สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาน่ าน เขต 1 คะแนนผลงานทางวิชการ ก.ค.ศ กาหนด 100 คะแนน  คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) 1.

Download Report

Transcript สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาน่ าน เขต 1 คะแนนผลงานทางวิชการ ก.ค.ศ กาหนด 100 คะแนน  คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน) 1.

สมเกียรติ รัตนวิฑูรย์
ศึกษานิเทศก์
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาน่ าน เขต 1
คะแนนผลงานทางวิชการ ก.ค.ศ กาหนด 100 คะแนน
 คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน)
1. ความสมบูรณ์ ของเนือ้ หาสาระ
2. ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
3. ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
4. การพิมพ์ และการจัดทารู ปเล่ ม
20
15
10
5
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนนผลงานทางวิชการ ก.ค.ศ กาหนด 100 คะแนน
 ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (50 คะแนน)
1. ประโยชน์ ต่อความก้าวหน้ าทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
15 คะแนน
2. ประโยชน์ ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการศึกษา
หน่ วยงานการศึกษา และชุ มชน
25 คะแนน
3. การเผยแพร่ ในวงวิชาการ
10 คะแนน
แนวทางการเขียนรายงาน (5 บท)
1. ชื่อรายงานการพัฒนา ...........
2. ความสาคัญและความเป็ นมา
3. วัตถุประสงค์
4. ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
5. นิยามศัพท์ เฉพาะ หรือคาจากัดความที่ใช้
6. ขอบเขต
แนวทางการเขียนรายงาน (5 บท)
7. หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง)
8. วิธีดาเนินการ
9. ผลการดาเนินงาน
10. สรุป อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
11. เอกสารอ้างอิง
12. ภาคผนวก
ชื่อรายงาน
(1)รายงาน การพัฒนา..., (2) ตัวแปรทีใ่ ช้ , และ (3) กลุ่มของผู้เรียนที่
พัฒนา เช่ น
 รายงานการพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ ชุดการสอน
 รายงานการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของผู้เรียนชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 4
 รายงานการพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 2 โดยการใช้ แหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา
บทที่ 1 ความสาคัญและความเป็ นมา
 กล่าวถึงสภาพ หรือลักษณะการจัดการเรียนรู้ทพี่ งึ ประสงค์
หรือที่ควรจะเป็ น
 กล่าวถึงสภาพปัญหาการเรียนการสอน หรือสภาพทีไ่ ม่ เป็ นไป
ตามทีก่ าหนด ทีผ่ ู้สอนพบ
 ระบุแนวทางการพัฒนา หรือแก้ปัญหาทีพ่ บ
วัตถุประสงค์
การเขียนค่ อนข้ างจะเขียนใกล้ เคียงกับชื่อเรื่อง เช่ น
1. เพือ่ รายการการพัฒนา..(นวัตกรรม)
2. เพือ่ รายงานการพัฒนา...(ผลสั มฤทธิ์/
ความสามารถ/ฯลฯ)............ของผู้เรียนชั้น...............โดย
การใช้ ..(นวัตกรรม).............
3 . เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน.....ทีม่ ตี ่ อ
....(นวัตกรรม)
ขอบเขต
ระบุ...... เนือ้ หาสาระอะไรบ้ าง ตัวแปรอะไรบ้ าง(ทั้งตัวแปรต้ น และ
ตัวแปรตาม) ช่ วงเวลา(ภาคเรียน/ปี การศึกษา) ที่ทา กลุ่ม
ผู้เรียนทีจ่ ะพัฒนา (จานวน, ระดับชั้น,โรงเรียน, สั งกัด,
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา, ลักษณะของกลุ่ม เช่ น
“เป็ นการพัฒนาผลสั มฤทธ์ ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ท 21103
โดยใช้ แบบเรียนสาเร็จรูป ให้ กบั ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
