การปรับจูนอัตโนมัติ

Download Report

Transcript การปรับจูนอัตโนมัติ

บริษัท อำไพอะไหล่ จำกัด 378/9 ซ.เชือ้ เพลิง ช่ องนนทรี ยำนนำวำ กรุ งเทพฯ โทร.02-2865200
ข้ อมูลทั่วไป (General Lap)
หัวฉีด inj-## บอกค่ ำเฉลี่ยทุกสูบ
เช่ น ถ้ ำเลือก inj 1 อ่ ำนค่ ำสูบ 1
เลือกบอกเวลำ
กำรฉีด
รอบเครื่อง/นำที
อุณหภูมนิ ำ้
(อุณหภูมหิ ม้ อต้ ม)
อุณหภูมแิ ก๊ ส
(อุณหภูมทิ ่ รี ำงหัวฉีด)
เวลำกำรฉีดนำ้ มัน
บอกค่ ำเวลำ กำรเปิ ด
ของหัวฉีดนำ้ มัน
แรงดัน บอกค่ ำ
แรงดันแก๊ ส
Error(s) ค่ ำผิดพลำดของอุปกรณ์
เวลำกำรฉีดแก๊ ส บอกค่ ำเวลำ
กำรเปิ ดของหัวฉีดแก๊ ส
โวลท์ แบตเตอรี่
บอกค่ ำแรงเคลื่อน
ของแบตเตอรี่
เรียกว่ ำออสซิโรสโคป ไว้ สำหรับดูร่องรอยของค่ ำไฟฟ้ำ (electronic) ที่เปิ ดว่ ำ
ผิดพลำดตรงไหน (ในกรณีท่ หี ำข้ อผิดพลำด) ปรับแก๊ สเป็ นสีฟ้ำ ปรับนำ้ มันเป็ นสีแดง
ข้ อมูลทั่วไป (General Lap)
Error(s) ค่าผิดพลาดของอุปกรณ์
Lamda คือส่ วนผสมหนา-บาง
ของแก๊ส ใช้บอกค่า Lamda
ข้ อมูลทั่วไป (General Lap)
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
1. การเปลี่ยนเชื้อเพลิง (Swich) เราสามารถเลือกหรื อ
กาหนดรอบเครื่ องที่เราต้องการเปลี่ยนโดยลากเมาส์
มาไว้ที่ศรแล้วคลิ๊กเลือกค่าที่ตอ้ งการ
1.1 ค่ารอบเครื่ อง 1400 (เป็ นค่ามาตรฐาน)
1.2 อุณหภูมิ 50 (เป็ นค่าตรฐาน)
1.3 หน่วงเวลา 10 (เป็ นค่ามาตรฐาน)
2. กาหนดการเปลี่ยนด้วยเวลา 300 (เป็ นค่ามาตรฐาน)
3. หน่วงเวลาขั้นตอนการเปลี่ยน คือ การที่เราเลือกค่าที่
ต้องการได้แล้ว เวลาเปลี่ยนเป็ นแก๊สมันจะเปลี่ยนจาก
น้ ามันเป็ นแก๊สทีละหัวตามลาดับ เช่น ถ้าเราเลือกที่ 1
นัน่ หมายถึงหนึ่งวินาทีให้หลังจะเปลี่ยนจากน้ ามัน
เป็ นแก๊สทีละสู บ
4. หัวฉี ด ชื่อ/ชนิด หัวฉี ดที่มาในชุด คือ VALTEX 3 ohm ให้เราเลือกค่าหัวฉี ดให้ตรงกับชนิดของหัวฉี ด หลังจาก
เลือกแล้วจะมีขอ้ ความขึ้น it’recommend put the vehicle key off state.Continuons? ให้เลือก yes
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
การตั้ง ค่ า หั ว ฉี ด คลิ๊ ก การตั้ง ค่ า หั ว ฉี ด หลัง จากนั้น จะ
ปรากฏหน้าต่างการตั้งค่าขึ้นมา หลังจากนั้นเลื่อนเมาส์
ไปที่ F2 เพื่ อ ดู ก ราฟ (จ านวนหัว ฉี ด ) ที่ ป รากฏ ถ้า ค่ า
กราฟของแก๊สขึ้ นไม่เท่ากันให้เรามาปรั บค่าที่ หน้าต่าง
ของการตั้งค่าหัวฉี ด เช่น ถ้าสู บ 1 ขึ้นน้อยกว่าสู บ 2 สู บ 3
สู บ 4 ให้ล ากเมาส์ ม าคลิ๊ ก ทางลูก ศรฝั่ งขวาของตาราง
(กาหนดค่าให้เหมาะสมถูกต้อง) ให้คลิ๊กขึ้นจนกว่าจะได้
ค่ากราฟของแก๊สขึ้นมาเท่ากัน
ในหน้าต่างของการตั้งค่ามีหวั ข้อวิธี (Mode)
