ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

Download Report

Transcript ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ

การระบุลกั ษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ISO 14001: 2004
รองศาสตราจารย์สยาม อรุณศรีมรกต
คณะสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
1
การกาหนดลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ISO 14001: 2004



ลักษณะปัญหาและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
วิธีการบ่งชี้ลกั ษณะปัญหาสิง่ แวดล้อมและผลกระทบ
วิธีพจิ ารณาความสาคัญของลักษณะปัญหาและผลกระทบ
ต่อ สิง่ แวดล้อม
2
ลักษณะปัญหาและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
ลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
องค์ป ระกอบของกิ จ กรรมผลิ ต ภัณ ฑ์แ ละบริ ก ารขององค์ก รที่ มี
ผลกระทบทัง้ ด้านบวกและลบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ทาให้เกิดน้ าเสีย อากาศเสีย
การใช้ทรัพยากร หรือเสียง เป็ นต้น
ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงใดๆ ทัง้ ด้านบวกหรือลบ ทัง้ หมดหรือบางส่วนจาก
กิจกรรมผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์กร เช่น การปนเปื้ อนของดินและน้ า การ
ลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ
3
องค์กรกับปัญหาสิง่ แวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนิ นงานขององค์กรกับปัญหาสิง่ แวดล้อม
จัดหาวัตถุดิบ ทรัพยากร
ประกอบชิ้นส่วน
ผลิตสินค้า
ขนส่งวัสดุ ผลิตภัณฑ์
มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากร
4
ตัวอย่างของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
5
ตัวอย่างของลักษณะปัญหาและผลกระทบ
การปล่อยก๊าซ SOx NOx
การปล่อยน้ าเสียลงแหล่งน้ า
ฝนกรด
การใช้เชื้อเพลิง
การรัว่ ไหลของสารเคมี
การปนเปื้ อนของดิน
นา้ ผิวดิน
นา้ ใต้ดิน
6
การบ่งชี้ลกั ษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
การวิเคราะห์โดยใช้ผงั กระบวนการ (Process Flow Analysis)
ระบุขน้ั ตอนของกระบวนการโดยละเอียด รวมถึงสิง่ ต่างๆที่เกี่ยวข้องใน
แต่ละขัน้ ตอน พิจารณาจากปัจจัยเข้า (Input) และปัจจัยออก (Output) เพื่อจะ
ได้ทราบปัญหาสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึ้นในกระบวนการนั้นๆ
วัตถุดิบ
สาธารณู ปโภค
การจัดส่ง/การจัดเก็บ
กระบวนการ/กิจกรรม
การกระจาย/การขนส่ง
ผลิตภัณฑ์ , บริการที่ได้
ของเสีย
7
การสมดุลมวลสาร : Mass Balance
มวลสารเข้า = มวลสารออก
วัตถุดิบ
สารเร่ง
ไฟฟ้ า เชื้อเพลิง
น้ า / อากาศ
หน่ วยดาเนิ นงาน
ทรัพยากร
การปล่อยก๊าซ
ของเสียใช้ไม่ได้
ขยะแข็ง
ขยะเหลว
น้ าเสีย
กลับมาใช้ใหม่
ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์ย่อย
8
ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
ลัก ษณะปัญ หาที่ ช้ ี บ่ ง ขึ้ นภายในแผนภู มิ ด าเนิ น งานจะจัด เข้า สู่ ต าราง
