คลิกดาวน์โหลด 2

Download Report

Transcript คลิกดาวน์โหลด 2

นายเดชา หาชา
คร ูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
รนุ่ ที่ 1/2547
0895696869
ประวัติการศึกษาอบรม
ครูฝึกคนส้ ู ไฟ
ครู ฝึกและเป็ นกู้ชีพ,กู้ภยั otos ของประเทศ
ครู ฝึกสารเคมี,วัตถุอนั ตราย
ครู ฝึกกู้ภยั ทางนา้
ครู ฝึกแผ่ นดินไหว,ตึกถล่ ม
ความรู้ เบือ้ งต้ น
เกีย่ วกับสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
คาจากัดความ
• วัตถุอนั ตราย
• ยุทธภัณฑ์
• สารเคมี
• สารเคมีอนั ตราย
ลักษณะชี้บ่งของสารเคมี
• ชื่อสารเคมี , ชื่อทางการค้า
• ประเภทสารเคมี (UN class)
• หมายเลขสหประชาชาติ (UN number)
• ชนิดของสารเคมี (CAS number)
• ความรุนแรงของสารอันตราย (NFPA)
• ข้อปฏิบตั ิเมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉิน (Guide Number)
การจาแนกวัตถุอนั ตราย
• วัตถุอนั ตราย หมายถึง สาร สิง่ ของ วัตถุ หรือ
วัสดุใดๆ ทีอ่ าจเกิดอันตรายต่อสุขภาพ และความ
ปลอดภัยของคน สัตว์ ทรัพย์สิน หรือสิง่ แวดล้อม
• จาแนกเป็ น 9 ประเภทตามเอกสารคาแนะนาของ
องค์การสหประชาชาติ ดังนี้
ประเภทที่
1 วัต ถุ ร ะเบิ ด
(Explosives)
ของแข็ ง หรื อ ของเหลว หรื อ สารผสมที่ ส ามารถ
เกิดปฏิกิริยาทางเคมีด้วยตัวเองทาให้ เกิดก๊าซที่มีความ
ดันและความร้ อนอย่ างรวดเร็ว ก่อให้ เกิดการระเบิด
สร้ างความเสียหายบริเวณโดยรอบได้ และให้ รวมถึงสาร
ที่ใช้ ทาดอกไม้ เพลิง และสิ่งของที่ระเบิดได้ ด้วย
• ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases)
– สารทีอ่ ุณหภูมิ 50 oC มีความดันไอมากกว่า 300 Kpa
– หรือมีสภาพเป็ นก๊าซอย่างสมบู รณ์ทีอ่ ุณหภูมิ 20oC และ
มีความดัน 101.3 Kpa
2.1 ก๊าซไวไฟ หมายถึง ก๊าซที่อุณหภูมิ 20 oC และมีความดัน
101.3 Kpa สามารถติดไฟได้เมือ่ ผสมกับอากาศ 13% หรือตา่
กว่า โดยปริมาตร หรือมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12% ขึ้ น
ไปเมื่อผสมกับอากาศโดยไม่คานึงถึงความเข้มข้นตา่ สุดของ
การผสม
2.2 ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็ นพิษ
ก๊าซที่ขณะขนส่งมีความดันไม่นอ้ ยกว่ า 280 Kpa
อุณหภูมิ 20 oC หรืออยู่ในสภาพของเหลวอุณหภูมิตา่
ที่
2.3 ก๊าซพิษ หมายถึง ก๊าซที่มี
คุณสมบัติเป็ นที่ทราบกันทั่วไป
หรือได้ มีการสรุปว่าเป็ นพิษหรือ
กัดกร่อนหรือเป็ นอันตรายต่อ
สุขภาพ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ
• ของเหลวหรือของเหลวผสมหรือของเหลวทีม่ ีสารแขวนลอยผสม ทีม่ ีจุดวาบ
ไม่เกิน 60.5 oC กรณีทดสอบด้วยวิธีถว้ ยปิ ด
•หรือไม่เกิน 65.6oC กรณีทดสอบด้วยวิธีถว้ ยเปิ ด
