No Slide Title

Download Report

Transcript No Slide Title

ความร้ ู พนื ้ ฐาน
ทางคอมพิวเตอร์
ตอน 1
1
คอมพิวเตอร์ และวิวัฒนาการ
COMPUTER
มีความหมายว่ าผู้คานวณ (คณิตกรณ์ )
คือ อุปกรณ์ ท่ สี ามารถคิดเลข
บวก ลบ คูณ หาร ได้
2
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.1 3000 ปี ก่ อนคริสต์ ศตวรรษ (3000 B.C.)
ลูกคิดได้ ถูกคิดค้ นโดยชาวจีนใช้ ช่วยในการ
คานวณ เช่ น การบวก ลบ คูณ หาร ให้
สะดวกรวดเร็วยิ่งขึน้
3
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.2 ค.ศ. 1623 – 1662
เครื่องจักรบวกเลขปาสคาล โดย เบล์ ส
ปาสคาล (Blaise Pascal) นักวิทยาศาสตร์ ชาว
ฝรั่งเศส) ได้ สร้ างเครื่องจักรอัตโนมัติเครื่องแรกที่
สามารถทาการคานวณเพือ่ ใช้ ทาการบวกเลข ซึ่งมี
ลักษณะฟันเฟื องหมุนทีส่ ลับซับซ้ อน
4
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.3 ค.ศ. 1801 เครื่ องทอผ้ าอัตโนมัติ
นักประดิษฐ์ ชาวฝรั่งเศส ชื่อ แจ็คการ์ ด (Joseph–
Marie Jacquard) ได้ ประดิษฐ์ เครื่องทอผ้ าอัตโนมัติ ซึ่ง
รับคาสั่ งจากบัตรเจาะรู ทรี่ ะบุลายในการทอ นับว่ าเป็ น
อุปกรณ์ เครื่องแรกทีม่ ลี กั ษณะการทางานอัตโนมัติเชิง
เลขฐานสอง (binary automation)
5
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.4 ค.ศ. 1842
นักคณิตศาสตร์ ชาวอังกฤษ ชื่อ แบบเบจ (Charles Babbage) ได้
สร้ างเครื่องดิฟเฟอเรนท์ เอ็นจิน (Difference Engine) โดยใช้ พลังงาน
จากไอนา้ ซึ่งสามารถคานวณเลขได้ อย่ างอัตโนมัติ และได้ ออกแบบ
เครื่องจักรชื่อ อนาลายติคลั เอ็นจิน (Analytical Engine) ซึ่งมีลกั ษณะ
พืน้ ฐานเหมือนกับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน
แบบเบจ จึงได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นบิดาแห่ ง
คอมพิวเตอร์
6
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.5 ค.ศ. 1816 – 1852
นักปราชญ์ ชื่อเอด้ า (Lady Ada Augusta
Lovelace) ได้ เสนอแนะการนาบัตรเจาะรูใช้ สั่งงาน
เครื่องจักรของแบบเบจ เพือ่ ให้ สามารถทางานได้ มี
ประสิ ทธิภาพสู งขึน้ เอด้ าได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ น
โปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก
7
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.6 ค.ศ. 1890
ฮอลเลอริท (Herman Hollerith) นักสถิตชิ าวอเมริกนั ได้ สร้ างบัตรเจาะรู
และเครื่องนับ (tabulating machine) ใช้ อ่านรหัสทีเ่ จาะแทนตัวเลข เพือ่ นาไปใช้ ใน
การประมวลผลการสามะโนประชากรทาให้ สามารถลดเวลาการประมวลผลลงจากเดิม
ใช้ เวลาประมวลผล 24 เดือนเหลือเพียง 3 เดือน ซึ่งต่ อมาฮอลเลอริทได้ ก่อตั้งบริษัท
ผลิตและจาหน่ ายอุปกรณ์ ประมวลผลด้ วยบัตรเจาะรู ชื่อบริษัท IBM (International
Business Machines Corporation)
ฮอลเลอริทได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นบิดาแห่ งการประมวลผลสารสนเทศ
(father of information processing)
8
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.7 ค.ศ. 1944
นักวิทยาศาสตร์ ชาวอเมริกนั ชื่อ ไอเคน
นักสถิติชาวอเมริกนั