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ช้ ี บ่งจะจัดลงในตารางของกลุ่มผลกระทบด้านมลพิษและ
ด้านการใช้ทรัพยากร
ผลกระทบ
ผลกระทบด้านมลพิษ
ผลกระทบด้าน
การใช้ทรัพยากร
โดยตรง
อากาศ
น้ า
ดิน
เสียงและความราคาญ
พลังงาน
น้ า
วัสดุ เชื้อเพลิง
โดยอ้อม
ผลกระทบมลพิษของ
ผูข้ ายและลูกค้า
การใช้ทรัพยากรโดย
ผูข้ ายหรือผูซ้ ้ อื
9
ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม
การพิจารณามลพิษแบ่งกลุม่ ได้ดงั นี้
แนวผ่าน
แหล่ง
(ลักษณะปัญหา)
เป้ าหมาย
(ผลกระทบ)
แหล่งมลพิษ คือ สารใดๆที่อาจก่ออันตรายต่อ ความปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
เป้ าหมาย คือ แหล่งสุดท้ายของมลพิษ เช่น อากาศ,แม่น้ า,น้ าใต้ดิน,ทางระบายน้ า,พื้นดิน
เกษตร
แนวผ่าน คือ เป็ นแนวที่มลพิษผ่านจากแหล่งสูเ่ ป้ าหมาย
10
การระบุนยั สาคัญของปัญหาสิง่ แวดล้อม
การระบุนยั สาคัญของปัญหาสิง่ แวดล้อม
จาแนกเป็ น 3 ระดับตามเกณฑ์คะแนนรวม ดังต่อไปนี้
ปัญหาสิง่ แวดล้อม
- มลภาวะ (Pollution) ทางตรง
- มลภาวะ (Pollution) ทางอ้อม
- การใช้ทรัพยากร (Resource Usage) ทางตรง
- การใช้ทรัพยากร (Resource Usage) ทางอ้อม
ระดับนัยสาคัญ
Low Medium
High
24 – 73
28 – 81
12-33
16-44
74 – 147
82 – 171
34-65
45-87
มากกว่า 148
มากกว่า 172
มากกว่า 65
มากกว่า 87
11
การระบุนยั สาคัญของปัญหาสิง่ แวดล้อม
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
ด้านมลภาวะทางตรง (POLLUTION – DIRECT CONTROL)
การคานวณคะแนน = (L1+L2+L3+L4+L5+L6) X (C1+C2+C3+C4)
ด้านมลภาวะทางอ้อม (POLLUTION – INDIRECT CONTROL)
การคานวณคะแนน = (L1+L2+L3+L4+L5+L6+L7) X (C1+C2+C3+C4)
L คือ โอกาสการเกิด (Likelihood)
C คือ ความรุนแรงที่เกิดขึ้น (Consequence)
12
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
โอกาสที่จะเกิด(Likelihood)
ระเบียบคู่มือการปฏิบตั งิ าน (L1)
- มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิงครบถ้วน
- มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิงเพียงบางส่วน
- ไม่มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิง
การฝึ กอบรม (L2)
- พนักงานทุกคนที่ปฏิบตั งิ านได้รบั การฝึ กอบรม
- พนักงานจานวน 40%ของทัง้ หมดที่ปฏิบตั งิ านได้รบั การฝึ กอบรม
- พนักงานจานวนตา่ กว่า 40%ของทัง้ หมดที่ปฏิบตั งิ านดังกล่าวไม่ได้
รับการฝึ กอบรม
คะแนน
1
2
3
1
2
3
13
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
โอกาสที่จะเกิด(Likelihood)
การดูแลบารุงรักษา (L3)
•ในกรณี ท่ไี ม่มเี ครื่องมือ, เครื่องจักร, อุปกรณ์ เกีย่ วข้องในกิจกรรมนัน้ ๆ
ให้ทาการประเมินคะแนนในระดับ 1
- มีแผนการดูแลบารุงรักษาเชิงป้ องกันเครื่องมือ, เครื่องจักร, อุปกรณ์
และมีการปฏิบตั ไิ ด้ครบถ้วนตามแผนที่กาหนดไว้
- มีแผนการดูแลบารุงรักษาเชิงป้ องกันเครื่องมือ, เครื่องจักร, อุปกรณ์
เพียงบางส่วน หรือมีการปฏิบตั ไิ ม่ครบถ้วนตามแผนที่กาหนดไว้
- ไม่มีการกาหนดแผนการดูรกั ษาบารุงรักษาเชิงป้ องกัน
