บทที่ 3 : องค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์

Download Report

Transcript บทที่ 3 : องค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์

By Chotika Thamviset @ rmu
รายวิชา 120006 :
Human behavior and
seft Development
D:\download\vdo\คำคมจำกหนังเรื่อง
สำยล่อฟ้ำ - YouTube.flv
ไอสไตล์ เคยกล่าวว่า บนโลกนีไ้ ม่มี
ปำฏิหำริย์ ทุกสิ่งทุกอย่ำงที่เกิดขึน้ ล้วน
แล้วแต่ม.ี ......เหตุและผล บำงเผ่ำพันธุ์
บำงศำสนำ เรียกว่ำ กรรม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
Chapter 3
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
แรงจูงใจ
การเรี ยนรู้
ปั ญญาของ
ความคิด
องคประกอบ
์
พฤติกรรม
มนุ ษย ์
ค่ านิยม
อารมณ์
เจตคติ
การเรียนร ้ ู
(Learning)
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
1. การเรียนรู้ (Learning)
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเนื่องจากประสบการณ์ เมือ่ เกิดกำรเรียนรูร้ ่ำงกำย
จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3 ด้ำน
คือ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ด้านที่ 1 การรูค้ ิด
การรูค้ ิด
(Cognitive Domain)
เปลี่ยนแปลง
ความร ้ ู
เปลี่ยนแปลงความ
เข้าใจ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ด้านที่ 2 ความรูส้ ึก
ความรส้ ู ึก
(Affective Domain)
เปลี่ยนแปลงทำง
อำรมณ์
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ด้านที่ 3 ทักษะ
ทักษะ
(Psychomoter Domain)
เปลี่ยนแปลงความชานาญ
ในการเคลื่อนไหว
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
กระบวนการเรียนร ้ ู
สิ่งเร้า
การรับ
สัมผัส
การรับร ้ ู
ความคิดรวบ
ยอด
พฤติกรรม
ตอบสนอง
การเรียนร ้ ู
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
แนวคิดทฤษฎีการเรียนร ้ ู
ทฤษฎีการเรียนร ้ ู ในปัจจุบัน
จาแนกเป็น 3 กลมุ่ ดังนี้
 กลมุ่ พฤติกรรม
 กลมุ่ ปัญญานิยม
 กลมุ่ ปฎิสมั พันธ์
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
แนวคิดทฤษฎีการเรียนร ้ ู
 ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลมุ่ พฤติก รรม
นิยม : Behavioral Learning Theories
กลมุ่ นี้ เน้น สิ่งเร้าและการตอบสนอง
น าไปสู่ค วามสามารถในการ
แสดงพฤติกรรม ประกอบด้วย 3
แนวคิดใหญ่ๆ คือ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classical Conditioning) โดย พำฟลอฟ
(Pavlov) หลักกำรคือ
“การนาเอาสิ่งเร้าที่ถ ูกวางเงื่อนไขไป
ปรากฏพร้อมกับสิ่งเร้าที่ไม่ได้วาง
เงื่อนไขโดยลาพัง มีอิทธิพลทาให้เกิด
การตอบสนองได้”
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classical Conditioning) โดย พำฟลอฟ
(Pavlov) มีกำรทดลองดังนี้
ขัน้ ที่ 1 เสียงกระดิง่ (CS)
ผงเนือ้ (UCS)
ไม่มนี ำ้ ลำย
นำ้ ลำยไหล (UCR)
ขัน้ ที่ 2 เสียงกระดิง่ นำ้ ลำยไหล (UCR) + ผงเนือ้ (UCS)
ทำขัน้ ที่ 2 ซำ้ กันหลำย ๆ ครัง้
ขัน้ ที่ 3 เสียงกระดิง่ (CS)
นำ้ ลำยไหล (CR)
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการ
กระทา โดย คือสกินเนอร์ หลักกำร
คือ
“การตอบสนองหรือพฤติกรรมของ
อินทรียเ์ ป็นเครือ่ งมือทาให้เกิดการ
เสริมแรงในการแก้ไขปัญหา”
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
3. ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง
โดย คือ ธอร์นไดค์ หลักกำร คือ
“ความสามารถเชื่อมโยงระหว่างสิ่ง
เร้าและการตอบสนองและได้รบั
