EDT 336 การ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript EDT 336 การ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

ปฐมนิเทศและ แผนการสอน
EDT 336 การผลิตรายการวิทยุทางการศึกษา
(Education Radio Program
Production)
สุ รพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา
คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี
หน้าแรก
การเลือกปริ มาณ ข้อมูลที่ตอ้ งการ
หน้าเว็บของการเรี ยนการสอน
การเลือก สไลด์ ที่ต้องการชม
Mongkut’s University of Technology Thonburi
Faculty of Industrial Education and Technology
Department of Educational Communications and Technology
Teaching Program Semester/Year 1/2549
EDT 336 การผลิตรายการวิทยุทางการศึกษา
(Education Radio Program Production)
Prerequisite
หน่ วยกิต
Lecturer
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
3(2-2-5)
อ.สุรพล บุญลือ
Course Description

ความหมาย บทบาทวิทยุ คลืน่ ความถี่ การใช้วทิ ยุเพือ่
การศึกษา เทคนิ คการผลิตรายการวิทยุรูปแบบต่างๆ วัสดุ
อุปกรณ์ และบุคลากรในการผลิต ผูเ้ รียนจะต้องฝึ กปฏิบตั ิ
จัดทารายการวิทยุ การบันทึกและตัดต่อ
Objectives
หลังจากที่ผเู้ รียนเรียนจบรายวิชานี้ แล้วผูเ้ รียนควรจะมีความรู้
ความสามารถ และทักษะ ดังต่อไปนี้
1.เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการทางาน
ของวิทยุได้
2.สามารถอธิบายวิวฒ
ั นาการและแนวโน้ มการนาสื่อวิทยุไปใช้ใน
การศึกษาได้
3.ผูเ้ รียนสามารถผลิตสื่อวิทยุเพื่อใช้ในการศึกษาและการ
ประชาสัมพันธ์ได้
4.ผูเ้ รียนสามารถใช้อปุ กรณ์ต่างๆเพื่อผลิตสื่อวิทยุเพื่อการศึกษาได้
อย่างถูกต้อง
Teaching Methods
1.บรรยายประกอบการสาธิต
2.การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3.การอภิปรายแสดงความคิด
4.การฝึ กปฏิบตั ิ อ่าน และจัดรายการ
Materials

