Transcript 1 - UTCC e

บทที่ 1
สังคมกับโลกาภิวตั น์
โครงสร้างทางสังคม
(Social Structure)
โดย
ผศ.เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ
โลกาภิวตั น์
(Globalization)
คาว่า Globalize และ Globalism ถูกนามาใช้
ครัง้ แรกในปี คศ. 1940 หลังจากนัน้ ในปี 1959
เริ่มมีการใช้คา Globalization และอีกสองปี
ต่อมาก็มีการบัญญัติคานี้ ในพจนานุกรม
ความหมาย
ราชบัณฑิตยสถานปี พ.ศ. 2537 อธิบาย
โลกาภิวตั น์ หมายถึง การเชื่อมโยง และการแผ่ถึง
กันทัวโลก
่
( อ้างในรวมบทความ สังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา,ม.ป.ป.: 63)
David Held and Anthony McGrew(2005)
หมายถึ ง กระบวนการเปลี่ ย นแปลงที่
เกิ ด ขึ้ น ในองค์ก รในด้ า นความสัม พัน ธ์
ทาง สั ง ค ม อั น ได้ แก่ กิ จกรรม การ
ป ฏิ สั ม พั น ธ์ แ ล ะ อ า น า จ ที่ ร ะ ห ว่ า ง
เครือข่ายในภูมิภาคต่างๆ
Defining Globalization(2005)
การที่สงั คมทัวโลกมี
่
การติดต่อสัมพันธ์กนั มากขึน้ โดย
เป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยีการ
สื่อสาร การซื้อขายและการผลิต ที่เกิดขึน้ ระหว่าง
ภูมิภาคต่างๆในโลก โดยบรรษัทข้ามชาติ ก่อให้เกิดการ
ถ่ายเทของเงิน เทคโนโลยี วัตถุดิบ และวัฒนธรรมข้าม
พรมแดนระหว่างชาติต่างๆอย่างมากมาย
แนวคิดที่เกี่ยวกับโลกาภิวตั น์
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับโลกาภิวตั น์ จาแนกได้
เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. กลุ่มสนับสนุนกระแสโลกาภิวตั น์
(Pro–Globalization)
2. กลุ่มต่อต้านกระแสโลกาภิวตั น์
(Anti–Globalization)
กลุ่มสนับสนุนกระแสโลกาภิวตั น์
มีความเห็นว่ากระแสโลกาภิวตั น์ เป็ นกระบวน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไม่สามารถหลีก
เลี่ยงได้ และภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ ทุกสังคม
จะถูกเปลี่ยนเป็ นสังคมสมัยใหม่
กลุ่มสนับสนุนกระแสโลกาภิวตั น์
ซึ่ งเป็ นกระบวนการเปลี่ ยนแปลงสังคมที่ เ ป็ น
ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ธ ร ร ม ช า ติ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ
กระบวนการวิ ว ฒ
ั นาการของสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ จ ะมี
วิวฒ
ั นาการไปสู่สิ่งที่ซบั ซ้อนและดีกว่า
( Malcolm Waters, 2004 , อ้างในวิภาวี เอี่ยมวร
เมธ และอัจฉรา เอ๊นซ์, 2549: 85)
กลุ่มที่ต่อต้านกระแสโลกาภิวตั น์
มีความเห็นตรงกันข้ามกับกลุ่มสนับสนุนโดยเห็น
ว่ากระแสโลกาภิวตั น์ มิใช่กระบวนการที่เป็ นไป
ตามธรรมชาติของความต้องการทางเศรษฐกิจ
ของทุกคน แต่เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของผูม้ ีอานาจ
และทาให้เกิดนโยบายและสถาบันในระดับสากล
กลุ่มที่ต่อต้านกระแสโลกาภิวตั น์
ซึ่งมีผลกระทบต่อคนจนและชนชัน้ แรงงานทัว่
โลก นอกจากนัน้ ยังกระทบต่อปัญหาการจัด
การกับสิ่งแวดล้อมอย่างเป็ นธรรมด้วย
( Wikipedia, 2006 )
ข้อมูลจาก
http://th.wikipedia.org/wiki
รายละเอียด นศ. สามารถอ่านเพิ่มเติมได้
จาก Website ข้างต้น
การวัดความเป็ นโลกาภิวตั น์
ตย.