เราสามารถคลิ๊กเข้าไปใช้สัญญาณหัวฉี ดให้เป็ นสัญญาณ
เข้ากับน้ ามันก็ได้เพื่อหาจุ ดบกพร่ องว่าสู บไหนทางาน
หรื อไม่ทางาน
รอบเครื่ อ งยนต์ ให้เ ราเลื อ กจ านวนสู บให้ตรงกับ
จานวนสู บของรถยนต์ เลือกคอยล์กเ็ ช่นกัน
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
อุปกรณ์วดั ปริ มาณแก๊ส
ชื่อ/ชนิดให้เลือกค่าเกจ์แก๊สที่ถงั ตรงกับค่าที่มีอยูใ่ นรายการ เช่น
1. ถังเมทเทิลเมท
รุ่ นซุปเปอร์ มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
2. ถังเมทเทิลเมท
รุ่ นโอพีดี มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
3. ถังสหมิตร
รุ่ นซุปเปอร์ มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
4. ถังสหมิตร
รุ่ นโอพีดี มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
5. ถังแม็กเนต
รุ่ นซุปเปอร์ มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
6.ถังแม็กเนต
รุ่ นโอพีดี มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
7.ถังมัลติวาวล์
โทมาเซโตที่มีหน้าปั ดแถบบอกค่าปริ มาณแก๊สเป็ นสี ดานัน่ คือเกจ์ ออโทนิค
(มีสายสามเส้นในการเข้าสาย) มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 0..90 ohm
8.ถังมัลติวาวล์
โทมาเซโตที่มีหน้าปั ดแถบบอกค่าปริ มาณแก๊สเป็ นสี ฟ้า
(มีสายไฟเข้าสองเส้น) มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 0..90 ohm
9.ถังมัติวาวล์ เฟม่า
มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 1060 ohm
10.ถังมัลติวาวล์ฮานา
มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110...0 ohm
11.ถังมัลติววล์ออเดรซา
มีค่าเกจ์แก๊สเท่ากับ 110..0 ohm
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
การตั้งค่าระดับแก๊ส เราสามารถเลือกค่าระดับแก๊สที่จะ
ปรับได้ตามความต้องการโดยการเลือกแถบค่าที่อยูใ่ น
ช่องแต่ละช่องของอัตราส่ วนในถัง
1. ตัวเลือกเสริ ม (Options) เลือกเชื้อเพลิงตามชนิด
ของเชื้อเพลิงที่เราใช้
2. แก๊สหมด (Empty) มีตวั เลือกให้คือใช้งานกับไม่
ใช้งาน ถ้าเลือกไม่ใช้งานเวลาแก๊สหมดจะไม่เปลี่ยนมา
เป็ นน้ ามัน ถ้าเลือกอุปกรณ์วดั แรงดันนัน่ หมายถึงเวลา
แก๊สหมดจะกลับมาเป็ นน้ ามัน
3. แรงดัน (bar) หมายถึงแรงดันในระบบแก๊ส
ถ้าแรงดันต่ากว่าที่เราเลือกใช้ เช่น 0.5 นั้นหมายถึงว่า
ถ้าแรงดันในระบบต่ากว่า 0.5 อุปกรณ์วดั แรงดันจะสั่งให้
เปลี่ยนจากแก๊สเป็ นน้ ามันโดยทันที
4. Lamda Sensor มีให้เลือก 5 หัวข้อ หัวข้อไม่ใช้
งาน หมายถึงจะไม่มีการวัดค่าของ Lamda Sensor ให้เรา
