ่ ด้ รับความไว้ วางใจ
เป็ นสามาชิกทีอ่ าวุโสในครอบครัว ทาหน้ าทีแ่ ทน
หัวหน้ า ปฏิบตั ิงานตามที่ได้ รับมอบหมาย
ติดต่ อสื่ อสารจากระดับสู งไปสู่ ระดับล่ าง
เรียกว่ า “พลทหาร”
ขึน้ ตรงต่ อผู้นาระดับกลาง
(2) รู ปแบบอุปถัมภ์ (Albini’s Patron-Client Model)
ผู้ให้ การอุปถัมภ์
เป็ นการรวมกลุ่มบุ คคลที่มี
โครงสร้ างความสั ม พั น ธ์
อย่ างหลวมๆ เพื่อประโยชน์
ของกลุ่ม
มีความสั มพันธ์ กบั
เจ้ าหน้ าทีร่ ัฐ
ให้ การสนับสนุนทางด้ านเศรษฐกิจ
และการเมือง
ผู้อยู่ภายใต้ ผ้ ูอุปถัมภ์
(3) รู ปแบบวิสาหกิจ (Smith’s Enterprise Model)
• เป็ นเพียงการประกอบธุรกิจที่ต่อเนื่องไปสู่ การกระทาที่ผดิ กฎหมาย
• มีโครงสร้ างพืน้ ฐานเช่ นเดียวกับวิสาหกิจทีถ่ ูกกฎหมาย
• เป็ นเพียงกิจกรรมทางธุรกิจอย่ างหนึ่งซึ่งผิดกฎหมาย
-การค้ ายาเสพติด
-การกู้ยมื เงิน
-การกระทาผิดอืน่ ๆ ในการให้ บริการลูกค้ า
(4) รู ปแบบความสั มพันธ์ ของเครือญาติ (Ianni’s Kinship Group model)
• มีลกั ษณะคล้ ายระบบสั งคม
• ไม่ มโี ครงสร้ างแยกออกจากการปฏิบตั ิหน้ าที่/ มีโครงสร้ างทีเ่ ป็ นอิสระจากตัวบุคคล
• การรวมกลุ่มกันขึน้ อยู่กบั กระบวนการทางสั งคมเท่ าๆ กับการรวมกลุ่มทางด้ านเชื้อชาติ
ทฤษฎีการถ่ ายทอดทางชาติพนั ธุ์ (Ethnic succession)
ต่ อสู้ ดนิ้ รนต่ ออุปสรรค
กลุ่มผู้อพยพมาใหม่
ถูกกีดกัน+ขาดโอกาสทางเศรษฐกิจ
รวมตัวเป็ น
องค์ กร
อาชญากรรม
*เมือ่ มีผู้อพยพเข้ ามาใหม่ ลักษณะองค์ กรอาชญากรรมก็จะเปลีย่ นไปตามกลุ่มของบุคคล
(5) รู ปแบบเครือข่ ายอาชญากรรม (Chambliss’s Crime Network Model)
• ประกอบด้ วยเครือข่ าย (Network) ต่ างๆที่ทางานร่ วมกัน
• มีสมาชิกในองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน
• ไม่ มรี ะบบการควบคุมไว้ ทศี่ ูนย์ กลาง
• นักธุรกิจ
• ผู้รักษากฎหมายและการเมือง
กิจกรรมที่เกีย่ วข้ อง
•
•
•
•
การค้ าประเวณี
การพนัน
สิ่ งลามกอนาจาร
ยาเสพติด
• มีการปรับตัวไปตามสภาพเศรษฐกิจ การเมือง สั งคม ในชุ มชนนั้นๆ
(6) รู ปแบบหุ้นส่ วน (Haller’s Partnership Model)
• เป็ นการประกอบธุรกิจอย่ างหนึ่ง
• เกิดจากการรวมตัวกันของธุรกิจขนาดย่ อม
• เกีย่ วข้ องกับหุ้นส่ วนหลายคน
• ไม่ ได้ ถูกกาหนดโดยผู้นาคนใดคนหนึ่ง
- ระดับสู ง
- ระดับกลาง
มีการ
เปลีย่ นแปลง
ตลอดเวลา
• รูปแบบการลงทุน + การร่ วมทุน
องค์ กรอาชญากรรมในประเทศไทย
• ไม่ มลี กั ษณะการจัดองค์ กรเป็ นรู ปแบบ อย่ างมาเพีย (MAFIA) หรือยากูซ่า (YAKUZA)
หลักฐาน
ยืนยันว่ าองค์ กรอาชญากรรมในประเทศไทยมีมานานแล้ว