Japanese อาหารจานด่ ว น แมคโดแนลด์
ของญี่ ปุ่ นนั บ เป็ นตัว อย่ า งที่ แ สดงให้ เ ห็น ถึ ง
การหลอมรวมเป็ นหนึ่ งเดี ยวของความเป็ น
นานาชาติ
ตย.
เทคโนโลยี เช่น การใช้โทรศัพท์ รถยนต์ อินเทอร์เน็ต
บรอดแบนด์ ฯลฯ)
การคลังไคล้
่ แฟชันวั
่ ฒนธรรมยอดนิยมระดับโลก เช่น
คาราโอเกะ, โปกามอน, ซุโดกุ, นูมะ นูมะ, โอริกามิ,
Idol series, ยูทูบ, Orkut, เฟสบุค, และ
มายสเปส
กีฬาระดับโลก เช่น ฟุตบอลโลก ฟี ฟาคัพ และกีฬา
โอลิมปิก
ตย.
การเกิดหรือการพัฒนาชุดของ “คุณค่าสากล”
universal value
การเพิ่มจานวนของมาตรฐานที่นาออกใช้ทวโลก
ั่
เช่น กฎหมายลิขสิทธ์ ิ การจดทะเบียนลิขสิทธ์ ิ
และการตกลงทางการค้าโลก
โครงสร้างทางสังคม
(Social Structure Social Constructs)
นิยาม
Wallace and Wallace
รูปแบบของพฤติกรรมที่คงทน รวมถึง
สถานภาพ บทบาท บรรทัดฐานและ
สถาบัน ซึ่งรวมตัวกันทาให้เกิดความ
มันคงภายในสั
่
งคม
นิยาม
Kammeyer เครือข่ายของความสัมพันธ์ที่
คงทน เกิดจากรูปแบบของการที่มนุษย์มีปฏิสมั พันธ์
ทางสังคม ซึ่งเป็ นผลทาให้มีตาแหน่ งหน้ าที่ที่แตก
ต่างกันไป
Charon โครงสร้างสังคมเป็ นรูปแบบหนึ่ งใน
การจัดระเบียบทางสังคม
นิยาม
ลักษณะมูลฐานของสังคมซึ่งทาให้สงั คมดารง
อยู่ได้ หมายถึง องค์ประกอบหลักของสังคม
ที่เป็ นตัวคา้ ยันสังคม ทาให้ความสัมพันธ์ของ
คนในสั ง คมด าเนิ นไปได้ ประกอบด้ ว ย
ค่ า นิ ยม บรรทัด ฐานทางสัง คม สถานภาพ
บทบาท สถาบันทางสังคม
องค์ประกอบสาคัญ
ของโครงสร้างทางสังคม
กลุ่มคน
สังคมเมือง-ชนบท การประกอบอาชีพ วิถีชีวิต
ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยม
ประเพณี
การจัดระเบียบทางสังคม
ได้แก่ สถานภาพ บทบาท และการควบคุม
ทางสังคม
สถาบันทางสังคม
ได้แก่ สถาบันครอบครัว การศึกษา
การเมือง-การปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนา
พระมหากษัตริย์
สังคมชนบท (Rural Society)
1. ประชากรมีความคล้ายคลึงกันในด้านต่างๆ
เช่น อาชีพ เชื้อชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี
2. ลักษณะชุมชน
3. มีความสัมพันธ์เป็ นแบบ primary relationship หรือ
ความสัมพันธ์แบบส่วนตัว
4. การควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคมมักใช้จารีต
ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี
สังคมเมือง (Urban Society)
1. ประชากรหนาแน่ น เป็ นชุมชนขนาดใหญ่