เลือกค่าให้ตรงกับค่าของ Lamda ที่อ่านได้ เช่น ถ้าเราวัด
ค่าของ Lamda ที่รถได้ 0–1 โวลท์ ให้เลือกหัวข้อ 0…0.8
หน่วงเวลา (ของหัวข้อตัวเลือกเสริ ม) หมายถึง
การหน่วงเวลาการเปลี่ยนจากแก๊สเป็ นน้ ามัน
ตามเวลาที่เราเลือก
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
5. ค่าเริ่ มต้น (ในหัวข้อตัวเลือกเสริ ม) หมายถึงการลบข้อมูลทั้งหมดที่อยูใ่ นกล่อง ECU ของแก๊สกลับไปเริ่ มต้นใหม่
6. Expert คลิ๊กหัวข้อนี้จะปรากฏหน้าต่าง SETTING Password คือ 0596 ให้ใส่ Password แล้วกด Enter
จะปรากฏหน้าต่าง SETTING
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
6.1 การชดเชยค่า ให้ติ๊กถูกในช่องสี่ เหลี่ยม การชดเชยค่าในที่น้ ี หมายถึง
การชดเชยค่าอุณหภูมิขณะที่เครื่ องยนต์ทางานปกติ เช่น ถ้าอุณหภูมิ
ของการทางานปกติอยูท่ ี่ 70 ให้เลือกค่าอุณหภูมิในหน้า F2 ให้ตรงกัน
ECU จะคานวณค่าชดเชยให้ ในกรณี ที่บางครั้งอุณหภูมิต่ากว่าหรื อ
สู งกว่าที่อุณหภูมิเครื่ อง เช่น บางวันอากาศ บางวันอากาศร้อนเครื่ องก็
จะคานวณค่าให้เช่นเดียวกันกับค่าแรงดัน เช่น ถ้าแรงดันอยูท่ ี่ 1080
ให้เราเลือกค่าในช่องประมาณ 1050 ถ้าแรงดันในระบบมีค่าสู งหรื อ
ต่ากว่าก็จะทาการชดเชยให้
6.2 กาลังน้อยสุ ดควบคุมด้วยรอบเครื่ อง หมายถึง การบังคับให้เปลี่ยนจาก
แก๊สเป็ นน้ ามันในรอบเครื่ องยนต์ที่ต่ากว่าในช่องบังคับน้ ามันเมื่อรอบ
เครื่ องยนต์ต่ากว่าที่ค่าที่เรากาหนด ถ้ารอบต่ากว่าในค่าที่เรากาหนดจะ
เปลี่ยนจากแก๊สเป็ นน้ ามัน ในช่องกลับไปใช้แก๊ส เมื่อรอบเครื่ องยนต์
เกินกว่าที่เรากาหนด เช่น 1000 รอบถ้าเร่ งเครื่ องเกิน 1000 ก็จะ
เปลี่ยนเป็ นแก๊ส
6.3 กาลังสู งสุ ดควบคุมด้วยรอบเครื่ องยนต์ หมายถึง การเปลี่ยนจากแก๊ส
เป็ นน้ ามันในรอบที่กาหนด เช่น ถ้าเราเลือกไว้ที่ 4000 รอบถ้าเราเร่ ง
เครื่ องเกิน 4000 รอบจะเปลี่ยนเป็ นน้ ามันทันที
กำหนดค่ ำเริ่มต้ นของกำรจ่ ำยแก๊ ส
6.4 ค่าชดเชยรอบเครื่ องยนต์ ถ้าเราต้องการชดเชยค่ารอบเครื่ องยนต์
ให้ติ๊กในหัวข้อนี้
6.5 Pressure sensor อุปกรณ์ที่มีชุดมีค่า 5 บาร์ให้เลือกค่าที่ 5 บาร์ ถ้าเลือก
ผิดค่า ค่าที่ปรากฏจะไม่ตรงจะทาให้ไม่สามารถเปลี่ยนเป็ นน้ ามันได้
- ชนิดของตัววัดอุณหภูมิอุปกรณ์ที่มีอยูใ่ นชุดมีค่าความต้านทาน
คือ 4.7 kohm ให้เลือกค่าที่ 4.7 kohm
- เวลาฉี ดล่วงหน้าและตาแหน่งอุณหภูมิฉีดล่วงหน้า และคาบเวลา
การฉี ดล่วงหน้า ในเมืองไทยไม่มีความจาเป็ นต้องปรับเพราะ
หัวข้อนี้ใช้ในเมืองหนาวที่อุณหภูมิติดลบ
- Microinjection-type-engine ให้เลือกหัวข้อ 6. เพื่อขจัดค่าสัญญาณ
ที่ไม่พึงประสงค์ในการทางานของหัวฉี ดแก๊ส