จานวน 30 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2543 โรงเรียนตาบล
ริมปิ ง เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาลาพูน เขต 1”
ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
เป็ นการยา้ และแสดงให้ เห็นความสาคัญของงานการพัฒนา หรือ
แก้ปัญหาที่ทาว่ า มีประโยชน์ ด้านใดบ้ าง มีประโยชน์ ต่อใครบ้ าง โดย
ควรเขียนเป็ นข้ อ ๆ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของการการ
พัฒนา หรือแก้ปัญหา ซึ่งอาจจะระบุประโยชน์ ระยะยาวไว้ ด้วย
นิยามศัพท์ เฉพาะ
เป็ นการให้ ความหมายของคาบางคาในรายงานการพัฒนา หรือ
แก้ปัญหา โดยเฉพาะคาทีเ่ ป็ นตัวแปร และนวัตกรรมที่ใช้ ที่คาดว่ าจะ
สื่ อความหมายไม่ ตรงกัน ระหว่ างผู้เขียนรายงาน กับผู้อ่านรายงาน
เช่ น
ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้ จากการประเมินความรู้ ของผู้เรียน โดยการให้
ผู้เรียนทาแบบทดสอบวิชา ค101 ที่ครู สร้ างขึน้ หลังจากที่ผู้เรียนได้ ทากิจกรรมเพือ่ ให้ เกิด
ความรู้ ตามที่ครู จัดให้
เจตคติของผู้เรียนที่เรียนโดยใช้ แบบเรียนสาเร็จรู ป หมายถึง ความรู้ สึกของผู้เรียนที่มตี ่ อ
การเรียนโดยใช้ แบบเรียนสาเร็จรู ป ซึ่งได้ จากการให้ ผู้เรียนทาแบบวัดเจตคติที่ครู สร้ างขึน้
หลังจากการเรียนโดยใช้ แบบเรียนสาเร็จรู ป
บทที่ 2 หลักการ แนวคิด ทฤษฎี
และงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ตอนที่ 1 เป็ นการนาเสนอเกีย่ วกับความหมาย หลักการ ทฤษฎี และแนวคิด
ของตัวแปร ทุกตัวที่กำลังศึกษำ เช่น กระบวนกำรสร้ำงนวัตกรรม
กำรวำงแผนกำรสอน กำรประเมินผลกำรเรี ยน ฯลฯ ที่เกี่ยวกับเรื่ อง
ที่ผสู ้ อนกำลังจะดำเนินกำร
ตอนที่ 2 เป็ นการกล่าวถึงผลงานวิจัยการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
หรื อเหมือน หรื อคล้ำย ๆ กับเรื่ องที่ผสู ้ อนกำลังจะดำเนินกำร
บทที่ 2 (ต่ อ)
– ในแต่ ละตอน เมื่อนาเสนอแนวคิดของผู้อนื่ แล้ ว ผู้ทาการการ
พัฒนา หรือแก้ ปัญหา ต้ องขมวดสรุ ปเป็ นแนวคิดของผู้เขียน
รายงานทุกครั้ง เช่ น เกีย่ วกับความหมาย เมื่อนาความหมายที่
ผู้อนื่ หลาย ๆ คนให้ มาแล้ ว สุ ดท้ ายผู้การพัฒนา หรือแก้ปัญหา
ต้ องเขียนสรุ ปเป็ นการให้ ความหมายของผู้รายงาน
– การอ้างอิงโดยแทรกไว้ในเนือ้ หา(การอ้างอิงภายใน)
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
1. ขั้นเตรียมการ(เตรียมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยเตรียม
เครื่องมือต่ าง ๆ คือสื่ อ/นวัตกรรม และเครื่องมือวัด ประเมิน
และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยผ่ านการหาคุณภาพ
เรียบร้ อยแล้ว ให้ พร้ อม)
2. ขั้นดาเนินการ(นาสื่ อ/นวัตกรรมมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้
และเก็บข้ อมูลผลการดาเนินงาน และสรุ ปรายงาน)
บทที่ 3 (ต่ อ)
การเขียนวิธีดาเนินการ อาจจะไม่ เขียนแยกส่ วนเป็ น
ขั้นเตรียมการ และขั้นดาเนินการ ก็ได้ โดยเขียนเป็ น
ลาดับเหตุการณ์ ที่ผ้ ูพฒ
ั นา หรือแก้ ปัญหาได้ ปฏิบัติ
จริงๆ ตั้งแต่ เริ่มงานจนถึงเสร็จสิ้นการดาเนินการ
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
1. ควรเสนอผลการดาเนินการ เรียงลาดับตามวัตถุประสงค์ ของการการพัฒนา
หรือแก้ปัญหาทีละข้ อ
2. ถ้ าสามารถเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูลรวมเป็ นตารางเดียวกันได้ ก็ควรจะรวมกัน
เป็ นตารางเดียว เพือ่ ให้ เกิดความกระชับในการเสนอข้ อมูล แล้ วใส่ ชื่อตารางไว้ หัว
ของตารางด้ วย หรืออาจจะนาเสนอข้ อมูลทีไ่ ด้ เป็ นรู ปกราฟ แทนตารางก็ได้
3. ใต้ ตารางทุกตาราง หรือใต้ กราฟ ทุกชุ ด ควรแปลผลจากตัวเลขเป็ นคาบรรยาย
ด้ วย โดยแปลผลเฉพาะประเด็นที่สาคัญ โดยมาก มักจะแปลผลภาพรวม ค่ า