2. สังคมเมืองมีระบบเศรษฐกิจที่ซบั ซ้อน
3. ความสัมพันธ์ของคนเป็ นแบบทุติยภูมิ (Secondary
relationship) เป็ นความสัมพันธ์ในรูปแบบที่เป็ นทาง
การไม่เน้ นความสัมพันธ์ส่วนตัว
4. การควบคุมทางสังคมจะผ่านกฎหมายเป็ นหลัก
Ferdinand Tonnies
สังคมแบบ Gemeinschaft
สังคมแบบ Gesellschaft
อ่านเพิ่ม
1. แนวคิดของเดิรก์ ไฮม์ ( Durkhiem ) ในการจัด
ระเบียบทางสังคมในชนบทแบบ mechanical
solidarity ส่วนในนครมีลกั ษณะเป็ น organic
solidarity
2. แนวคิดเกี่ยวกับนครของ Max Weber,Georg
Simmel
อ่ านเพิม่
3. แนวคิดของนักปรัชญาสังคมกลุ่มนักทฤษฎี
สัญญาสังคมได้แก่ Thomas Hobbs, John
Locke และ Jean Jacques Rousseau
การจัดระเบียบทางสังคม
(Social Organization)
การจัดระเบียบทางสังคม
หมายถึงแบบแผนในการติดต่อสัมพันธ์กนั ของ
มนุษย์ในสังคมที่มีการพัฒนาจนเป็ นแบบแผนที่
ชัดเจน โดยสมาชิกส่วนใหญ่ยอมรับและปฏิบตั ิ
เป็ นวิถีทางในการดารงชีวิต การจัดระเบียบทาง
สังคมก่อให้เกิดการเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันใน
สังคม
องค์ประกอบสาคัญของการจัดระเบียบ
บรรทัดฐาน
สถานภาพ
บทบาท
การควบคุมทางสั งคม
บรรทัดฐานทางสังคม
(social norms)
หมายถึงระเบียบกฎเกณฑ์ แบบแผน
พฤติกรรมหรือคตินิยมที่สงั คมวางไว้เพื่อเป็ นแนว
ทางสาหรับบุคคลยึดถือปฏิบตั ิ ในสถานการณ์ต่างๆ
บรรทัดฐานเป็ นผลมาจากความคาดหวังที่สอด
คล้องกันเกี่ยวกับการกระทาต่างๆของคนใน
สังคม
ประเภทของบรรทัดฐาน
1. วิถีประชา (folkways)
2. กฎศีลธรรมหรือจารีตประเพณี (mores)
3. กฎหมาย (law)
สถานภาพทางสังคม
(social status)
สถานภาพทางสังคม คือตาแหน่ งของบุคคล
ในสังคมที่ได้มาจากการเป็ นสมาชิกของกลุ่ม
สถานภาพกาหนดสิทธิและหน้ าที่ที่บคุ คลมีอยู่และ
ที่เกี่ยวข้องกับผูอ้ ื่น สถานภาพจะกาหนดว่าบุคคลนี้
แตกต่างจากบุคคลนี้ อย่างไร และมีหน้ าที่รบั
ผิดชอบอย่างไรในสังคม
ประเภทของสถานภาพ
Ralph Linton จาแนกสถานภาพออกเป็ น
2 ประเภท
1. สถานภาพที่ได้มาโดยกาเนิด (Ascribed status)
2. สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ (Achieved
status)
บทบาททางสังคม
(social roles)
บทบาทหมายถึงแบบแผนพฤติกรรมซึ่ง
คาดหวังให้สมาชิกในสังคมปฏิบตั ิ ตาม
สถานภาพที่ดารงอยู่ บทบาทเป็ นลักษณะ
ที่เปลี่ยนแปลงได้
ปัญหาจากการแสดงบทบาท
1) ความขัดแย้งทางบทบาท (role conflict)