(Howard Aiken) แห่ งมหาวิทยาลัย ฮาร์ วาร์ ด ได้ ศึกษา
แนวคิดของแบบเบจ และได้
เงินสนั
นักสถิตริชับ
าวอเมริ
กนั บสนุนการวิจัยจาก
บริษัท IBM และได้ สร้ างเครื่อง MARK I ซึ่งมีลกั ษณะเป็ น
เครื่องจักรกลที่ใช้ พลังงานจากไฟฟ้า (electro mechanical)
เพือ่ ทาการคานวณอัตโนมัติ
9
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
1.8 ค.ศ. 1946
นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริ กนั ชื่อ มอชลี (John W. Mauchly) และ
เอคเคอร์ด (J. Presper Eckert) ได้สร้างเครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ ชื่อ
ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Computer) มีความเร็ ว
บวกเลข 5000 ครั้งต่อนาที และคูณเลข 500 ครั้งต่อนาที โดยมีการ
ทางานด้วยเลขฐานสิ บส่ วนประกอบหลักของ ENIAC คือ หลอด
สูญญากาศ จานวน 18,000 ตัว
10
1. จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1944 ASCC
(Automatic Sequence Controlled Calculator)
โฮเวิร์ด ไอเคน (Howard Aiken)
MARK I
11
จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1949 EDVAC Electronic Discrete
Variable Automatic Computer
จอห์ น ฟอน นิวแมน (John Von Neumann)
EDVAC
12
จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ค.ศ. 1951 UNIVAC I
Universal Automatic Computer
John Mauchly & Prespert Ackert
UNIVAC I
13
จุดกาเนิดของคอมพิวเตอร์
ค.ศ 1952
I.A.S
ดร.จอห์ น ฟอน นิวแมน
14
2. ยุคของเครื่ องคอมพิวเตอร์
2.1 ยุคที่ 1 ค.ศ.1951 – 1959
ฮาร์ ดแวร์ ยุคหลอดสูญญากาศ (vacuum tubes)
ซอฟต์ แวร์ Machine Language, Assembly
เครื่องแรก UNIVAC, อื่น ๆ IBM 650, IBM 701,
MARK II
ความเร็ว 1/1,000 วินาที
15
2. ยุคของเครื่ องคอมพิวเตอร์
2.2 ยุคที่ 2 ค.ศ. 1959-1964 ยุคทรานซิสเตอร์
ฮาร์ ดแวร์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง
ใช้ วงจรทรานซิสเตอร์ (transistors)
มีการใช้ จานแม่ เหล็กเก็บสารองข้ อมูล
ซอฟต์ แวร์ ภาษาระดับสูง FORTRAN, COBOL
ชื่อเครื่ อง Honey well 400, Burroughs, IBM 1620
ความเร็ว
1/1,000,000 วินาที
16
2. ยุคของเครื่ องคอมพิวเตอร์
2.3 ยุคที่ 3 ค.ศ.1965-1970 ยุค IC
ฮาร์ ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง
ใช้ วงจรไอซี IC (Integrated Circuit)
ซอฟต์ แวร์ ภาษา BASIC, PL/1, RPG
ชื่อเครื่อง IBM 360 , UNIVAC 9400, CDC 3200
17
2. ยุคของเครื่ องคอมพิวเตอร์
2.4 ยุคที่ 4 ค.ศ. 1971 – ปั จจุบัน วงจรรวมขนาดใหญ่
ฮาร์ ดแวร์ เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีขนาดเล็กลง การรวม IC
LSI (Large Scale Integration), VLSI
ซอฟต์ แวร์ ภาษา BASIC, PASCAL, C, JAVA
OS ได้ แก่ DOS, Windows, OS/2, LINUX,
UNIX , Solaris
ชื่อเครื่ อง IBM 370. SUN
18
3. คุณสมบัตคิ อมพิวเตอร์
3.1 ข้ อดี
ความเร็ว (speed)
ความถูกต้ องแม่ นยา (accuracy)
ความเชื่อถือได้ (reliability)
ความรอบรู้หลายด้ าน (versatility)
ความซื่อตรงต่ อคาสั่ง (faithfulness)
19
3. คุณสมบัตคิ อมพิวเตอร์
ความสามารถในการเก็บข้ อมูลจานวนมาก