กาหนดความผิดฐานอั้งยี่ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209 และความผิด
ฐานซ่ อ งโจรตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 210 คล้ า ยคลึง กับ ที่ มี ก าร
บัญญัติไว้ ในกฎหมายลักษณะอาญาร.ศ. 127 มาตรา 178 และมาตรา 179
พัฒนาการขององค์ กรอาชญากรรมในประเทศไทย
แยกพิจารณาได้ 3 กลุ่ม
ชุมโจร
อั้งยี่
เจ้ าพ่อ/
กลุ่มผู้มีอทิ ธิพล
อั้งยี่
• เป็ นสมาคมลับของชาวจีน ซึ่งอพยพมาอยู่ประเทศไทย
• อยู่รวมกันเป็ นหมู่ตามท้องถิ่นเดิมเพื่อช่วยเหลือกันและกัน
เป็ นสามาคมแบบเดียวกับมาเฟี ย /ยากูซ่า
วัตถุประสงค์
ต่อรองผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ
อั้งยี่
• ปัญหา อั้งยีร่ ุนแรงมากในสมัย ร.5
ช่ วงการปฏิรูปการปกครองและมีการยกเลิกระบบเจ้ าภาษีนายอากร
• ทาให้ สูญเสี ยผลประโยชน์ และสถานภาพทางเศรษฐกิจ
• มีการกระทาอันมิชอบด้ วยกฎหมาย
- ก่ อกวนความสงบสุ ข
- ทะเลาะวิวาทแก้ แค้ นกัน
- ทาร้ ายร่ างกาย
- ข่ มขู่รีดไถ ปล้ นสดมภ์
ตราพระราชบัญญัติอ้งั ยี่ ร.ศ. 116(พ.ศ.2440)
กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127(พ.ศ. 2451)
* ปัญหาค่ อยๆหมดไป ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง ปี พ.ศ.2475 จนถึงปัจจุบนั
ชุมโจร
การปฏิรูปการเมืองการปกครอง สมัย ร.5
การปกครองแบบรวมศูนย์ อานาจไว้ ทสี่ ่ วนกลาง
เกิดช่ องว่ างระหว่ างส่ วนกลางและท้ องถิ่น
ทาให้ เกิดผู้นาของชุ มชนทีท่ าหน้ าทีป่ กป้ องคุ้มครองชุ มชนตน
ผู้ทรงอิทธิพลในท้ องถิ่นทีก่ ล้ าหาญ
และได้ รับการยอบรับ
เรี ยกว่า “นักเลง”
ชุมโจร
“นักเลง”/ ผู้นาอย่ างไม่ เป็ นทางการของชุ มชน
บางยุคได้ รับการ
แต่ งตั้งจากราชการให้
เป็ นผู้ใหญ่ บ้าน/
กานัน
ภายหลังปี พ.ศ.2398 มีการขยายตัวด้ านเศรษฐกิจอย่ างไม่ ทดั เทียมกัน
มีพฤติกรรมเป็ นหัวหน้ าโจรออกปล้ นสะดมคนในชุ มชนตนเอง
รวมกลุ่มบุคคลเป็ น “ชุ มโจร”
• ชุ มโจรบ้ านกอไผ่
อ.ปากท่ อ จ.ราชบุรี
เจ้ าพ่อ/
กลุ่มผู้มีอทิ ธิพล
“เจ้ าพ่อ”
นักเลง + ผู้มีอทิ ธิพล
“อิทธิพล” หมายถึง อานาจทีไ่ ม่ เป็ นทางการ
นอกจากจะมีอานาจเหนือสมัครพรรคพวกของตน ยังแผ่ ขยายครอบงาเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ของท้ องถิ่น
ทาให้ เจ้ าพ่อมีความแตกต่ างจากโจร
เจ้ าพ่อ/
กลุ่มผู้มีอทิ ธิพล
มิได้ กระทากิจการทีผ่ ดิ กฎหมายอย่ างเดียว มักเป็ นเจ้ าของธุรกิจ /กิจการที่ชาวบ้ าน
ต้ องพึง่ พาเพือ่ ความอยู่รอด
- เจ้ าของธุรกิจรับซื้อพืชไร่
- ธุรกิจแปรสภาพผลิตผลทางการเกษตร
- ค้ าสุ รา บุหรี่ เหมืองแร่ ฯลฯ
ดาเนินธุรกิจแบบผูกขาด