เครื่องมือ, เครื่องจักร, อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องใดๆ
คะแนน
1
2
3
14
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
โอกาสที่จะเกิด(Likelihood)
การกักเก็บ การป้ องกันการรัว่ ไหล แพร่กระจาย (L4)
- มีระบบการป้ องกันการรัว่ ไหล แพร่กระจายได้ทง้ั หมด
- มีระบบการป้ องการรัว่ ไหล แพร่กระจายได้เพียงบางส่วน
- ไม่มีระบบป้ องกันการรัว่ ไหล แพร่กระจายใดๆ
ความถี่ของกิจกรรม (L5)
- ไม่เคยเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึ้นเลยหรือเกิดขึ้นน้อยมาก
(ไม่เกิน 1 ครัง้ /ปี )
- เกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึ้นบ้างพอสมควร(ประมาณ 1 ครัง้ /เดือน
- เกิดขึ้นเป็ นประจา(มากกว่า 2 ครัง้ /สัปดาห์)
คะแนน
1
2
3
1
2
3
15
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
โอกาสที่จะเกิด(Likelihood)
คะแนน
ข้อร้องเรียน (L6)
- ไม่เคยมีขอ้ ร้องเรียนทัง้ จากภายนอก และภายในเข้ามา
- มีขอ้ ร้องเรียนจากภายนอก หรือภายในไม่เกิน 1 ครัง้ ในรอบ 3 ปี
- มีขอ้ ร้องเรียนจากภายนอก หรือภายในเกิน 1 ครัง้ ในรอบ 3 ปี
1
2
3
การควบคุม / ผลักดันผูร้ บั เหมาในการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของบริษทั
และ ข้อกาหนด ISO 14001 (L7)
- ผูร้ บั เหมาสามารถปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของบริษทั ได้ครบถ้วน
- ผูร้ บั เหมาสามารถปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของบริษทั ได้บางส่วน
- ผูร้ บั เหมาไม่สามารถปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดของบริษทั ได้
1
2
3
16
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
ความรุนแรงที่เกิดขึ้น (Consequence)
คะแนน
บทบัญญัตขิ องกฎหมาย (C1)
1
- ไม่มีกฎหมาย หรือข้อกาหนดอืน่ ๆ ที่ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกล่าว
2
- มีแนวโน้มที่จะมีกฎหมาย ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นในอนาคต
3
- มีกฎหมาย หรือข้อกาหนดอืน่ ๆ ที่ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน
ระดับความอันตราย (C2)
- ไม่มีอนั ตราย หรือมีผลกระทบใดๆ เล็กน้อยต่อสิง่ แวดล้อม
- มี / อาจมีอนั ตราย หรือมีผลกระทบบางอย่าง ต่อสิง่ แวดล้อม
- มีอนั ตรายถึงทุพพลภาพ สิ้นชีวิต หรือมีผลกระทบ
ต่อสิง่ แวดล้อมมาก
1
2
3
17
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านมลภาวะ (Pollution)
ความรุนแรงที่เกิดขึ้น(Consequence)
คะแนน
ความสามารถในการฟื้ นฟู (C3)
1
- สามารถฟื้ นฟูได้เองตามธรรมชาติ หรือใช้เวลาบาบัดไม่นานเกิน 3 เดือน
2
- สามารถฟื้ นฟูได้โดยใช้เวลาซ่อมแซม / ฟื้ นฟู3 เดือน –1 ปี
3
- ไม่สามารถฟื้ นฟูได้เลย หรือต้องใช้เวลาเกินกว่า 1 ปี
ในการซ่อมแซม / ฟื้ นฟู
ระดับของผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียง (C 4)
1
- ไม่สง่ ผลกระทบ หรือส่งผลกระทบเฉพาะภายในบริษทั
2
- ส่งผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบบริเวณบริษทั (รัศมีไม่เกิน 1 กม.)