(store massive amounts of information)
เคลื่อนย้ ายข้ อมูลได้ อย่ างรวดเร็ว
(move information quickly)
20
3.2 ข้ อจากัด
ผลกระทบบางอย่ างของคอมพิวเตอร์
• ผลิตจากวัสดุท่ มี ีอันตรายต่ อสิ่งแวดล้ อม
• ความเจ็บป่ วยที่เกิดจากการใช้ คอมพิวเตอร์
• การฝั กใฝ่ กับซอฟต์ แวร์ เกมส์
21
ตอนที่ 2.2 ประเภทคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ ท่ แี บ่ งตามขนาดของเครื่อง
แบ่ งได้ 4 ประเภท
• ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ supercomputer
• เมนเฟรม Mainframe
• คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก Minicomputer
• ไมโครคอมพิวเตอร์ Microcomputer
22
ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ supercomputer
• มีประสิทธิภาพสูงสุด
• หน่ วยความจาขนาดใหญ่ มาก
• เวลาที่ใช้ ในการประมวลผลเป็ นไปอย่ างรวดเร็ ว
• สามารถทางานกับข้ อ มูลจานวนมหาศาล
• ราคาแพงมาก
23
เมนเฟรม Mainframe
• ใช้ ข้อมูลร่ วมกันเป็ นประจาและเป็ นจานวนมาก
• ข้ อมูลเหล่ านีถ้ ูกเก็บไว้ ในส่ วนกลาง
• สั่งให้ ทางานผ่ านมาทางเทอร์ มินัล Terminal
24
คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก Minicomputer
• มีประสิทธิภาพด้ อยกว่ าคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม
• มีราคาถูกกว่ าเครื่ องเมนเฟรม
• เป็ นคอมพิวเตอร์ ขนาดกลาง
25
ไมโครคอมพิวเตอร์ Microcomputer
• Personal Computer
• เป็ นคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็ก
• ราคาต่า
• ใช้ เป็ นคอมพิวเตอร์ ส่วนตัว
26
ไมโครคอมพิวเตอร์ แบ่ งตามขนาด
•คอมพิวเตอร์ ตงั ้ โต๊ ะ Desktop Computer
•คอมพิวเตอร์ โน้ ตบุ๊ก Notebook Computer
•คอมพิวเตอร์ ขนาดฝ่ ามือ Palmtops,Handheld PC
Personal Digital Assistants – PDAs
27
คอมพิวเตอร์ ตงั ้ โต๊ ะ Destop Computer
• มีขนาดเหมาะสมใช้ ตงั ้ บนโต๊ ะ
• ราคาขึน้ อยู่กับรุ่ นของซีพยี ู และ
ความเร็วในการประมวลผล
• มีความสามารถในการเก็บข้ อมูลน้ อย
28
คอมพิวเตอร์ โน้ ตบุ๊ก Notebook Computer
• เหมาะสาหรับการพกพาในการเดินทาง
• ประสิทธิภาพของโน้ ตบุ๊กเท่ าเทียมกับ
คอมพิวเตอร์ ตงั ้ โต๊ ะ
• ราคาแพงกว่ าคอมพิวเตอร์ แบบตัง้ โต๊ ะ
29
คอมพิวเตอร์ ขนาดฝ่ ามือ
PDA Personal Digital Assistants
•สามารถใส่ กระเป๋าเสือ้ ได้
•ประสิทธิภาพของเครื่องต่าโน้ ตบุ๊ค
•นาข้ อมูลเข้ าได้ โดยใช้ อุปกรณ์ ท่ เี รียกว่ า พีซีคาร์ ด
30
ตอนที่ 2.3
องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และ
การประมวลผล
31
องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
และการประมวล
• ฮาร์ ดแวร์ Hardware
• ซอฟต์ แวร์ Software
• ข้ อมูลข่ าวสาร Data / information
• บุคลากร people
• ขบวนการ procedures
• การติดต่ อสื่อสาร communications
32
1. ฮาร์ ดแวร์ Hardware
สามารถแบ่ งฮาร์ ดแวร์ ออกเป็ น 5 ประเภท
ตามลักษณะการใช้ งาน
1.1 อุปกรณ์ รับข้ อมูลเข้ า (input hardware)
1.2 อุปกรณ์ ประมวลผล และ หน่ วยความจา
(processing and memory)
1.3 อุปกรณ์ แสดงผล (output hardware)