หมายถึงการที่บคุ คลสวมบทบาทหลายบทบาท
ซึ่งบทบาทหนึ่ งไปขัดกับอีกบทบาทหนึ่ ง
2) ความตึงเครียดทางบทบาท (role strain) หมายถึงการ
ที่บคุ คลมีหลายบทบาท บทบาทแต่ละบทบาทถูกคาดหวัง
โดยบุคคลกลุ่มต่างๆ ทาให้ไม่สามารถทาตามความ
คาดหวังของบุคคลทุกกลุ่มได้
การควบคุมทางสังคม
(social control)
กระบวนการหรือมรรควิธีในการทาให้สมาชิก
ในสังคมปฏิบตั ิ หน้ าที่ตามบทบาทและสถานภาพ
ของตนเองเพื่อให้เกิดความเป็ นระเบียบเรียบร้อยใน
สังคม Internal control และ External control
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
ความหมาย พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน
พศ. ๒๕๒๕ สถาบันเป็ นสิ่งที่ซึ่งคนส่วนรวม
คือสังคมจัดตัง้ ขึน้ เพราะเห็นว่ามีประโยชน์ มี
ความต้องการและจาเป็ นต่อการดาเนินชีวิตของ
คนในสังคม เช่น สถาบันครอบครัว ศาสนา
การศึกษา การเมืองการปกครอง
นิยามของสถาบันทางสังคม
1) ระบบทางสังคมอย่างหนึ่ งที่กาหนดรูปแบบ
พฤติกรรมต่างๆของมนุษย์ที่อยู่รวมกันใน
สังคมหนึ่ งๆ
2) ระบบความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม เพื่อ
สนองตอบต่อความต้องการพืน้ ฐานที่จะให้
สังคมนัน้ ดารงอยู่ได้
ลักษณะของสถาบันทางสังคม
1) มีการกระทาหรือปฏิบตั ิ ซา้ ๆมาเป็ น
เวลานาน
2) เป็ นแบบแผนการปฏิบตั ิ ที่ยอมรับร่วมกัน
ของสมาชิกในสังคม
3) มีการเชื่อมโยงของระบบบรรทัดฐานต่างๆ
ของสังคมในด้านต่างๆ
ประเทศไทยโครงสร้างหลวม
หมายถึงสังคมที่ยอมรับพฤติกรรมที่
หลากหลาย ของคนแต่ละคนในสังคม ในสายตา
คนต่างชาติ สังคมไทยเป็ นสังคมที่ไม่มีระเบียบ วินัย เมื่อ
เทียบกับญี่ปนจะเห็
ุ่
นว่าไทยเป็ นชาติที่ไม่สะอาด เรียบร้อย
และขาดวินัย เทียบกับอเมริกา เห็นว่าคนไทยไม่เคารพ
กฎระเบียบที่ผบู้ ริหารกาหนดขึน้ ไม่คานึ งถึงคุณค่าของ
เวลาเหมือนสังคมอุตสาหกรรม ในครอบครัวไทย
พ่อได้ชื่อว่าเป็ นหัวหน้ าครอบครัว
ประเทศไทยโครงสร้างหลวม
แต่ทางปฏิบตั ิ พ่อไม่ได้มีหน้ าที่อย่างจริงจัง
เหมือนเวียดนาม จีน ญี่ปนุ่ ในครอบครัวแม่ซึ่งทาหน้ าที่
อบรมสังสอนจะท
่
าในลักษณะการแนะนามากกว่าการสัง่
สอนที่เข้มงวด แม้ในครอบครัวจะมีการกาหนดหน้ าที่
สมาชิกที่พึงกระทาตามหลักคาสอนศาสนาพุทธ แต่
สมาชิกเลือกจะปฏิบตั ิ ที่ตนพอใจมากกว่าทาเพราะแรง
กดของสังคมและจะต่างกันไปในแต่ละครอบครัว
เปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-ญี่ปนุ่