3
- ส่งผลกระทบต่อชุมชนทัว่ ไป หรือก่อความเสียหายบริเวณกว้าง(รัศมีเกิน
1 กม.ขึ้นไป)
18
การระบุนยั สาคัญของปัญหาสิง่ แวดล้อม
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
ด้านการใช้ทรัพยากรทางตรง (RESOURCE USE – DIRECT CONTROL)
การคานวณคะแนน = (L1+L2+L3) x (C1+C2+C3+C4)
ด้านการใช้ทรัพยากรทางอ้อม (RESOURCE USE – INDIRECT CONTROL)
การคานวณคะแนน = (L1+L2+L3+L4) x (C1+C2+C3+C4)
L คือ โอกาสการเกิด (Likelihood)
C คือ ความรุนแรงที่เกิดขึ้น (Consequence)
19
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
โอกาสการเกิด (Likelihood)
ระเบียบคู่มือการปฏิบตั งิ าน (L1)
- มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิงครบถ้วน
- มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิงเพียงบางส่วน
- ไม่มีคู่มือการปฏิบตั งิ านควบคุม / อ้างอิง
การฝึ กอบรม (L2)
- พนักงานทุกคนที่ปฏิบตั งิ านได้รบั การฝึ กอบรม
- พนักงานจานวน 40%ของทัง้ หมดที่ปฏิบตั งิ านได้รบั การฝึ กอบรม
- พนักงานจานวนตา่ กว่า 40%ของทัง้ หมดที่ปฏิบตั งิ านดังกล่าว
ไม่ได้รบั การฝึ กอบรม
คะแนน
1
2
3
1
2
3
20
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
โอกาสการเกิด (Likelihood)
คะแนน
การดูแลบารุงรักษา (L3)
ในกรณี ท่ไี ม่เครื่องมือ, เครื่องจักร, อุปกรณ์ เกีย่ วข้องในกิจกรรม
นัน้ ๆ ให้ทาการประเมินคะแนนในระดับ 1
- มีแผนการดูแลบารุงรักษาเชิงป้ องกันเครื่องมือ, เครื่องจักร,
1
อุปกรณ์ และมีการปฏิบตั ไิ ด้ครบถ้วนตามแผนที่กาหนดไว้
- มีแผนการดูแลบารุงรักษาเชิงป้ องกันเครื่องมือ, เครื่องจักร,
2
อุปกรณ์ เพียงบางส่วน หรือมีการปฏิบตั ไิ ม่ครบถ้วนตามแผนที่
กาหนดไว้
- ไม่มีการกาหนดแผนการดูรกั ษาบารุงรักษาเชิงป้ องกัน เครื่องมือ,
3
เครื่องจักร, อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องใดๆ
21
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
โอกาสการเกิด (Likelihood)
การควบคุม / ผลักดันผูร้ บั เหมาในการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของ
บริษทั และ ข้อกาหนด ISO 14001(L4)
- ผูร้ บั เหมาสามารถปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของบริษทั ได้ครบถ้วน
- ผูร้ บั เหมาสามารถปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของบริษทั ได้บางส่วน
- ผูร้ บั เหมาไม่สามารถปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดของบริษทั
คะแนน
1
2
3
22
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
ความรุนแรงที่เกิดขึ้น(Consequence)
คะแนน
บทบัญญัตขิ องกฎหมาย (C1)
1
- ไม่มีกฎหมาย หรือข้อกาหนดอืน่ ๆ ที่ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นดังกล่าว
2
- มีแนวโน้มที่จะมีกฎหมาย ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นในอนาคต
3
- มีกฎหมาย หรือข้อกาหนดอืน่ ๆ ที่ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน
การสร้างทรัพยากรใหม่มาทดแทน (C2)
(ทรัพยากร หมายถึง ทรัพยากรที่ใช้ในกิจกรรมที่ทาการประเมิน)
- เป็ นทรัพยากรที่สามารถสร้างใหม่ทดแทนได้ภายในระยะเวลา 1 ปี
- เป็ นทรัพยากรที่สามารถสร้างใหม่มาทดแทนได้โดยใช้เวลาเกิน 1 ปี
- เป็ นทรัพยากรที่ไม่สามารถสร้างใหม่มาทดแทนได้
1
2
3
23
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
ความรุนแรงที่เกิดขึ้น(Consequence)
คะแนน
การนากับมาใช้ซ้า / การนากับมาใช้ใหม่ (C3)
(ทรัพยากร หมายถึง ทรัพยากรที่ใช้ในกิจกรรมที่ทาการประเมิน)
1
- สามารถนาทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า / การนากลับมาใช้ใหม่ได้มากกว่า
50% ของปริมาณทัง้ หมด
- สามารถนาทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า / การนากลับมาใช้ใหม่ได้ตา่ กว่า 50%
2
ของปริมาณทัง้ หมด
- ไม่สามารถนาทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า / การนากลับมาใช้ใหม่ได้อกี
3
24
เกณฑ์การประเมินนัยสาคัญของลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม
ด้านทรัพยากร (Resource Usage)
ความรุนแรงที่เกิดขึ้น(Consequence)
คะแนน
ระดับของผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียง (C 4)
1
- ส่งผลกระทบภายในบริษทั
2
- ส่งผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบบริเวณบริษทั (รัศมีไม่เกิน 1 กม.)