1.4 อุปกรณ์ เก็บข้ อมูล (storage hardware)
1.5 อุปกรณ์ ตดิ ต่ อสื่อสาร (communication hardware)33
1.1 อุปกรณ์ รับข้ อมูลเข้ า (input hardware)
รับข้ อมูลจากผู้ใช้ แล้ วแปลงข้ อมูลให้ อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์
สามารถทางานได้
1) แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard)
2) อุปกรณ์ ชี ้ เช่ น เมาส์ (mouse) trackballs,joysticks
3) สแกนเนอร์ (scanners)
4) กล้ องดิจิทลั
5) ไมโครโฟน ใช้ รับข้ อมูลเสียง
6) เครื่ องอ่านบัตร
7) เซนเซอร์ (sensors) หรื อเครื่ องรับรู ้และส่ งสัญญาณเข้าระบบ
34
1.2 อุปกรณ์ ประมวลผล และ หน่ วยความจา
Processing and memory
มีหน้ าที่นาข้ อมูลที่รับเข้ าแล้ ว
ทาการคานวณ ตามชุดคาสั่งที่
ถูกกาหนดไว้
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
35
1.3 อุปกรณ์ แสดงผล
ทาหน้ าที่แสดงผลลัพธ์ ท่ ไี ด้ จากการทางาน
ให้ ผ้ ูใช้ ทราบโดยผลลัพธ์ ท่ ไี ด้ จะต้ องมี
ความหมายและผู้ใช้ สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ ได้
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
36
หน่ วยแสดงผล
หน่ วยแสดงผลทิ่นิยมใช้ มี 3 ประเภท
คือ
• จอภาพ
• เครื่ องพิมพ์
• ลาโพง
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
37
1.4 อุปกรณ์ เก็บข้ อมูล
ทาหน้ าที่เก็บข้ อมูลต่ าง ๆ โดยใช้
อุปกรณ์ ท่ เี รี ยกว่ าหน่ วยความสารอง
ฮาร์ ดดิสก์
แผ่ นซีดีรอม
แผ่ นดิสก์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
38
1.5 อุปกรณ์ ตดิ ต่ อสื่อสาร
ทาหน้ าติดต่ อสื่อสารระหว่ าง
เครื่ องคอมพิวเตอร์ เช่ น Lan card, สาย
เคเบิล
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
39
2. ซอฟต์ แวร์
คือ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ หรือชุดคาสั่ง
programming language
แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
ซอฟต์ แวร์ ระบบ(system software) และ
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (application software)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
40
ซอฟต์ แวร์ ระบบ
เป็ นชุดคาสั่งที่ควบคุมการทางาน
พืน้ ฐานต่ าง ๆ ของฮาร์ ดแวร์
เช่ น การรับคาสั่งจากแป้นพิมพ์
รับคาสั่งจากหน้ าจอภาพ
การแสดงตัวอักษรที่จอภาพ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
41
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์
คือ ชุดคาสั่งที่ส่ ังให้ คอมพิวเตอร์ ท่ ี
ทางานเฉพาะอย่ างตามจุดประสงค์
ของการสร้ างซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ นัน้ ๆ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
42
3. บุคลากร Peopleware
บุคลากรที่เกี่ยวข้ องกับคอมพิวเตอร์ จะเรียกว่ า user
ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ท่ วั ไป computer user
พาวเวอร์ ยสู เซอร์ power user
ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์ computer professional
นักเขียนโปรแกรม programmer
เจ้ าหน้ าที่บันทึกข้ อมูล data entry operator