ความพอใจ นัน้ คือการเสริมแรงจะ
ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่าง S-R
นัน้ มากๆ”
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
 ทฤษฎีการเรียนรก้ ู ลมุ่ ปัญญา
นิยม (Cognitive theory)
เป็นทฤษฎีที่ให้ความสาคัญต่อ อินทรียเ์ ป็น
หลัก สนใจพฤติกรรมภายในหรือกระบวนการ
ทางานของสมอง ในกลมุ่ นี้ประกอบด้วย ทฤษฎี
ใหญ่ๆ คือ กลมุ่ เกสตัลท์ และประมวล
สารสนเทศ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
1. ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลมุ่ เกลตัลท์
(Gestalt)
เกลตัลท์ (Gestalt) มาจาก
ภาษาเยอรมันแปลว่า แบบแผน Form
or pattern
ปัจจุบัน แปลว่า โดยส่วนร่วม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
1. ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลมุ่ เกลตัลท์
(Gestalt)
โดยมี แมกซ์ เวรอ์ไธเมอร์ ,เคิรท์
คอฟฟิกา และโวล์ฟกัง โคห์
เลอร์
แนวคิดหลัก คือ ส่วนร่วมมีค่า
มากกว่าผลรวมของส่วนย่อย
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
สร ุปแนวคิดกลมุ่ เกลตัลท์
(Gestalt)
ภาพรวม
(Whole)
รายละเอียดปลีกย่อย
(Parts)
ภาพรวม
(Whole)
(ความเข้าใจ)
(Insight)
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
2. ทฤษฎีการเรียนรูป้ ระมวล
สารสนเทศ
เป็นทฤษฎีที่อธิบายการเรียนรูข้ อง
มน ุษย์ดว้ ยระบบงานคอมพิวเตอร์
คือ รับข้อมูล จัดกระทา/
เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่รบั เข้ามา
เก็บจาและเรียกใช้
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
สร ุป ทฤษฎีการเรียนรูโ้ ดยการประมวล
สารสนเทศ (Information Processing Modle
of Learning)
ระบบควบคุม
สิ่งเร้ า
ลงรหัส
บันทึกข้ อมูล
ความใส่ใจ
ความจาระยะสั้น การจัดหมวดหมู่ ความจาระยะ
ยาว
การให้ ความหมาย
การตอบสนอง
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
3. ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลมุ่
ปฏิสมั พันธ์
แนวคิด เชื่อว่า พฤติกรรมขึ้นอยูก่ บั
ผลร่วมระหว่างกระบวนการทาง
ปัญญาของ บุคคลและสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย ทฤษฎีการเรียนรูท้ างสังคม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ทฤษฎีการเรียนรูท้ างสังคม :
Social Learning Theory
ผูน้ ำที่สำคัญคือ บันดูรำ ได้ตงั้ ทฤษฎีชือื่
กำรเรียนรูโ้ ดยกำรสังเกต โดยเขำได้อธิบำยว่ำกำร
เรียนรต้ ู อ้ งเป็นปฏิสมั พันธ์กนั และกันระหว่าง
บ ุคคลกับสิ่งแวดล้อม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
การเรียนรูข้ องมน ุษย์ตามแนวคิดของ
แบนด ูลา
บุคคล
พฤติกรรม
สิ่งแวดล้อม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
2.สติปัญญาและความคิด (Intelligence
and Thought
การคิด คือ กระบวนการที่เกิดขึ้นสมองโดยมี
การจัดระบบความร ้ ู
***การคิดเป็นเรือ่ งที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญา
สติปัญญา คือ ความสามารถในการเรียนร ้ ู คิด
อย่างมีเหต ุผล ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
การคิด ประกอบด้วย
• คิดอย่างไม่มีจ ุดมุง่ หมาย
• แบบมีจ ุดมุง่ หมาย
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
คิดอย่างไม่มีจ ุดมุง่ หมาย
• ฝันกลางวัน
• ฝันกลางคืน
• เชื่อมโยงอิสระ
แบบมีจดุ มุง่ หมาย
• คิดอย่างมีวิจารณญาณ
• คิดสร้างสรรค์
*** การคิดมีผลต่อพฤติกรรม การปฏิบตั ิ การ
แก้ไขปัญหา