3
- ส่งผลกระทบต่อชุมชนทัว่ ไป หรือก่อความเสียหายบริเวณกว้าง(รัศมีเกิน
1 กม.ขึ้นไป)
25
ลักษณะการหาปัญหาสิง่ แวดล้อมโดยใช้ผงั การผลิต ( Process Flow Diagram )
ตัวอย่าง 1 แผนกซ่อมบารุง
* เครื่ องจักรที่จะซ่อม
* น้ ำมันหกหล่น
* ยำงรถ
* อุปกรณ์ซ่อมอื่นๆ
* ไฟฟ้ ำ
กำรซ่อมบำรุ ง
เครื่ องจักรที่ซ่อมแล้ว
ปัญหาสิง่ แวดล้อม
* นา้ มันหล่อลืน่ ทีใ่ ช้แล้ว
* ยางรถบรรทุก
* แบตเตอรี่ใช้แล ้ว
* เศษเหล็กต่างๆ
* เศษสายไฟ
* เสียง
* ฝุ่น
26
ลักษณะการหาปัญหาสิง่ แวดล้อมโดยใช้ผงั การผลิต ( Process Flow Diagram )
ตัวอย่าง 2 บ้านพักอาศัยของพนักงาน
* อำหำร
* น้ ำ
* ไฟฟ้ ำ
การพักอาศัยในบ้านพัก
พนักงาน
ลักษณะปัญหาสิ่ งแวดล้อม
* เศษขยะทัว่ ไป
* เศษอำหำร
* สิ่ งปฏิกลู
* น้ ำมันและไข
* น้ ำล้ำงภำชนะ น้ ำชำระร่ ำงกำย
27
ลักษณะการหาปัญหาสิง่ แวดล้อมโดยใช้ผงั การผลิต ( Process Flow Diagram )
ตัวอย่าง 3 สานักงาน
* อุปกรณ์สำนักงำน
* ไฟฟ้ ำ
* น้ ำ
งานสานักงาน
ลักษณะปั ญหำสิ่ งแวดล้อม
* เศษขยะทัว่ ไป
* น้ ำทิ้ง
* สิ่ งปฏิกลู
* CFC
* หลอดไฟใช้แล้ว
ฯลฯ
28
ลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อม - การเชื่อมโยงกับข้อกาหนดต่าง ๆ
* 4.3.3
วัตปุ ระสงค์ เป้ าหมาย
และโครงการสิง่ แวดล้อม
ทบทวนนโยบาย
เพื่อการปรับปรุง
4.5.5
* 4.3.2
* 4.4.2
การฝึ กอบรม ความตระหนัก
และความสามารถ
กฎหมายและ
ข้อกาหนดอืน่ ๆ
4.3.1
ลักษณะปัญหาและผลกระทบ
ต่อสิง่ แวดล้อม
4.4.3
การสือ่ สาร
* 4.4.6
การควบคุมดาเนิ นการ
การตรวจประเมินภายใน
* 4.5.1
การติดตามและ
ตรวจวัด
* 4.5.7
การเตรียม
ภาวะฉุกเฉิ น
29
การชี้บ่งและประเมินผลกระทบ
ขัน้ ตอนที่ 1
กาหนดขอบเขต
ขัน้ ตอนที่ 2
ชี้บ่งลักษณะปัญหา
ขัน้ ตอนที่ 3
ชี้บ่งผลกระทบ
ขัน้ ตอนที่ 4
ประเมินผลกระทบ
ขัน้ ตอนที่ 5
ทาทะเบียนลักษณะ
ปัญหาสิง่ แวดล ้อมทีส่ าคัญ
30
การชี้บ่งและประเมินผลกระทบ
ข้อพิจารณา





ครอบคลุมหมด
เวลาเป้ าหมาย
การเปลีย่ นแปลง
ความถูกต้อง
ความยากง่ายในการเข้าใจ
31
32