ไฟล์เอกสารประกอบการบรรยาย

Download Report

Transcript ไฟล์เอกสารประกอบการบรรยาย

นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย
โดย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
(นายอลงกรณ์ พลบุตร)
วันจันทร์ที่ 31 มกราคม 2554 เวลา 14.30 - 16.00 น.
ณ ห้อง 30404 สานักงานปลัดกระทรวง
เศรษฐกิจสร้างสรรค์คืออะไร ?
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หมายถึง แนวคิดการขับเคลื่อน
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ บ น พื้ น ฐ า น ข อ ง ก า ร ใ ช้ อ ง ค์ ค ว า ม รู้
(Knowledge) การศึกษา (Education) การสร้างสรรค์
งาน (Creativity) และการใช้ ท รัพ ย์ สิ นทางปั ญ ญา
(Intellectual property) ที่ เชื่อมโยงกับรากฐานทาง
วัฒนธรรม (Culture) การสังสมความรู
่
้ของสังคม
(Social wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่
(Technology and Innovation)
Education
Knowledge
Culture
Creativity
Social
Wisdom
Intellectual
Property
Technology &
Innovation
2
ทาไมต้องเศรษฐกิจสร้างสรรค์?
การสร้างมูลค่า
จินตนาการ
ความรู้
เศรษฐกิจ
สร้ างสรรค์
ความคิดสร้ างสรรค์
ส่งเสริมการใช้ประโยชน์
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
วัฒนธรรม
การป้องกันและปราบปรามการ
ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
สินค้า/
ผลิตภัณฑ์
นา
ไป
สู่
การเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
3
มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย
5,077 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
อันดับที่ 19 ของโลก
ปี 2551
(UNCTAD)
ส่วนแบ่งในตลาดโลก ร้อยละ 1.2
(อันดับ 1 คือ จีน ส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 20.8
มูลค่า 84,807 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
5
มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย
ปี 2549
(UNCTAD)
ร้อยละ 10.7 ของ GDP
กลุ่มงานฝี มือ หัตถกรรม และแฟชัน่
สร้างรายได้หลัก (ร้อยละ 9.5 ของ GDP)
6
แนวโน้ มการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของโลก
สัดส่วนมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อ GDP ในประเทศสาคัญๆ ทัวโลก
่
สหรัฐอเมริกา
มูลค่า 11.2 ของ GDP
สิงคโปร์
มูลค่า 5.7 ของ GDP
เกาหลีใต้
มูลค่า 8.87 ของ GDP
สหราชอาณาจักร
มูลค่า 7.3 ของ GDP
7
ทีม่ า: UNCTAD
การเปิดตัวนโยบาย Creative Economy – 31 ส.ค. 52
เมื่ อ วัน ที่ 31 สิ ง หาคม 2552
รัฐบาลได้จดั งานเปิดตัวโครงการ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ขึ้ น ที่
ท า เ นี ย บ รั ฐ บ า ล โ ด ย มี
นายกรัฐ มนตรี เ ป็ นประธานมี
แขกผู้มี เ กี ย รติ จ ากภาครัฐ และ
เอกชนเข้าร่วมงานกว่า 500 คน
และมี กิ จกรรมที่ ส าคัญ ๆ ได้ แ ก่
การกล่ า วปาฐกถาพิ เศษของ
น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ก า ร ก ล่ า ว
พัน ธสัญ ญาของรัฐ บาลในการ
ขับ เคลื่ อ นโครงการเศรษฐกิ จ
สร้ า งสรรค์ การแสดงปฏิ ญญา
โ ด ย ผู้ แ ท น เ อ ก ช น 1 5 ก ลุ่ ม
อุ ต สาหกรรม และการเสวนา
หัว ข้ อ “สร้ า งไทยเข้ ม แข็ง ด้ ว ย
หัวคิดแบบไทย”
8
9
โครงสร้างการบริหารนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย
ภายใต้ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขับเคลื่อน
นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ พ.ศ.2553
คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ (กศส.)
(นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน)
คณะกรรมการบริหารสานักงาน
เศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ
(รมช.พณ. เป็ นประธาน)
สานักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ
(อธิบดีทป. เป็ นผอ.)
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนนโยบาย
เศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ
(รมช.พณ. เป็ นประธาน)
คณะอนุกรรมการสร้างองค์ความรู้
และต่อยอดอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ั
การข ับเคลือ
่ นพ ันธสญญาเศรษฐกิ
จสร้างสรรค์ ของกระทรวงพาณิชย์
เป้าหมายในการข ับเคลือ
่ นนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ี น (Creative Industrial Hub of ASEAN )
1. เพือ
่ ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในภูมภ
ิ าคอาเซย
2. เพือ
่ เพิม
่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากร้อยละ 12 ของผลิตภ ัณฑ์มวลรวมประชาชาติ เป็นร้อยละ 20 ภายในปี 2555
ด้านที่ 1
้ ฐาน
ยกระด ับโครงสร้างพืน
เพือ
่ สน ับสนุนระบบ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