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญา
1. พห ุปัญญา ของ การ์ดเนอร์ องค์ประกอบ
คือ
- ด้านภาษา
- ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์
- ด้านมิติ
- ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
- ดนตรี
- มน ุษยสัมพันธ์
- เข้าใจตนเอง
- ด้านธรรมชาติ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญา
1. ปัญญาแนวสามศร ของ สเติรน์ เบริก
องค์ประกอบคือ
- ปัญญาวิเคราะห์
- ประสบการณ์ปัญหา
- บริบทสังคม
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
สร ุป การคิด การคิดเป็นกระบวนการที่
เกิดขึ้ นในสมองที่ ใช้สญ
ั ลักษณ์หรื อภาพ
แทนสิ่งของ เหต ุการณ์หรือสถานการณ์
ต่าง ๆ โดยมี การจัดระบบความร ้ ู ข้อ มูล
ข่ า วสารซึ่ ง เป็ นประสบการณ์ เ ดิ ม กั บ
ประสบการณ์ใหม่หรือสิ่งเร้าใหม่ ที่ ไปได้
ทัง้ ใน รปู แบบ ธรรมดาและ สลับซับซ้อน
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
3. ค่านิยม
คือ ความเชื่ออย่างหนึ่ง
ค่านิยมขึ้นอยูก่ บั
ประสบการณ์และ
เปลี่ยนแปลงตามว ุฒิภาวะ
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
ราชบัณฑิตสถาน (2542)
ค่ำนิยมเป็ นสิ่งที่บคุ คลหรือ
สังคมยึดถือ เป็ นเครื่องชื่วย
ตัดสินใจและกำหนดกำร
กระทำของบุคคล
Chapter 3 :
องค์ประกอบของพฤติกรรมมน ุษย์
การเกิดค่านิยม : ยอมรับ ความชอบ
การผูกมัด
ประเภทของค่านิยม
1. ความคิดทฤษฎี
2. สังคม
3. การปกครอง
4. ศาสนา
5. ส ุนทรียะ
6. เศรษฐกิจ
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
3.ค่ านิยม (Value)
การสร้ างค่ านิยม ตามแนวคิดของสาโรจ บัวศรี
ความจาเป็ น
ความพึงพอใจ
ค่านิยม
ทัศนคติ
การกระทา
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
3.ค่ านิยม (Value)
การสร้ างค่ านิยม ตามแนวคิดของเมธี ปิ ลันทธนานนท์
ความรู้สกึ
ความคิดเห็น
สื่อสารและถ่ายทอด
การเลือกเชื่อและ
มีศรัธา
การปฏิบตั ิ
(พฤติกรรม)
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
เจตคติ หมายถึง ความรู้สึกที่ค่อนข้ างถาวรต่ อ
สิ่งเร้ า ที่เรารู้จักหรือเข้ าใจ แล้ วมีแนวโน้ มให้
เรามีพฤติกรรมที่สอดคล้ องกับความรู้สึกนัน้
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
เจตคติประกอบด้ วย
1. ทิศทาง ได้ แก่ บวก (+) หรื อ ลบ (-) ชอบหรื อไม่ชอบ ดี
หรื อไม่ดี
2. ความเข้ มข้ นได้ แก่ เจตคติที่มีมากน้ อยเพียงใด
3. ขอบเขต ได้ แก่เจตคติที่มีแผ่ขยายอิทธิพลถึงสิ่งอื่น
หรื อไม่
4. ระยะเวลา ได้ แก่ความยาวนาน หรื อความคงทนของเจต
คติ
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
เจตคติประกอบด้ วย
1. ทิศทาง ได้ แก่ บวก (+) หรื อ ลบ (-) ชอบหรื อไม่ชอบ ดี
หรื อไม่ดี
2. ความเข้ มข้ นได้ แก่ เจตคติที่มีมากน้ อยเพียงใด
3. ขอบเขต ได้ แก่เจตคติที่มีแผ่ขยายอิทธิพลถึงสิ่งอื่น
หรื อไม่
4. ระยะเวลา ได้ แก่ความยาวนาน หรื อความคงทนของเจต
คติ
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
เจตคติของเรามีแนวโน้ มที่จะทาให้ เกิด
พฤติกรรมที่สอดคล้ องกับเจตคตินัน้ เช่ น ถ้ า
เรามีเจตคติทางบวกต่ อการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยมาเป็ นเวลายาวนานแล้ ว
พฤติกรรม หรือความคิดของเราย่ อมสอดคล้ อง
กับหลักประชาธิปไตย
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
ประโยชน์ ของเจตคติ
1. เจตคติเป็ นคาย่อของการอธิบายความรู้ สก
ึ ยาว
ๆ คลุม
พฤติกรรมต่าง ๆ ได้ มาก
