Transcript Document

แมลงศัตรูพชื ผักทีส่ ำคัญ
สมคิด เฉลิมเกียรติ
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสุพรรณบุรี
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุพรรณบุรี
ด้วงหมัดผัก
วงจรชีวติ
ไข่
3-4 วัน
ตัวเต็มวัย
30-60 วัน
หนอน
3-4 วัน
ดักแด้
4-5 วัน
ระยะไข่ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 47-83 วัน ตัวเต็มวัย
เพศเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 80-200 ฟอง
ลักษณะกำรทำลำย
ตัวอ่อนของด้วงหมัดผักชอบกัดกินหรื อชอนไชเข้าไปกินอยูบ่ ริ เวณโคน
ต้น หรื อรากของผัก ทาให้พืชผักเหี่ ยวเฉาและไม่เจริ ญเติ บโต ถ้ารากถูกทาลาย
มากๆ ก็อาจทาให้พืชผักตายได้ ตัวเต็มวันชอบกัดกินด้านล่างของผิวใบ ทาให้ใบมี
รู พรุ น และอาจกัดกิ นลาต้นและกลี บดอกด้วย ด้วงหมัดผักชอบอยู่รวมกันเป็ น
กลุ่มๆ ตัวเต็มวัยเมื่อถูกกระทบกระเทือน ชอบกระโดดและสามารถบินได้ไกลๆ
หนอนใยผัก
วงจรชีวติ
ไข่
2-7 วัน
ผีเสื้อ
7-14 วัน
หนอน
14-28 วัน
ดักแด้
5-10 วัน
ผีเสื้ อตัวเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 50-400 ฟอง
ลักษณะกำรทำลำย
หนอนใยผักทาลายใบของพืชตระกูลกะหล่า จะทาลายพืช
ในระยะกล้าหรื อระยะปลูกใหม่
หนอนกระทูห้ อม
วงจรชีวติ
ไข่
2-3 วัน
ตัวเต็มวัย
4-10 วัน
หนอน
12-14 วัน
ดักแด้
7-10 วัน
ลักษณะกำรทำลำย
หนอนกระทู้ห อม ในชื่ อ หนอนหลอดหอม หรื อหนอนหนัง
เหนียว จะมีนิสัย เจาะมุดเข้าไปกัดกินในพืช เช่น ในใบหอม, กัดกินในดอก
กุหลาบ ในยอดอ่อนของพืช ทาให้ยากแก่การสังเกต
หนอนเจาะสมอฝ้ ายอเมริ กนั
วงจรชีวติ
ไข่
2-3 วัน
ผีเสื้อ
17-18 ตัว
หนอน
14-17 วัน
ดักแด้
10-12 วัน
ลักษณะกำรทำลำย
หนอนเจาะสมออเมริ กัน จะกิ น ใบฝ้ าย ถ้า อาหารที่ ม ัน ชอบ
เช่น ตาดอก ดอก สมออ่อน มี ไม่เพียงพอ ถ้าเป็ นตาดอก หนอนจะกิ น
ข้างในหมดเหลือแต่ส่วนนอก หนอนจะเคลื่อนไหวกัดกินไปเรื่ อยๆ
หนอนเจาะยอดกะหล่า
วงจรชีวติ
ไข่
3-5 วัน
ตัวเต็มวัย
หนอน
15 วัน
ดักแด้
7-11 วัน
ลักษณะกำรทำลำย
เมื่ อหนอนฟั กเป็ นตัวจะเข้าไปกัดกินตามส่ วนยอด ฝั ก ลาต้น
ก้านดอก ช่อดอกที่แตกใหม่
เพลี้ยอ่อนถัว่
วงจรชีวติ
ชีพจักรโดยเฉลี่ย
อายุตวั อ่อนเฉลี่ย
อายุตวั แก่เฉลี่ย
เพลี้ยอ่อน 1 ตัว ออกลูกได้
11 วัน
6 วัน
3-14 วัน
273 ตัว
ลักษณะกำรทำลำย
เป็ นแมลงขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร เคลื่อนไหวช้า หัวมี
ขนาดเล็ก กว่าส่ วนอก ส่ วนท้องโต ลักษณะอ้วนป้ อมมี ท่อเล็กๆ ยื่นยาวไปทาง
ส่ วนท้าย 2 ท่อ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ าเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ดอก