เป็ นกิจการประเภทอภิสิทธิ์
* แนวโน้ มบทบาทเจ้ าพ่อเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมที่เกีย่ วข้ องกับการกระทาผิดกฎหมาย
กลายเป็ นนักธุรกิจทีม่ สี านึกต่ อสั งคม เป็ นผู้มอี ทิ ธิพลในท้ องถิ่นทีเ่ กิดจากการสร้ างความดี
เจ้ าพ่ อมักเป็ นผู้ให้ ความอุปถัมภ์ อย่ างเปิ ดเผย
ผู้มีอทิ ธิพล
หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลทีด่ ารงตนด้ วยการกระทาด้ วยตนเอง / ใช้
จ้ าง วาน สนับสนุ นการกระทาการใดๆ ที่ผิดกฎหมาย โดยพฤติกรรม
ดังกล่ าวเป็ นความเป็ นทางอาญา และผลของการกระทาส่ งผลกระทบใน
วงกว้ างต่ อสั งคม ก่ อให้ เกิดความราคาญ ความเสี ยหาย / สร้ างเครื อข่ าย
ขยายผล ซึ่งบ่ อนทาลายเศรษฐกิจ สั งคม การเมือง และขัดต่ อศี ลธรรม
อันดี
*การวิจัยของศูนย์ ข้อมูลอาชญากรรม และการฟอกเงิน
ประเภทกลุ่มของผู้ทรงอิทธิพล
แบ่ งออกเป็ น 4 กลุ่ม
1. กลุ่มผู้ทรงอิทธิพลระดับท้ องถิ่น
มาจากข้ าราชการ
ท้ องถิ่น ร่ วมมือกับ
เจ้ าหน้ าทีบ่ ้ านเมือง
2. กลุ่มผู้ทรงอิทธิพลประเภทเป็ นข้ าราชการ
- คุมหวยเถื่อน
- บ่ อนพนัน
- ซ่ องโสเภณี
รับสิ นบนจากผู้ประกอบอาชญากรรมต่ างๆ
3. กลุ่มผู้ทรงอิทธิพลทีม่ าจากผู้ประกอบธุรกิจการค้ า
ทาธุรกิจทั้งถูกกฎหมายและผิด
กฎหมาย โดยมีนักการเมืองหนุนหลัง
4. กลุ่มผู้ทรงอิทธิพลซึ่งพัฒนาตนเองมาจากนักเลงหัวไม้
คุมบ่ อน คุมซ่ อง เจ้ ามือหวยเถื่อน
รูปแบบ
อาชญากรรมองค์ กร
 ธุรกิจผิดศีลธรรม + ผิดกฎหมาย
-
บ่ อนการพนัน
V.D.O.เปลือย
หวย
ค้ าไม้ เถื่อน ของเถื่อน แรงงานเถื่อน
แก็งค์ ขโมยตัดเศียรพระ
ฯลฯ
รู ปแบบของอาชญากรรมองค์ กร
 ขายของหนี ภาษี
 ปล่อยเงินกู้ + ดอกเบีย้ สูง
 โสเภณี
 การค้ายาเสพย์ติด
 เรียกค่าคุ้มครอง
บ่อนการพนัน
• ปี พ.ศ.2539 มีบ่อนการพนันในกรุงเทพมหานครประมาณ 300 แห่ ง
มีเงินหมุนเวียนประมาณ 136 ล้านบาทต่ อปี
• ต่ างจังหวัดมีบ่อนขนาดใหญ่ ประมาณ 90 แห่ ง
มีเงินหมุนเวียนประมาณ 142,200 ล้านบาทต่ อปี
• นักพนันไทยนาเงินไปเล่นกาสิ โนในต่ างประเทศประมาณปี ละ
25,000 ล้านบาท
Reference:
ศู นย์ ศึกษาเศรษฐศาสตร์ การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
บ่อนการพนัน
• บ่ อนการพนันนอกกฎหมายต่ าง ๆ เป็ นแหล่ งอาชญากรรม และ
การฉ้ อราษฎร์ บังหลวง รายได้ จานวนหนึ่งจ่ ายให้ แก่ นัก การเมือง
และนายตารวจบางคน
• บ่ อนการพนันจะต้ องป้ องกันตนเองและลูกค้ าจากองค์ กรอาชญากรรม
กลุ่มอื่น ๆ จึงต้ องจัดหามือปื นหรื อเข้ าร่ วมกับองค์ การอาชญากรรมต่ าง ๆ
เพือ่ ความอยู่รอด
• ส่ งผลกระทบไปยังระบบการเมืองการปกครองในส่ วนรวมอีกด้ วย เพราะเงินจากแหล่ ง