ข้ อมูลสู งสุ ด และรองลงมา รวมเป็ น 3 ลาดับ หรือข้ อค้ นพบที่เด่ น ๆ และให้
แปลผลตามข้ อเท็จจริงที่ค้นพบได้ ห้ ามใส่ ความคิดเห็นของผู้เขียนลงไป
บทที่ 4 (ต่ อ)
4. ควรใช้ภำษำที่อ่ำนง่ำย และเหมำะสมกับผูอ้ ่ำน โดยเฉพำะภำษำทำงสถิติ
ควรเขียนให้อ่ำนเข้ำใจง่ำย
5. อำจจะนำเสนอผลกระทบที่เกิดขึ้นระหว่ำงกำรดำเนินกำรกำรพัฒนำกำร
จัดกำรเรี ยนรู ้เช่น ผูเ้ รี ยน ครู ได้รับคำชมเชย มีผนู ้ ำแนวทำงไปเป็ น
แบบอย่ำงในกำรพัฒนำผูเ้ รี ยนกลุ่มอื่น ฯลฯ และควรระบุประโยชน์ที่
เกิดขึ้นจำกกำรเผยแพร่ ผลงำนทำงวิชำกำรด้วย เพื่อให้ขอ้ มูลแก่กรรมกำร
ด้ำนประโยชน์ของผลงำนทำงวิชำกำร ตำมเกณฑ์กำรประเมินผลงำน
ทำงวิชำกำร
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
สรุปผลการดาเนินการ
บทนีค้ วรนาเสนอโดยสรุ ปทุกเรื่อง ได้ แก่
1. ความเป็ นมาของปัญหา
2. วัตถุประสงค์ ของการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. กลุ่มผู้เรียนทีจ่ ะพัฒนา
4. สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล(บอกแต่ ชื่อ ไม่ ต้องบอกสู ตร)
5. วิธีการพัฒนานวัตกรรม และการนานวัตกรรมไปพัฒนาผู้เรียน
6. ผลการการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (บรรยายสรุปเฉพาะข้ อค้ นพบทีส่ าคัญ อาจจะไม่ มี
ตัวเลข แต่ ระบุผลการวิเคราะห์ เป็ นระดับคุณภาพก็ได้ หรืออาจจะมีตัวเลขประกอบเฉพาะข้ อ
ค้ นพบสาคัญ) โดยทั้งหมดนีเ้ ขียนเป็ นความเรียง ให้ ร้อยรัดกันเป็ นเรื่องเดียวกัน ไม่ ต้องแยก
เป็ นข้ อ ๆ
การอภิปรายผล
การอภิปรายผล มีแนวการเขียน ดังนี้
1. เขียนแสดงให้ เห็นว่ า ผลการค้ นพบ สอดคล้ อง หรือขัดแย้ งกับหลักการทฤษฎี หรือผลการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่ผู้อนื่ เคยศึกษาไว้ อย่ างไร หรือเขียนอภิปรายข้ อค้ นพบที่เด่ น ๆ ว่ า
ทาไมจึงเป็ นเช่ นนั้น การเขียน ควรใช้ คาว่ า “ที่พบว่ า…มีค่าสู ง อาจจะ
เนื่องมาจาก…(อาจจะได้ จาก
การสั งเกตของครู ผู้สอนพบระหว่ างดาเนินการการ
พัฒนา หรือแก้ ปัญหา) ฯลฯ ”
2. ในการอภิปรายผล ควรอภิปรายแยกเป็ นประเด็นการอภิปรายให้ ชัดเจน
ทีละประเด็น
•
3. ควรอภิปรายผลเฉพาะข้ อค้ นพบที่เด่ น/ด้ อย
ข้ อเสนอแนะ
1. เขียนข้อแนะนำสิ่ งที่ควรดำเนินกำร ถ้ำผูอ้ ่ำนจะทำงำนกำรพัฒนำกำรจัดกำร
เรี ยนรู ้ในลักษณะนี้(เพือ่ ไม่ให้ผอู ้ ำ่ น ไปทำสิ่ งที่ผกู ้ ำรพัฒนำ หรื อแก้ปัญหำเคยทำ
พลำดมำแล้ว)
2. เขียนข้อแนะให้นำประเด็น หรื อเรื่ องที่น่ำจะทำกำรกำรพัฒนำ หรื อ
แก้ปัญหำเพิม่ เติมที่ต่อเนื่องจำกงำนนี้ หรื อแนวคิดที่ควรดำเนินกำรกำรพัฒนำกำร
จัดกำรเรี ยนรู ้ในระยะต่อไป โดยอำจจะระบุหวั ข้อกำรพัฒนำ หรื อแก้ปัญหำให้ดว้ ยก็ได้
3. เขียนแนะนำกำรนำผลกำรกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรี ยนรู ้น้ ีไปใช้ประโยชน์ใน
สถำนกำรณ์และสถำนที่ต่ำง ๆ
บรรณานุกรม
เป็ นการแสดงรายการเอกสารทุกฉบับทีผ่ ู้เขียนรายงานอ้างอิงในทุก
ส่ วนของรายงานการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การเขียน
บรรณานุกรม ให้ เขียนตามมาตรฐานของการเขียนบรรณานุกรม
รูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง ซึ่งเมื่อใช้ รูปแบบใดแล้ว ให้ ใช้ รูปแบบนั้นใน
การเขียนบรรณานุกรมทั้งหมด และควรแยกบรรณานุกรมทีเ่ ป็ น
ภาษาไทย และภาษาอังกฤษไว้ คนละส่ วน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เป็ นเรื่องของตารางผลการวิเคราะห์ ทางสถิติทเี่ ป็ น
รายละเอียดเพิม่ เติม
ภาคผนวก ข เป็ นภาพการดาเนินการการพัฒนา หรือแก้ปัญหา
ภาคผนวก ค เป็ นตัวอย่ างเครื่องมือวัด
ภาคผนวก ง ตัวอย่ างนวัตกรรม
ภาคผนวก จ ฯลฯ