•ไอของของเหลวไวไฟพร้อมลุกติดไฟ เมือ่ มีแหล่งประกายไฟ
•ของเหลวทีข่ ณะขนส่งถูกทาให้มีอุณหภูมิเท่ากับหรือมากกว่าจุ ดวาบไฟ
ของเหลวนั้น
ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ
ของแข็งทีร่ ะหว่างทาการขนส่งสามารถทีจ่ ะติดไฟได้ง่าย หรือ
อาจทาให้เกิดการลุกไหม้ขึ้นได้จากการเสียดสี
4.2 สารทีม่ ีความเสีย่ งต่อการลุกไหม้ได้เอง
สารทีม่ ีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้ นได้เองในสภาวะการขนส่ง
ตามปกติหรือเกิดความร้อนสูงขึ้ นได้เมือ่ สัมผัสกับอากาศและมี
แนวโน้มทีจ่ ะลุกไหม้ได้
สารทีส่ มั ผัสกับน้ าแล้วทาให้เกิดก๊าซไวไฟ
สารทีท่ าปฏิกิริยากับน้ าแล้วมีแนวโน้มทีจ่ ะ
เกิดการติดไฟได้เอง หรือทาให้เกิดก๊าซไวไฟใน
ปริมาณทีเ่ ป็ นอันตราย
4.3
ประเภทที่ 5
5.1 สารออกซิไดส์
สารที่ ต ัว ของสารเองอาจไม่ ติ ด ไฟโดยทัว่ ไปจะปล่ อ ย
ออกซิเจนหรือเป็ นเหตุหรือช่วยให้วตั ถุอื่นเกิดการลุกไหม้
ประเภทที่ 6
6.1 สารพิษ หมายถึง สารที่มี
แนวโน้ มจะทาให้ เสียชีวิต หรือ
บาดเจ็บรุนแรง หรือเป็ นอันตราย
ต่อสุขภาพหากกลืน หรือสูดดม
หรือสัมผัสทางผิวหนัง
6.2 สารติดเชื้อ
สารที่ทราบว่าหรือคาดว่ามี
เชื้อโรคปนอยู่ด้วย เชื้อโรค
คือ จุลินทรีย์
(แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ เชื้อรา)
หรื อ จุ ลิ น ท รี ย์ ที่ เกิ ด ขึ้ นใหม่ หรื อ เกิ ด จ าก ก าร
เปลี่ยนแปลงทางพั นธุกรรม ซึ่ งรู้กันโดยทั่วไปหรื อ มี
ข้ อสรุปที่เชื่อถือได้ ว่าเป็ นเหตุให้ เกิดโรคต่ อกับมนุษย์
หรือสัตว์
ประเภทที่ 7 วัตถุกมั มันตรังสี
วั ต ถุ ท่ี ส ามารถแผ่ รั ง สี ท่ี ม องไม่ เ ห็ น ซึ่ ง เป็ น
อันตรายต่อร่างกาย
ประเภทที่ 8 สารกัดกร่อน
สารซึ่งโดยปฏิกิริยาเคมีจะก่อให้ เกิดความเสียหายต่ อเนื้อเยื่อ
ของสิ่งมีชีวิตอย่างรุนแรง หรือกรณีของการรั่วจะเกิด ค ว า ม
เสีย หาย หรื อ ทาลายสิ่ง ของอื่น หรื อ ยานพาหนะที่ใ ช้ ใ นการ
ขนส่ง หรือเกิดอันตรายอื่นได้ ด้วย
ประเภทที่ 9 วัตถุอนั ตรายเบ็ดเตล็ด
สารและสิ่งของที่ในขณะขนส่งมี
ความเป็ นอันตราย ซึ่งไม่จัดอยู่ใน
ประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8
ระเบิด
Explosive
หลีกเลีย่ งความ
ร้อน การชน เสียด
สี สปาร์ค
Xn Harmful
Xi Irritant
เลีย่ งการสัมผัสผิวหนัง
และไอ สารนี้อาจมีผล
ต่อพันธุกรรม
T+
T
Very Toxic
Toxic
เลีย่ งการสัมผัสผิวหนัง
และไอ สารนี้อาจเป็ นสาร
ก่อมะเร็ง อาจทาให้เป็ น
หมัน
C
Corrosive
เลีย่ งการสัมผัสผิวหนัง ตา
อย่าสูดหายใจเข้าไป
O Oxidizing
เลีย่ งการสัมผัสสารไวไฟ
เสีย่ งต่อการติดไฟ
ดับไฟได้ยาก
เก็บห่างจากแหล่งความร้อน
ลูกไฟ และเปลวไฟ
F+ Extremely Flammable
F
Easily Flammable