การพนันยังถูกใช้ ในการสร้ างฐาน อานาจทางการเมืองของนักการเมืองทุกระดับ
ประธานาธิบดีเอสตราด้ าแห่ งประเทศฟิ ลิปปิ นส์
ถู กสอบสวนพฤติ กรรม ในการรั บเงิน สิ น บนจากธุ รกิจ
การพนันที่ผิดกฎหมายที่ชาวฟิ ลิปปิ นส์ เรียกว่ า “ฮูเต็ง” (Jueteng)
ซึ่ งเป็ นการบั่นทอนเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจ ของ
ฟิ ลิป ปิ นส์ อย่ า งรุ น แรง เพราะเป็ นการท าลายความเชื่ อ มั่ น และ
ความศรั ท ธาของต่ า งประเทศ รวมทั้ ง ฉุ ด ให้ การเติ บ โตทาง
เศรษฐกิจของฟิ ลิปปิ นส์ ต้องลดต่าลง
บ่ อนการพนันตาม
แนวชายแดน
แรงงานเถื่อน
แรงงานเถื่อนโรฮิงญา
• พบหลั ก ฐานการกระท าความผิ ด ใน
ลั ก ษณะเป็ นองค์ ก รอาชญากรรม และ
เชื่อมโยงกับขุมข่ ายผู้มอี ทิ ธิพล
• จากหลักฐานเอกสาร และพยานบุคคลที่รวบรวม โดย
หน่ วยข่ าวความมั่นคง ซึ่ งเชื่ อมโยงไปถึงกลุ่มอิทธิพลค้ า
แรงงานเถื่อน เครื อข่ ายนายหน้ าทั้งจากประเทศต้ น ทาง
ประเทศทางผ่ าน และจุดหมายปลายทางทั้งในเมืองใหญ่
ของไทยและประเทศมาเลเซีย
ปล่อยเงินกู้ + ดอกเบีย้ สูง
• ตร.กระบี่จับยกแก๊งปล่อยกู้ ทวงหนีโ้ หด
ตร.กวาดล้ า งจั บ ยกแก๊ ง 16 คนทวงหนี้โ หด
รั บ จ้ า งนายทุ น จากกรุ ง เทพฯ-ภู เ ก็ ต ปล่ อ ย
เงินกู้-เก็บดอกเบี้ยโหดพ่ อค้ าแม่ ค้ าชาวเมือง
กระบี่ ยอดเงินปล่ อยกู้ไม่ ตา่ กว่ า 15 ล้านบาท
องค์กรยาเสพติดในเรือนจา
19 ต.ค. 53 ตารวจราชบุรีจับกุมเครือข่ ายยาเสพติดพร้ อมของกลางยาไอซ์
หนัก 9.2 กรัม ยาลดน้ามูกยี่ห้อ นาโซลินมีส่วนประกอบของสารตั้งต้ น ในการ
ผลิตยาบ้ าและยาไอซ์ จานวน 23,400 เม็ด กับเครื่องบินร่ อนขนาดใหญ่ ใช้ รีโมท
บังคับ เครื่ องร่ อนผลิตด้ วยไม้ รอนซ่ า ซึ่ งมีน้าหนักเบา บิน ได้ สูงประมาณ 5
เมตรบินข้ ามกาแพงเรื อนจา และส่ งมือถือให้ กับลูกค้ าในเรื อนจา คนร้ ายใช้
เทคโนโลยีแผนทีด่ าวเทียมทางอินเตอร์ เน็ตเป็ นตัวนาทาง
กระบวนการผลิต
ยาไอซ์
ซิมโทรศัพท์ มือถือที่จาหน่ ายให้ นักโทษในเรือนจา
โทรศัพท์ มือถือรุ่นและยีห่ ้ อต่ างๆทีจ่ าหน่ ายให้ นักโทษในเรือนจา
แผนที่เรือนจาเขาบิน
เข้ ามาสุดทางจะทะลุบ้านเจ้ าหน้ าที่ด้านนี ้
ไกล้ กับจุดที่ถ่ายรูป
เส้ นทางนีร้ ถวิ่งมาได้ แต่ ทะลุออกไปไม่ ได้
ต้ องออกทางเดิม
ถ่ ายจากจุดนี ้
ทางตรงนีร้ ถวิ่งเข้ าได้ เป็ นทางลูกลังมีต้นไม้ สองข้ าง
ทาง
ลึกเข้ าไปทางจะแคบลงเรื่อยๆ
1
Bom
มองจากมุมนี ้
3
2
เครื่องร่ อนบังคับที่ใช้ ในการขนส่ งสิ นค้ า
ลักษณะภายในเครื่องร่ อน
การจับกุม
รถหรูทเี่ ครือข่ ายยาเสพติดใช้
ขอบคุณ.......คร้ าบ~~~