6.6 Semi-Sequentia Control ถ้าเครื่ องยนต์มีการฉี ดเป็ นกลุ่ม (กลุ่มในที่น้ ี
หมายถึงฉี ดพร้อมกันทุกหัว) หรื อฉี ดเป็ นคู่ให้เลือกติ๊กในช่องสี่ เหลี่ยม
ถ้าเป็ นการฉี ดแบบเรี ยงลาดับการฉี ดไม่ตอ้ งติ๊กหัวข้อนี้
6.7 ลบ คือ ลบค่าทั้งหมดในหน้าต่างของ Password
กำรปรั บตัง้ โปรแกรม
ให้กด yes เพื่อทาการเปรี ยบเทียบค่าน้ ามันและแก๊สจะมีคาสั่งตามขั้นตอน
ให้ทาตามขั้นตอนนั้น หลังจากทาการปรับตั้งค่าโปรแกรมแล้วให้เลือก F6
ตัง้ ค่ ำแก๊ สเปรี ยบเทียบกับนำ้ มัน
หลังจากเราได้ค่าการปรั บตั้งโปรแกรมแล้ว
จะเห็นว่าเส้นสี แดงจะเลื่อนจาก 0 ไปอยูใ่ นตาแหน่ง
ที่ ECU เลือกไว้ให้ดูที่ลูกบอล (บอลที่อยู่แถบแก๊ส
(ms))
ถ้า เครื่ องยนต์ เ ดิ น เรี ยบปกติ โ ดยการ
เปรี ยบเทียบน้ ามันและแก๊สเดินเรี ยบเท่ากันให้คงค่า
นี้ ไว้ แต่ถา้ ค่าที่เปรี ยบเทียบจาก F5 มาแล้วแก๊สยัง
เดินไม่เรี ยบให้มาปรับที่ค่าปรับทั้งเส้นจะมีลูกศรชี้
ขึ้ น และลงให้สั ง เกตอาการดู ว่ า ส่ ว นประสมหนา
หรื อบาง ถ้าบางให้ปรับขึ้น ถ้าหนาให้ปรับลง
ข้อควรระวัง อย่าปรับครั้งละมากๆ ให้ปรับที
ละจุ ดแล้ ว สั ง เกตอาการ หลั ง จากปรั บแล้ ว
เครื่ อ งยนต์เ ดิ น เรี ย บเหมื อ นค่ า น้ า มัน ให้ห ยุด การ
ปรับ หลังจากนั้นให้ลองออกรถ ถ้ามีอาการออกรถ
สะดุดให้ปรับที่ตวั ปรับความชันมีลูกศรให้เลือกขึ้น
และลงให้ลองปรับเส้นความชันขึ้นทีละจุดจนกว่า
อาการสะดุดนั้นจะหายไป
ในส่ วนของค่าปรับทั้งเส้นถ้ายกค่าปรับทั้งเส้น
ขึ้ น ไปจนถึ ง 5.0 ในช่ องจะมี ไ ฟสี แ ดงกระพริ บ
สลับกับสี เหลืองนัน่ หมายถึงค่ารู หวั ฉี ดเล็กเกินไป
ตัง้ ค่ ำแก๊ สเปรี ยบเทียบกับนำ้ มัน
ในส่ วนของปรับความชันถ้ายกเส้นขึ้นจนถึง 1.25
จะมี ไฟสี แดงกระพริ บสลับกับเหลืองนั่นหมายถึง ค่ า
หัวฉี ดเล็กเกิ นไป ในทางกลับกันถ้าปรั บเส้นลงมาต่ า
กว่ า 0.75 นั่ น หมายถึ ง หั ว ฉี ด ใหญ่ เ กิ น ไปให้ ท าการ
เปลี่ ย น หลัง จากเปลี่ ย นแล้ว ให้ ก ลับ ไปเริ่ มท าการ
ปรับตั้งค่าโปรแกรมใหม่ (F5) ถ้าได้ค่าที่เหมาะสมแล้ว
ให้ลองขับเพื่อที่จะปรับในส่ วนของความเร็ วปลาย
(ตีนปลาย) ถ้าลูกบอลวิ่งอยู่บนเส้นที่ความเร็ วที่รู้สึกว่า
ด้อยกว่าน้ ามันอาจมี 2 สาเหตุ คื อ ส่ วนผสมหนาหรื อ
บางเกินไปให้สังเกตจากค่า Lamda ที่อ่านได้ให้ปรับขึ้น
ถ้า ส่ ว นผสมน้ อ ยไป ท านองเดี ย วกัน ให้ ป รั บ ลงถ้า
ส่ วนผสมมากไปในจุดที่ลูกบอลอยู่ ณ ตาแหน่งนั้น เช่น
ถ้าอยู่ระหว่าง 2-3 ให้ปรั บที่ตาแหน่ ง 2 และ 3 โดยใช้
เมาส์ ค ลิ๊ ก ที่ ต าแหน่ ง 2 และ 3 ตามล าดับ จนได้ค่ า ที่
เหมาะสม
ส่ วนช่ องสี เขี ยวมี เส้นคาดและลูกศรชี้ เข้าที่ เส้น