เจ้ าหน้ าที่ท่ เี กี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
43
4. ข้ อมูลและสารสนเทศ Data / Information
ข้ อมูลหมายถึง สิ่งที่ได้ มาจากเรื่องที่เรา
สนใจหรือจากการสารวจ
สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้ จากนาข้ อมูล
ผ่ านกระบวนการที่เหมาะสม
input, output, upload/download, update, issue, store, transmit
compute, classify, sort, summarize, retrieve, inquire
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
44
สารสนเทศที่ดี
เกีย่ วข้ องกับงานทีก่ าลังทา (relevant)
ทันเวลา (timely
ถูกต้ อง (accurate)
สั้ นกระทัดรัด (concise)
สมบูรณ์ (completeness)
45
5. ขบวนการ Procedure
ขบวนการในระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง
1) ขบวนการทางานที่หมายถึงขัน้ ตอนการทางาน
ซึ่งมี 2 ความหมายคือ
ขัน้ ตอนของผู้ใช้ กระทากับคอมพิวเตอร์
ขัน้ ตอนของอัลกอริธึม (algorithm)
2) วิธีการประมวลผล
แบบกลุ่ม (batch processing)
แบบโต้ ตอบหรื อปฏิสัมพันธ์ (interactive processing)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
46
ขัน้ ตอนของผ้ ูใช้ กระทากับคอมพิวเตอร์
• สอดบัตร
• เลือกรายการถอนเงิน
• พิมพ์ จานวนเงินที่ต้องการถอน
• รั บเงิน
• รั บบัตรคืน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
47
ขัน้ ตอนของโปรแกรม
ขัน้ ตอนที่
ขัน้ ตอนที่
ขัน้ ตอนที่
ขัน้ ตอนที่
1
2
3
4
รับข้ อมูลเข้ าเป็ นจานวน 10 จานวน
นาข้ อมูลทัง้ หมดมารวมกัน
นา 10 ไปหารผลรวม
แสดงผลที่ได้ จากขัน้ ที่ 3
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
48
6. การติดต่ อสื่อสาร
มีไว้ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ หลาย ๆ เครื่ องหรือ
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ท่ เี กี่ยวข้ องสามารถแลก
เปลี่ยนข้ อมูล และ สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้
ทาให้ เกิดกิจกรรมการติดต่ อสื่อสารดังนี ้
e-mailonline shopping and e-commerce
database online service
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ และการประมวล
49
ตอนที่ 2.4 ซอฟต์ แวร์
คือกลุ่มของคาสั่ง ที่ใส่ เข้ าไปในหน่ วยความ
จาของคอมพิวเตอร์ แล้ วทาให้ คอมพิวเตอร์
ทางานตามที่ต้องการ
50
ประเภทของซอฟต์ แวร์
สามารถแบ่ งซอฟต์ แวร์ ออกเป็ น 2 ประเภท
ซอฟต์ แวร์ ระบบ System software
ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ application software
51
1.1 ซอฟต์ แวร์ ระบบ
1.1.1 ระบบปฏิบัตกิ าร (operating system)
ระบบปฏิบัตกิ ารสาหรับผู้ใช้ หลายคน
ระบบปฏิบัตกิ ารสาหรับผู้ใช้ คนเดียว
1.1.2 โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program)
1.1.3 โปรแกรมแปลภาษา (computer language
translator)
52
1.1.1 ระบบปฏิบัตกิ าร
แบ่ งประเภทของระบบปฏิบัติการตาม
ลักษณะจานวนผู้ใช้ งาน คือ
ระบบปฏิบตั กิ ารสาหรับผู้ใช้ หลายคน เช่ น
UNIX, Solaris, Linux
ระบบปฏิบตั กิ ารสาหรับผู้ใช้ คนเดียว เช่ น
Microsoft Windows XP, Macintosh,
MS-DOS, OS/2, Linux
53