• สังคมโครงสร้างหลวม
• สมาชิกถูกกาหนดหน้ าที่
ไม่ชดั เจน และไม่ปฏิบตั ิ
หน้ าที่อย่างเคร่งครัด
• ไม่มีวินัย ขาดความเป็ น
ระเบียบ เรียบร้อย
• เชื่อถือไม่ได้
-สังคมโครงสร้างกระชับ
-สมาชิกถูกกาหนดหน้ าที่
ชัดเจนและปฏิบตั ิ หน้ าที่
อย่างเคร่งครัด
-มีระเบียบวินัย เชื่อถือได้
สะอาดเรียบร้อย
-ซื่อสัตย์ต่อผูน้ าเพียงผู้
เดียว
เปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-ญี่ปนุ่
• ไม่ซื่อสัตย์ต่อผูน้ า
เพียงผูเ้ ดียว
• ไม่ย่งุ เรือ่ งที่ทาให้ตน
เดือดร้อน
• ไม่มีความปลอดภัยใน
ทรัพย์สิน
• ขาดความรักศักด์ ิ ศรี
ในชาติอย่างจริงจัง
-มีความปลอดภัยใน
ทรัพย์สิน
-รักศักด์ ิ ศรีในชาติอย่า
จริงจัง
-นร.เคารพครู และมีวินัยใน
ห้องเรียน
-ยกย่องการทางานหนัก
เปรียบเทียบวัฒนธรรมไทย-ญี่ปนุ่
•นร.ไม่เคารพครู และ
ไม่มีวินัยในห้องเรียน
•นิยมความสนุกในการ
ทางาน
•เป้ าหมายกศษ.ตปท.
คือความสนุกและ
หน้ าตาชื่อเสียง
•เป้ าหมายกศษ.คือ
แสวงหาความรู้
•ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรม
ใหม่ได้ยาก(Embree,J.F,)
การจัดระเบียบทางสังคม
(Social Organization)
โดย
ผศ.ชลธิชา ศาลิคปุ ต
ความหมายของการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึงการ
วางแผนหรือจัดวางแบบแผนซึ่งเป็ นกฏเกณฑ์ที่
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกภายในสังคม
เพื่อให้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ รว่ มกันของสมาชิก
ในสังคมเดียวกันใช้ในการดาเนินชีวิต
องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม
1
บรรทัดฐาน(Norm)
2
สถานภาพ(Status)
3
บทบาท(Role)
องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม
4
การควบคุมทางสังคม(Social Control)
5
ค่านิยมทางสังคม(Value)
บรรทัดฐาน(Norm)
บรรทัดฐานหมายถึงระเบียบ
แบบแผนหรือแนวทางในการปฎิบตั ิ ของสมาชิกใน
สังคมในเรือ่ งที่เกี่ยวข้องกับการกระทา(พฤติกรรม)ที่สงั คม
ยอมรับและไม่สามารถยอมรับ หรือความถูก ความผิด
และบรรทัดฐานใช้เป็ นตัวควบคุมพฤติกรรม
ของคนในสังคม
องค์ประกอบของบรรทัดฐานทางสังคม
วิถีชาวบ้าน(folkways)หมายถึง
สิ่งที่ทุกคนในสังคมประพฤติปฏิบตั ิ จนกลายเป็ น
นิสยั คุ้นเคยที่ต้องทามนุษย์เรียนรูว้ ิ ถีประชาโดยผ่าน
การขัดเกลาทางสังคม เช่น แปรงฟัน ทานข้าวด้วยช้อน
คนที่ถกู ขัดเกลามาอย่างเข้มงวดจะมีกิริยาวาจา