และเข็ม ทาให้ตน้ แคระแกร็ น ใบอ่อน และยอดอ่อนหงิกงอดอกร่ วง
เพลี้ยไฟ
วงจรชีวติ
ไข่ถึงตัวอ่อน ประมาณ 15 วัน
ลักษณะกำรทำลำย
ระยะตัวเต็มวัยจะทาลายพืช โดยการดูดน้ าเลี้ยงจากใบที่ยงั อ่อน ใบพืช
ที่ถูกทาลาย ปลายใบจะเหี่ ยว ขอบใบจะม้วนเข้าหากลางใบ และอาศัยอยูใ่ นใบที่
ม้วน
เพลี้ยแป้ ง
วงจรชีวติ
เพลี้ ยแป้ งตัวเต็มวัยตัวเมี ยมี ขนาดลาตัวยาวประมาณ 3 มม. สี เหลือง
อ่อน ลักษณะอ้วนสั้นมีผงสี ขาวปกคลุมลาตัว วางไข่เป็ นกลุ่มๆละ 100-200 ฟอง
บนผล กิ่งและใบ ตัวเมียหนึ่ งตัวสามารถวางไข่ได้ 600-800 ฟอง ในเวลา 14 วัน
ไข่จะฟักอยูใ่ นถุงใต้ทอ้ งตัวเมียประมาณ 6-10 วัน จึงจะออกเป็ นตัวอ่อน
ลักษณะกำรทำลำย
เพลี้ยแป้ งดูดกินน้ าเลี้ยงจากบริ เวณกิ่ง ใบ ช่อดอก ผลอ่อน ผลแก่ มีมด
เป็ นพาหะ ช่วยพาไปตามส่ วนต่างๆ ของพืช
Bacillus thurigiensis (Bt)
เป็ นแบคทีเรี ยแกรมบวก จัดอยูใ่ นกลุ่ม facultative
aerobic bacteria เซลล์มีรูปร่ างเป็ นท่อนตรง
กลไกกำรทำลำยของเชื้อ Bt
ที่มีต่อแมลง
แมลงกินสปอร์ /ผลึกโปรตีน
แมลงหยุดกินอาหาร/ตาย
น้ าย่อยในกระเพาะอาหารของแมลง
ย่อยสารตกผลึกโปรตีน
สารพิษเข้าทาลายกระเพาะอาหาร
ให้เป็ นช่องว่าง
ความอ่อนแอแมลงที่มีต่อเชื้อ Bt
 อายุ
 ความแข็งแรง
 สภาพแวดล้อม
ความเป็ นพิษของ Bt
 สายพันธุ์
 อายุ
 อัตราส่ วนระหว่างสปอร์และผลึกโปรตีนที่แมลงได้รับ
BT ที่แนะนา
BT Var. kurstaki
BT Var. aizawai
BT Sub. tenebrionis
หน่วยวัดความเข้มข้น
IU/mg
Su/mg
DBMU/mg
BTIU/mg
บีที แตกต่ ำงจำกสำรเคมี คือ สารเคมีมีท้ งั ชนิดที่ถูก
ตัวตาย และกินตาย แต่ บีที แมลงจะต้องกินเข้าไป
ส่ วนใหญ่จะมีประสิ ทธิภาพเฉพาะตัวอ่อนหรื อตัว
หนอน บีทีสามารถกาจัดศัตรู พืช เช่น
- หนอนใยผัก
- หนอนคืบกะหล่า
- หนอนกระทูห้ อม
- หนอนแก้วส้ม
- หนอนเจาะสมอฝ้ าย
ข้ อดีของเชือ้ บีที
เป็ นเชื ้อจุลินทรี ย์ที่ทำลำยเฉพำะหนอนแมลงศัตรูพืช ไม่เป็ นอันตรำย
ต่อแมลงที่มีประโยชน์
ปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ใช้ และผู้บริ โภค
ไม่มีผลตกค้ ำงต่อผลผลิต
บีที สำมำรถควบคุมศัตรูพืชได้ อย่ำงกว้ ำงขวำง
โอกำสที่แมลงจะสร้ ำงควำมต้ ำนทำนต่อบีที จะมีน้อยกว่ำสำรเคมีฆำ่
แมลง
บีทีสำมำรถนำไปใช้ ร่วมกับสำรเคมีได้
ข้ อจำกัด
• 1. บีที ออกฤทธิ์ช้ำ ใช้ เวลำ 1 – 2 วัน หนอนจึงจะตำย
• 2. ควรพ่นบีทีในช่วงบ่ำย หรื อช่วงที่แสงแดดอ่อน
• 3. ไม่ควรผสมบีทีกบั สำรเคมีกำจัดโรคพืช
 
การขยาย BT
อุปกรณ์
•
•
•
•
เชื้อ BT (ผง/นำ้ )
นำ้
นมข้ นหวำน
นำ้ ตำล
250
20
2
1
กรัม/ซีซี
ลิตร
กระป๋ อง
กิโลกรัม
วิธี
หมัก
น้ำ 20 ลิตร
วิธี
หมัก
นมข้นหวำน 1 กระป๋อง
วิธี
หมัก
BT 250 กรัม/ซีซี