ระบบปฏิบัตกิ ารสาหรั บผ้ ูใช้ หลายคน
•เหมาะสาหรั บเครื่ องคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่
•จะต้ องมีคุณสมบัตใิ ห้ บริการกับงาน
หลาย ๆ งานได้ พร้ อมกัน
54
ระบบปฏิบัตกิ ารสาหรั บผ้ ูใช้ คนเดียว
•เหมาะสาหรั บผู้ใช้ คนเดียวทางานกับ
คอมพิวเตอร์ เครื่องเดียว
•มีขนาดเล็ก ไม่ ซับซ้ อน
55
11.2 โปรแกรมอรรถประโยชน์
คือ ซอฟต์ แวร์ ท่ ที างานพืน้ ฐานต่ อจาก
ระบบปฏิบัตกิ าร
เช่ น โปรแกรมในการสร้ างแฟ้มข้ อมูล
โปรแกรมลบแฟ้มข้ อมูล
56
1.1.3 โปรแกรมแปลภาษา translator
โปรแกรมที่ทาการสร้ างคาสั่ง
ภาษาเครื่ อง (machine language
instructions, object code)
จากภาษาแอสแซมบลี หรื อ
ภาษาระดับสูงที่ถกู เขียนขึน้ มาเพื่อใช้
สั่งงานคอมพิวเตอร์
57
โปรแกรมแปล translator
โปรแกรมแปลมี 3 ชนิด
แบ่ งตามลักษณะการทางาน คือ
แอสเซมเบลอ
คอมไพเลอร์
อินเตอร์ พรี เตอร์
58
แอสแซมเบลอ
• แปลงโปรแกรมต้ นฉบับที่เขียนอยู่ใน
รูปแบบของภาษาแอสเซมบลี ไปเป็ น
คาสั่งภาษาเครื่อง
• แปลงโปรแกรมไปเป็ นภาษาเครื่อง
ทาได้ ง่าย รวดเร็ว
โปรแกรมแปล
59
คอมไพเลอร์
• แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรู ปภาษา
ระดับสูงไปเป็ นคาสั่งภาษาเครื่ อง
• แปลงโปรแกรมต้ นฉบับทัง้ หมดเพียง
ครั ง้ เดียว
• เหมาะกับโปรแกรมขนาดใหญ่
โปรแกรมแปล
60
อินเตอร์ พรี เตอร์
• แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรู ปภาษา
ระดับสูงไปเป็ นคาสั่งภาษาเครื่ อง
• แปลงโปรแกรมต้ นฉบับทีละคาสั่ง
• เหมาะกับโปรแกรมขนาดเล็ก
โปรแกรมแปล
61
1.2 ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (application software)
ซอฟต์ แวร์ ทที่ างานเฉพาะอย่ าง เช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (word processing)
ซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
ซอฟต์แวร์ช่วยออกแบบ (CAD – Computer Aids
Design) ซอฟต์แวร์ช่วยงานอุตสาหกรรม (CAM –
Computer Aids Manufacturing) เกมส์ ฯลฯ
ซอฟต์แวร์เฉพาะที่เกี่ยวกับงานด้านต่างๆ เช่น
ซอฟต์แวร์ทางธุรกิจ ซอฟต์แวร์ทางด้านวิทยาศาสตร์
ซอฟต์แวร์ทางด้านการศึกษา ฯลฯ
62
2. ภาษาคอมพิวเตอร์
Programming language
รูปแบบภาษาที่คอมพิวเตอร์ เข้ าใจ คือ
มีกระแสไฟฟ้า และ ไม่ มีกระแสไฟฟ้า
2.1 ภาษาเครื่อง machine language
2.2 ภาษาแอสเซมบลี (assembly language)
2.3 ภาษาระดับสูง (high level language)
2.4 แนวคิดการโปรแกรมเชิงวัตถุ
(object oriented programming concept)
2.5 การใช้ งานภาษาระดับสูง
63
2.1 ภาษาเครื่ อง machine language
• เป็ นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ เข้ าใจ
เพียงภาษาเดียวเท่ านัน้
• ข้ อเสียคือ คาสั่งไม่ อยู่ในรูปแบบของการ
สื่อความหมายสาหรับการอ่ าน และ
• เขียนยุ่งยากซับซ้ อน ต้ องใช้ เวลามาก
ในการเขียนโปรแกรมสั่งงาน
64
2.2 ภาษาแอสเซมบลี assembly language
• สื่อความหมายด้ วยรหัสนิวมอนิก
รหัสสัน้ ๆ แทนภาษาเครื่ อง
• ใช้ แทนภาษามนุษย์ เพื่อจาได้ ง่าย
65
2.3 ภาษาระดับสูง high level
language
มีลักษณะใกล้ เคียงกับภาษามนุษย์
• คาสั่งมีรูปแบบที่ชัดเจนและมีลาดับ