ที่เรียกว่า มีมารยาท
1
องค์ประกอบของบรรทัดฐานทางสังคม
จารีต(Mores)หรือกฎศีลธรรม
(moral) หมายถึงระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับ
ความถูกต้องดีงาม หรือขนบประเพณี ที่ถกู สังสมมาเป็
่
น
ระยะเวลายาวนานแสดงประวัติความเป็ นมาของสังคม
เช่น การคลานยามผ่านผูส้ งู วัยที่นัง่ อยู่กบั พืน้ การ
ประพฤติตนอยู่ในกรอบศีลธรรมเคารพ
เชื่อฟังบิดามารดาฯ
2
องค์ประกอบของบรรทัดฐานทางสังคม
3
กฎหมาย(laws) หมายถึงกฏเกณฑ์/ข้อ
บังคับที่ถกู สร้างขึน้ เพื่อใช้บงั คับให้คนในสังคมต้อง
ปฏิบตั ิ ตาม มีข้อกาหนดในการลงโทษหากมีผฝู้ ่ าฝื นกฎ
เหล่านัน้ มีการบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรยิ่งสังคม
กว้างใหญ่ขึน้ เท่าไรกฏหมายยิ่งมีความจาเป็ น
มากยิ่งขึน้ เท่านัน้
สถานภาพ (Status)
สถานภาพหมายถึงตาแหน่ งที่บคุ คลได้
รับในฐานะเข้าเป็ นสมาชิกของสังคม (กลุ่ม/ชุมชน)
นัน้ ๆ แต่จะได้สถานใดขึน้ กับบริบท(สภาพแวดล้อม)
ของคนคนนัน้ เช่น เกิดมาเป็ นลูกสาวคนเดียวของ
มหาเศรษฐีฯสถานภาพคือเป็ นเด็กผูห้ ญิงเป็ นลูกคน
เดียว(โทน)พ่อแม่รา่ รวยฯ
สถานภาพ (Status)
ซึ่งสถานภาพอาจจะเกิดซ้อนกัน ในเวลา
เดียวกันได้และจะต้องปฏิบตั ิ บทบาทตาม
สถานภาพเสมอ สถานภาพจึงเป็ นเครื่อง
กาหนดหน้ าที่ของเรานัน่ เอง
สถานภาพแบ่งออกได้เป็ นสองประเภท
1
สถานภาพที่ติดตัวมาแต่กาเนิด
(Ascribes status) หมายถึงสถานภาพที่บคุ คลได้
รับทันทีที่เกิดมา เช่น เด็กผูห้ ญิง เป็ นลูกครู เป็ นเด็ก
กาพร้า ผิวดา ตัวเตี้ยฯ ซึ่งสถานภาพชนิดนี้ มกั จะ
เปลี่ยนแปลงยาก คงอยู่ถาวร แต่มิใช่จะเปลี่ยนไม่ได้
เสียเลย เช่น เกิดมาเป็ นลูกคนจนแต่โตขึน้ มา
กลายเป็ นคนรวย ในอดีตยังเป็ นลูกคนจนอยู่ดี
หรือการแปลงเพศ
สถานภาพแบ่งออกได้เป็ นสองประเภท
2
สถานภาพที่ได้รบั มาภายหลัง
(Achives status) หมายถึงสถานภาพที่ได้มาจาก
การใช้ความสามารถ เช่น ประกวดร้องเพลงชนะเลิศ
เรียนเก่งได้รางวัลเรียนดี ได้เลื่อนยศ ฯ เป็ นสถานภาพ
ต้องมีการกระทาบางสิ่งบางอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่ง
สถานภาพนัน้ ตามที่ต้องการ เช่น ต้องการปริญญา
ต้องสอบให้ผา่ นทุกวิชาฯ
บทบาท(role)
บทบาทหมายถึงพฤติกรรมหรือการ
กระทาการปฏิบตั ิ ที่ต้องทาตามสถานภาพของตน
เอง(สังคมกาหนดให้)ตามที่สงั คมคาดหวังไว้ เช่นมี
สถานภาพเป็ นนักศึกษา ต้องมีบทบาทอย่างไร เป็ นผู้