สือ่ การสอนเอกสารประกอบการบรรยาย วีดิทศั น์และ
กิจกรรมต่างๆ
Synopsis of Lectures Planned
Week No.
Synopsis of Lectures Planned
date
ลักษณะการเรี ยนการสอน
01
ปฐมนิเทศและทาความเข้ าใจเกี่ยวกับวิชา
อภิปรายแสดงความ
คิดเห็น
02
เสียงเบือ้ งต้ น หลักการเกี่ยวกับเสียง
บรรยายพร้ อมอภิปราย
03
ผู้ประกาศและพิธีกร
บรรยายพร้ อมอภิปราย
04
บุคลากรในการผลิตรายการวิทยุ
บรรยายพร้ อมอภิปราย
05
คลื่นวิทยุ ,การเขียนบทวิทยุ
บรรยายพร้ อมอภิปราย
06
การจัดรายการวิทยุ,วิทยุชุมชน
บรรยายพร้ อมอภิปราย
07
08
เสียงประเภทต่ างๆ,ทิศทางของเสียงระบบ
ของเสียง
สอบกลางภาค
บรรยายพร้ อมอภิปราย
ทดสอบ
Synopsis of Lectures Planned
Week No.
09
10
11
12
13
14
15
16
Synopsis of Lectures Planned
การบันทึกเสียง อุปกรณ์ ในห้ องบันทึกเสียง
สื่อในการบันทึก,ไฟล์ ในคอมพิวเตอร์ ,สื่อ
กระแส
หัวต่ อและการเชื่อมต่ อสายสัญญาณ
,Soundcard
ไมโครโฟน แอม์ ปริไฟเออร์ และลาโพง
การใช้ โปรแกรม Soundforge
การใช้ โปรแกรม Audition, Cakewalk
การใช้ โปรแกรมSamparty DJ ,Windows
Media Encode
สรุ ปและร่ วมอภิปราย
date ลักษณะการเรี ยนการสอน
บรรยายพร้ อมอภิปราย
บรรยายพร้ อมอภิปราย
บรรยายพร้ อมอภิปราย
บรรยายพร้ อมอภิปราย
การฝึ กปฏิบัติ
การฝึ กปฏิบัติ
การฝึ กปฏิบัติ
อภิปราย และประเมิน
งานและกิจกรรมที่ตอ้ งส่ง
สัปดาห์ที 2 หัวข้อ งานค้นคว้านวัตกรรมด้านเสียงและวิทยุกระจายเสียง
สัปดาห์ที 4 ชื่อหนังสือทีจ่ ะอ่านให้คนตาบอดฟงั คนละ 1 ชัวโมง
่
สัปดาห์ที 6 งานค้นคว้านวัตกรรมด้านเสียงและวิทยุกระจายเสียง
สัปดาห์ที 9 CD เสียงทีอ่ ่านหนังสือให้คนตาบอดฟงั คนละ 1 ชัวโมง
่
งานเดีย่ ว
งานเดีย่ ว
งานเดีย่ ว
งานเดีย่ ว
สัปดาห์ที 10 ผังโครงการ (Proposal) รายการวิทยุ 2 ชัวโมง
่
สัปดาห์ที 16 CD รายการวิทยุ 2 ชัวโมง
่
งานกลุม่
งานกลุม่
รายละเอียดของงาน
งาน
วัตถุประสงค์
หมายเหตุ
1.งานค้ นคว้ านวัตกรรม
ด้ านเสียงและ
วิทยุกระจายเสียง
เพื่อให้ นักศึกษาค้ นคว้ าและหาความรู้ ใหม่ ๆ
เป็ นการศึกษาในเชิงลึก หรือกว้ าง ก็ได้
2.อ่ านหนังสือให้ คนตา
บอดฟั ง
เพื่อให้ นักศึกษาฝึ กหัดในการอ่ านออกเสียงเพื่อ ส่ งเป็ น CD
เตรี ยมการเป็ นผู้ประกาศและได้ ส่ ือ เพื่อไป
มอบให้ มูลนิธิช่วยคนตาบอดต่ อไป
3. รายการวิทยุ 2 ชั่วโมง เพื่อให้ นักศึกษาได้ ฝึกในการวางผังรายการ
การจัดรายการวิทยุผ่าน เครือข่ าย
อินทราเน็ต
ฝึ กการทางานเป็ นกลุ่ม
ส่ งเป็ นเอกสาร
พร้ อมไฟล์
งาน
จัดรายการสด
ในห้ องส่ ง
และส่ งเป็ น
CD
Text Book
วสันต์ อติศพั ย์ 2532 การผลิตรายการโทรทัศน์เพือ่ การศึกษาและฝึกอบรม กรุงเทพ โรงพิมพ์
โอเดียน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2534. เทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา หน่วยที่ 6-10.
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
บุญเทีย่ ง จุย้ เจริญ. 2534. เทคนิคพืน้ ฐานการใช้และบารุงรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีการศึกษา.
โรงพิมพ์ภาพพิมพ์, กรุงเทพฯ. 223 หน้า.
อนันต์ธนา อังกินนั ทน์.2531.การผลิตรายการวิทยุ.พิมพ์ครัง้ ที6่ กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
รามคาแหง.
John M. Eargle.1996.RECORDING ENGINEERING.Thomson Publishing,Inc.USA.
Measurement
คะแนนสอบภาคทฤษฎีกลางภาค
คะแนนสอบภาคทฤษฎีปลายภาค
คะแนนเก็บ
คะแนนปฏิบตั ิ
รวม
20 คะแนน
20 คะแนน
30 คะแนน
30 คะแนน
100 คะแนน
Evaluation
ระดับคะแนน ผลการศึกษา
85 - 100
A
80 - 84
B+
71 - 80
B
65 - 70
C+
55 – 64
C
50 - 54
D
0 - 50
F
(Withdrawal)
W
(Incomplete)
I
แต้ม
4.0
3.5
3.0
2.5
2.0
1.0
0
-
ความหมาย
ดีเยี่ยม (Excellent)
ดีมาก (Very Good)
ดี
(Good)
พอใช้ (Fair)
อ่อน
(Poor)
อ่อนมาก(Very poor)
ตก (Failure)
ขอถอนรายวิชาภายในกาหนด
ไม่สมบูรณ์