หมายถึง การปรับค่าเส้นให้กลับมาที่ตาแหน่งเส้นตรง
ข้ อสั งเกต ในช่วงเดินเบาปิ ดแอร์ให้ลูกบอลอยูต่ ่ากว่า
หมายเลข 1 (ตามเส้น) และให้ลูกบอลอยูเ่ หนื อตาแหน่ ง
เลข 1 ในตอนเปิ ดแอร์ เพื่อที่กล่อง ECU จะคานวณค่า
ระหว่างเปิ ดและปิ ดแอร์
ตัง้ ค่ ำแก๊ สเปรี ยบเทียบกับนำ้ มัน
รู ป Folder (Icon)
หมายถึง การเรี ยกข้อมูล
ที่เรามีอยูอ่ อกมาใช้งาน
รู ป disc (Icon)
หมายถึงเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
ในกรณี ที่ตอ้ งการเทียบค่าน้ ามันให้เท่ากับแก๊สโดยไช้อุปกรณ์เสริ มที่เรี ยกว่า ไฟล์จูนนิ่ ง นาอุปกรณ์พิเศษนี้
มาต่อตามระบบเพื่อทาการสร้างกราฟในตาราง
ขั้นตอนแรกให้เลือกรอบเครื่ องยนต์ที่เราต้องการใช้ในการปรับจูน เช่น ถ้าเราเลือกที่ 2000 รอบให้เลือกค่าที่
1750-2250 หลังจากนั้นให้ลากเมาส์ไปที่ตวั ปรับอัตโนมัติติ๊กในช่องสี่ เหลี่ยมเพื่อเริ่ มต้นการปรับจูนอัตโนมัติ
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
ให้สร้างกราฟค่าน้ ามันก่อนโดยเริ่ มใช้เกียร์ต่าไปจนเกียร์สุดท้ายแต่ละเกียร์ใช้เวลาสร้างกราฟ
สร้างจุดประมาณ 1 นาที พยายามสร้างจุดกราฟให้เต็มทั้งเส้น
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
หลังจากนั้นให้เลือกเป็ นแก๊สเพื่อสร้างกราฟของแก๊สมาเปรี ยบเทียบกับค่าของกราฟน้ ามัน
ถ้ากราฟสองเส้นไม่ทบั กัน หมายถึง ค่าแก๊สมีค่าไม่เท่ากับน้ ามัน
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
ถ้ากราฟระหว่างน้ ามันและแก๊สทับกัน หมายถึง ค่าแก๊สมีค่าใกล้เคียงน้ ามันมากที่สุดหลังจากที่ได้ค่ากราฟ
ทั้งสองเส้นแล้วให้เอาเครื่ องหมายถูกออกในช่องการคานวณค่าจะเปลี่ยนจากสี เทาเป็ นสี ดาให้คลิ๊ก 1 ครั้ง
ECU จะคานวณค่าไปไว้ในแฟ้ มตั้งค่าปรับแก๊สเปรี ยบเทียบน้ ามัน (F6)
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
จะปรากฏจุดสี เหลืองเป็ นจุดนาทางให้เราทราบว่าควรจะปรับเส้นสี แดงมาทับเส้นสี เหลือง
เพื่อให้ได้ค่าใกล้เคียงกับค่าน้ ามัน
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
จะปรากฏจุดสี เหลืองเป็ นจุดนาทางให้เราทราบว่าควรจะปรับเส้นสี แดงมาทับเส้นสี เหลือง
เพื่อให้ได้ค่าใกล้เคียงกับค่าน้ ามัน
กำรปรั บจูนอัตโนมัติ
หลังจากปรับเส้นแล้วให้กลับมาที่การปรับจูนอัตโนมัติ (F7) ให้ลากเมาส์มาที่ Clear Model เพื่อทาการลบค่า
ในหน้า F6 และให้ลากเมาส์มาลบค่าข้อมูลของแก๊ส แล้วลากเมาส์ไปที่ช่องปรับอัตโนมัติ ติ๊กเครื่ องหมายถูก
เพื่อทาการสร้างกราฟใหม่ดูวา่ กราฟทั้งสองเส้นซ้อนกันหรื อยังถ้าซ้อนกันหมายถึงเป็ นค่าที่ดี