การสั่งงานให้ คอมพิวเตอร์
66
2.4 แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุ
object oriented programming concept
•เป็ นแนวคิดในการนาส่ วนประกอบย่ อย ๆ
ของโปรแกรมที่คล้ ายกันที่ถกู สร้ างไว้ แล้ ว
นามาใช้ งานใหม่ เพื่อเป็ นการลดเวลาใน
การเขียนโปรแกรม
67
แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุ
object oriented programming concept
•ภาษาคอมพิวเตอร์ อ่ นื ๆ ที่สามารถ
โปรแกรมเชิงวัตถุได้ เช่ น
• ภาษาจาวา (JAVA) ภาษาวิชวลเบสิก
(Visual Basic) ภาษาซีพลัสพลัส(C++)
ภาษาฟอร์ แทน90(fortran 9O) ADA95
โมดูลา3 โปรลอก2
68
แนวคิดการโปรแกรมเชิงวัตถุ
•ต้ องคิดแก้ ปัญหาในเชิงวัตถุ
•ข้ อมูลที่นามาใช้ จะต้ องมีความปลอดภัย
–กลไกการห่ อหุ้ม encapsulation
–กลไกซ่ อนข้ อมูล information hiding
–กลไกการสืบทอด inheritance
–กลไกการกาหนดข้ อมูลยืดหยุ่น dynamic
binding
69
2.5 การใช้ งานภาษาระดับสูง
•นิยมนามาใช้ พัฒนาซอฟแวร์ เพื่อสั่งงาน
คอมพิวเตอร์ ให้ ทางานเฉพาะอย่ างที่ผ้ ูใช้
ต้ องการให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทา
70
ภาษาเบสิก Basic Language
•ย่ อมาจาก Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction Code เหมาะสาหรับผู้เริ่มต้ น
•ในปัจจุบันตัวแปลภาษาเบสิ กทีไ่ ด้ รับความนิยม คือ
(Microsoft Visual Basic) เพราะใช้ งานง่ าย และใช้
เวลารวดเร็วในการเขียนโปรแกรม เพราะได้ นา
หลักการโปรแกรมเชิงวัตถุ (object oriented
programming) เข้ ามาใช้ งาน
•นอกจากนีย้ งั สามารถเขียนโปรแกรมให้ ทางานได้ ง่าย
กับการติดต่ อด้ วยภาพ (Graphic User Interface) 71
ภาษาโคบอล COBOL Language
• ย่ อมาจาก Common Business
Oriented Language
• ภาษาที่นิยมใช้ สาหรับงานด้ านธุรกิจ เช่ น
งานบัญชี งานควบคุมสินค้ าคงคลัง
งานการเงิน
•มี Visual COBOL ซึ่งได้ นาหลักการเขียนโปรแกรมเชิง
วัตถุ (object oriented programming) เข้ ามาใช้
72
ภาษาฟอร์ แทน FORTRAN Language
• ย่ อมาจาก Formula Translator
IBM พัฒนา 1957
• เหมาะสาหรับการทางานที่การคานวณ
ซับซ้ อน เช่ น งานทางด้ านวิทยาศาสตร์
งานทางด้ านคณิตศาสตร์
งานด้ านวิศวกรรมศาสตร์
73
ภาษาปาสคาล Pascal Language
• เหมาะกับการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้ าง
• หาจุดบกพร่ องของโปรแกรมได้ รวดเร็ว
• นิยมใช้ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล
74
ภาษาซีและซีพลัสพลัส
C Language and C++Language
• พัฒนา 1972 เพื่อใช้ เขียนระบบปฏิบัตกิ าร
ยูนิกซ์ (UNIX) นาเอาข้ อดีของภาษาแอสเซมบลี
มารวมกับข้ อดีของภาษาระดับสูง และหลักการ
โปรแกรมเชิงวัตถุ
75
ภาษาจาวา JAVA Language
• พัฒนา ค.ศ.1991 โดยบริษัทซันไมโครซิส
เตมซ์ Sun Microsystem
• เป็ นภาษามาตรฐานสาหรับอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ทางานได้ กับระบบปฏิบัตกิ ารหลายชนิด
• นาไปใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ชนิดต่ าง ๆ
โดยไม่ ต้องมีการแปลโปรแกรมใหม่ เหมาะสมกับงาน
ด้ านระบบเครือข่ าย (network) งานด้ านเวิร์ลไวด์ เว็บ
76
(WWW)