ชาย ครู ข้าราชการ แพทย์ ทหาร ต่างมีบทบาทที่
แตกต่างกันออกไป
บทบาท(role)
บทบาทจะไปคู่กบั สถานภาพเสมอมี
สถานภาพจึงมีบทบาท เช่น มีสถานภาพเป็ นนักศึกษา
ต้องแสดงบทบาท(พฤติกรรม)คือเรียนหนังสือให้จบ
(ไม่ใช่เล่นการพนัน) มีสถานภาพเป็ นตารวจต้องแสดง
บทบาทคือดูแลความเรียบร้อยและปลอดภัย
ให้คนในสังคม(ไม่ใช่รีดไถ)
บทบาท(role)
ในคนๆหนึ่ งอาจมีหลายบทบาทได้ ใน
แต่ละบทบาทอาจขัดแย้งกันได้ด้วย
การควบคุมทางสังคม(social control)
การควบคุมทางสังคม
หมายถึงวิธีการจัดการให้สมาชิกของสังคมไม่
กระทาหรือปฏิบตั ิ การใดๆที่ออกนอกกรอบของ
พฤติกรรมที่ควรจะเป็ น เพราะหากไม่มีข้อกาหนด อาจ
มีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของผูอ้ ื่นได้ หรืออาจ
เกิดอันตรายต่อตนเองได้ เช่นการสวม
หมวกกันน็อก ฯ
วิธีการควบคุม
การควบคุมทางสังคมมีอยู่หลายวิธีแล้วแต่ ความ
รุนแรงของการละเมิดกฎเกณฑ์
การควบคุมแบบเป็ นทางการ(Formal) เช่น การใช้
กฎหมาย (จับ ปรับ ติดตะรางฯ) ตี ทุจริตปรับตกทุก
วิชา
การควบคุมแบบไม่เป็ นทางการ(Informal) เช่น
การว่ากล่าวตักเตือน หัวเราะเยาะฯ
วิธีการควบคุม
นอกจากนี้ ยงั มีการควบคุมอีกสองลักษณะ
คือ
ควบคุมเชิงบวก(Positive)เช่น การให้รางวัล
กล่าวคาชมเชยเมื่อทาความดี
ควบคุมเชิงลบ(Negative)เช่น ทาให้อบั อาย
ขายหน้ า ตัดค่าขนม ไม่ให้ความช่วยเหลือฯ
วิธีการควบคุม
หากสังคมใดมีการขัดเกลาที่ดี จะมีผฝู้ ่ าฝื น
กฎเกณฑ์นอ้ ยกว่าสังคมที่มีการขัดเกลาล้มเหลว ฉะนั้น
การขัดเกลาจึงเป็ นหนทางที่สามารถใช้ควบคุมทางสังคม
ได้แบ่งการควบคุมออกเป็ นสองลักษณะดังนี้
วิธีการควบคุม
การควบคุมภายนอก (External Control)
การควบคุมภายใน(Internal Control)
ค่านิยมทางสังคม(Social Value)
ค่านิยมหมายถึงสิ่งที่คน
ส่วนใหญ่ของสังคมเห็นว่าเป็ นสิ่งที่ควรมี ควร
เป็ น ควรได้ ควรเอาอย่าง ไม่สามารถบอกได้ว่าเป็ นสิ่งที
ถูกต้องหรือม่ เช่น การนิยมขับรถเบนซ์ นิยมส่งลูกเรียน
ต่าง ประเทศ นิยมใช้สินค้าแบรนด์เนม ฯ ค่านิยมเป็ น
เพียงการบอกให้รวู้ ่าคนในสังคมชอบอะไรใน
ช่วงเวลาขณะนัน้
ประเภทของค่านิยม
ค่านิยมในสังคมมีอยู่หลาย
ลักษณะแบ่งออกเป็ น
ค่านิยมด้านบวก เช่น ค่านิยมในความกตัญญู
ความซื่อสัตย์ ความเกรงใจ การให้อภัยฯ
ค่านิยมด้านลบ เช่น ค่านิยมในเรือ่ งความรักสนุก
รักความสบาย (ไม่ส้งู าน) ความไม่มีวินัยฯ