2. เจตคติใช้ พิจารณาเหตุของพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อสิง่ อื่น
หรื อมีตอ่ เป้าเจตคติของคน ๆ นัน้
3. เจตคติสามารถมองสังคมได้
4. เจตคติมีความดีงานในตัวของมันเอง
5. เจตคติเกิดจากพันธุกรรมและสิง่ แวดล้ อม จึงต้ องศึกษา
สัญชาติญาณและปรับสิง่ แวดล้ อม
6. เจตคติเป็ นศูนย์ความคิดเห็นและเป็ นฐานของพฤติกรรมสังคม
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
วิธีศึกษาเจตคติ Oskamp ได้ สรุปไว้ ที่ใช้ ได้ ผลดีมีอยู่ 5 วิธี
1. ศึกษาโดยวิธีการพรรณนา
2. ศึกษาโดยวิธีการวัด (Measurement)
3. ศึกษาโดยวิธีโหวตเสียง เพื่อแสวงหาความคิดเห็น
ของประชาชนแต่ ขณะเดียวกันสามารถศึกษาเจตคติได้ ด้วย
4. ศึกษาโดยวิธีทางทฤษฎี (Theories)
5 ศึกษาโดยวิธีการทดลอง (Experiments)
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
มิติของเจตคติจากแนวความคิดของนักจิตวิทยา มีลกั ษณะดังนี ้
เจตคติขึ ้นอยูก่ บั การประเทินมโนภาพของเจตคติ แล้ วเกิดเป็ น
พฤติกรรมแรงจูงใจ แต่ถ้าแสดงออกเป็ นพฤติกรรมแล้ วจะเป็ น
ลักษณะ 4 กลุม่ คือ
Positive-approach เช่น ความเป็ นเพื่อน ความรัก
· Negative-approach เช่น การโจมตี ด่าว่า ต่อสู้
· Negative-avoidance เช่น ความกลัว ความเกลียด
· Positive-avoidance เป็ นลักษณะเจตคติดีทางบวก แต่
ก็อยากจะหลบหลีก
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
เจตคติเปลี่ยนแปลงความเข้ มข้ นตามแนวของทิศทาง
1.
2.
3.
4.
เจตคติเกิดจากการเรี ยนรู้มากกว่ามีมาเองแต่กาเนิด
เจตคติขึ ้นอยูก่ บั เป้าเจตคติหรื อกลุม่ สิ่งเร้ าเฉพาะอย่าง
เจตคติที่มีคา่ สหพันธ์ภายในเปลี่ยนแปลงไปตามกลุม่
เจตคติมีลกั ษณะมัน่ คงและทนทานเปลี่ยนแปลงยาก
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
องค์ ประกอบของเจตคติ
เจตคติมี
องค์ประกอบ
เดียว
ชอบ/ไม่
ชอบ
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
4.เจตคติ (Attitude)
องค์ ประกอบของเจตคติ
เจตคติมีสอง
องค์ประกอบ
สติปัญญา
ความรู้สกึ
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
5.อารมณ์ (Emotion)
การเกิดการเคลื่อนไหว หรื อภาวะที่
ตื่นเต้น ประกอบด้วย สภาวะการรู้คิด
ปฎิกริ ยาทางสรี ระ การแสดงออกของ
พฤติกรรม
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
6.แรงจูงใจ
คือพลังผลักดันให้ คนมีพฤติกรรม และยัง
กาหนดทิศทางและเป้าหมายของ
พฤติกรรม นันด้
้ วย
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
6.แรงจูงใจ
คือพลังผลักดันให้ คนมีพฤติกรรม และยัง
กาหนดทิศทางและเป้าหมายของ
พฤติกรรม นันด้
้ วย มีองค์ประกอบ
คือด้ านร่างกาย การเรี ยนรู้และ
ความคิด
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
• 6.แรงจูงใจ
• แรงจูงใจภายใน หมายถึง แรงจูงใจ
ที่มาจากภายในตัวบุคคล และเป็ นแรง
ขับที่ทาให้ บคุ คลนันแสดงพฤติ
้
กรรม
• โดยไม่หวังรางวัลหรื อแรงเสริมภายนอก
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2542)
Chapter 3- องค์ ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์
• 6.แรงจูงใจ
• แรงจูงใจภายนอก หมายถึง แรงจูงใจ
ที่มาจากภายนอก เป็ นต้ นว่าคาชมหรื อ
รางวัล
Title
• Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer
adipiscing elit. Vivamus et magna. Fusce sed
sem sed magna suscipit egestas.
• Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer
adipiscing elit. Vivamus et magna. Fusce sed
sem sed magna suscipit egestas.