N
Dangerous for the environment
ห้ามเททิ้งลงดิน
ทิ้งในที่เก็บที่เหมาะสม
Fire Hazards Flash points
Health Hazards
4 - Deadly
3 - Extreme danger
2 - Hazardous
1 - Slightly hazardous
0 - Normal material
Specific hazardous
OXY
ACID
ALC
COR
W
oxidizer
Acid
Alkaline
Corrosive
No water
4 - < 23 o C
3 - < 38 o C
2 - < 93 o C
1 - > 93 o C
0 - will not burn
4
2
3
W
Reactivity
4 - May detonate
3 - Shock & heat may detonate
2 - Violent chemical
1 - Unstable if heated
0 - Stable
National Fire Protection Association
ฉลาก NFPA 704
เป็ นระบบของ National Fire Protection Agency ประเทศสหรัฐอเมริ กา
ได้จดั ระดับความรุ นแรงของวัตถุอนั ตรายโดยใช้สีและตัวเลขเป็ นส่ อ
บนฉลาก
สี แดง = อันตรายจากการเกิดเพลิงไหม้
สี น้ าเงิน = อันตรายต่อสุ ขภาพ
4 = อันตรายสูงสุ ด
3 = อันตรายรองจาก 4
2 = อันตรายรองจาก 3
4 = ไม่อนั ตรายในด้านนั้น
ๆ
สี เหลอง = อันตรายต่อการเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
สี ขาว = อันตรายด้านอ่น (เป็ นลักษณะเฉพาะของเคมี
.
ชนิดนั้น เช่น ห้ามใช้กบั น้ า)
เอกสารกากับการขนส่ง
 ชือ่ ที่อยู่ผูส้ ่ง
 ชือ่ ที่อยู่ผูร้ บั
 ชือ่ บริษทั ที่ขนส่ง
 ประเภทและความเป็ นอันตราย
 หมายเลขสหประชาชาติ (UN/NA number)
 ปริมาณการขนส่ง
 ข้อมูลการระงับเหตุเบื้องต้นและเบอร์โทรศัพท์
ฉุกเฉิน 24 ชัว่ โมง
อันตรายจากสารเคมี
• ร่างกาย
• สวัสดิภาพ
• องค์กร
• ประเทศ
การเข้ าสู่ ร่างกายและผลกระทบ
• หายใจ
• ดูดซึมผ่านผิวหนัง หรือ ตา
• การกินเข้าไป
• การฉีดเข้าร่างกาย
การจัดการภัยจากสารเคมี
• ก่อนเกิดภัย
• ขณะเกิดภัย
• หลังเกิดภัย
บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้ องกับสารเคมี
• เจ้าหน้าทีด่ า้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย
• ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสารเคมี
• พนักงานฝ่ ายปกครองและตารวจ
• อปพร.
• ประชาชน
การปฏิบัตเิ มือ่ ประสบเหตุ
1. อยู่ให้ ห่างทีเ่ กิดเหตุ เหนือลม เมื่อไม่ ทราบแน่ ชัดว่ าเป็ นเคมีชนิดใด
2. พิจารณารายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้ อง
- ประเภทของรถบรรทุกและภาชนะบรรจุสารเคมี
- สั ญลักษณ์ หรือป้ายแสดงชนิดของสารเคมี
- ชื่อของบริษัทที่ขนส่ ง และหมายเลขโทรศัพท์
- สภาพของภัย ร่ องรอยหลักฐาน
3. กั้นเขตอันตรายเบือ้ งต้ น 75 เมตร
การแจ้งเหตุฉุกเฉิ น
• ผูร้ บั ผิดชอบพื้ นที่
199,191,1669
• กรมควบคุมมลพิษ
1650
• กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1784
คาถามหรือข้ อเสนอแนะ
ขอบคุณ