ผล ักด ันการจ ัดตงส
ั้ าน ักงาน
เศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ
(TCEA)
ด้านที่ 2
สร้างรากฐานและปลูกฝังความ
สามารถด้านการคิดและการ
สร้างสรรค์ในระบบการ
ึ ษาไทย
ศก
ด้านที่ 3
กระตุน
้ ให้ทก
ุ ภาคสว่ น
ให้ความสาค ัญก ับ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
ด้านที่ 4
่ เสริมสน ับสนุนธุรกิจและ
สง
อุตสาหกรรมทีเ่ กีย
่ วข้องก ับ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
่ เสริมการเรียนรูด
1. ค. สง
้ า้ น
เศรษฐกิจสร้างสรรค์สาหร ับ
เด็กและเยาวชน (Creative
Kids)
1. ค. ต้นแบบของพสกนิกร
ไทย “ในหลวง” ก ับ “การ
สร้างสรรค์” (Creative
King)
1. ค. สร้างสรรค์ภาพยนตร์
ประว ัติศาสตร์และว ัฒนธรรม
ไทย
ั
2. ค. พ ัฒนาศกยภาพและ
ขีดความสามารถด้านการ
ออกแบบผลิตภ ัณฑ์ ใน15
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
2. โครงการเมืองต้นแบบ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
3. จ ัดตงสถาบ
ั้
ันพ ัฒนา
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Academy)
่ เสริมและต่อยอด
3. ค. สง
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
4. ค. เสริมสร้างความเข้าใจ
ในเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ั
5. ค. สมมนาและประชุ
มเชงิ
ปฏิบ ัติการเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ระด ับประเทศ
6. ค. จ ัดมหกรรม TICEF
2. ค. สร้างภาพล ักษณ์ใหม่
ิ ค้าสร้างสรรค์ไทยสูส
่ ากล
สน
3. ค. Thailand Planet
่ เสริมพ ัฒนา
4. ค. สง
เอกล ักษณ์ธุรกิจอ ัญมณีและ
่ ากล
เครือ
่ งประด ับไทยสูส
(พค.)
5. ค. พ ัฒนาพ ัฒนาท ักษะเชงิ
ั
สร้างสรรค์และเพิม
่ ศกยภาพ
ในการทาธุรกิจในกลุม
่
อุตสาหกรรมไลฟ์สไตล์ (สอ.)
ั
่ เสริมศกยภาพ
6. ค. สง
ผลิตภ ัณฑ์เพือ
่ สุขภาพและ
่ ออกสู่
สมุนไพรเพือ
่ การสง
ตลาดโลก (สอ.)
7. ผล ักด ันการจ ัดตงกองทุ
ั้
น
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
จัดตัง้ สถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Academy: CA)
CA
C-I-C
Commercialization
Investment
Creation
การดาเนินงานจัดตัง้ สถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Academy: CA)
 ตัง้ คณะอนุกรรมการสร้างองค์ความรู้และต่ อยอดอุตสาหกรรม
สร้างสรรค์ (Creative Academy) รมช.พณ.เป็ นประธาน
 สนับสนุนให้มีการจัดตัง้ CA เป็ นหน่ วยงานภายใน
สถาบันอุดมศึกษา เพื่อดาเนินกระบวนการพัฒนาต่อยอดทาง
ธุรกิจให้กบั อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ทัง้ 15 สาขา โดยดาเนินงาน
ในรูปแบบบูรณาการ 3 ประสาน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคสถาบันอุดมศึกษา
 นายกรัฐมนตรี ได้มอบโล่เกียรติคณ
ุ แต่งตัง้ CA เมื่อวันที่ 23
ธันวาคม 2553 ณ ทาเนี ยบรัฐบาล
13
บทบาทหน้ าที่ของสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
 พัฒนาต่ อยอดองค์ความรู้
่ เพาะบุคลากรในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทงั ้ 15 สาขา
 เป็ นศูนย์บม
 สร้างมาตรฐานทางธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
 เป็ นศูนย์กลางพัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างแบรนด์
 วิจย
ั สร้างสรรค์และถ่ายทอดเทคโนโลยี
 บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
ผลการคัดเลือกสถาบันพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Academy: CA)
สาขาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ึ ษาทีไ่ ด้ร ับค ัดเลือก
สถาบ ันอุดมศก
ิ ปะการแสดง
1. ศล
1. ม. มหิดล
2. การแพทย์แผนไทย
2. ม. มหิดล
3. การท่องเทีย
่ วสถานที่
ประว ัติศาสตร์และว ัฒนธรรม
3. ม. มหิดล
4. การออกแบบ
ิ ปากร
4. ม. ศล
ิ ป์
5. ท ัศนศล
ิ ปากร
5. ม. ศล
6. งานฝี มือ
ี งใหม่
6. ม. เชย
7. สถาปัตยกรรม
ิ
7. ม. ธรรมศาสตร์ ศูนย์ร ังสต
8. ธุรกิจอาหาร
8. ม. เกษตรศาสตร์
ี ง
9. การแพร่ภาพและกระจายเสย
9. ม. กรุงเทพ
10. ซอฟต์แวร์
10. ม. ศรีปทุม
โครงการเมืองต้ นแบบเศรษฐกิจสร้ างสรรค์
เป้ าหมาย
 เพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจให้กบ
ั ชุมชน สร้างมูลค่าเพิ่มและสร้าง
รายได้ให้แก่ท้องถิ่นทัวทุ
่ กภูมิภาคของประเทศ ด้วยต้นทุนทางปัญญา
และอัตลักษณ์ เฉพาะของชุมชน
รูปแบบโครงการ
 คัดเลือกเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 10 เมือง
 แต่งตัง้ คณะกรรมการคัดเลือกเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์
 ขณะนี้ อยู่ระหว่างประสานจังหวัด เพื่อดาเนินการจัดประชุมระดมความ
คิดเห็น ผูว้ ่าราชการจังหวัด พาณิชย์จงั หวัด หอการค้าจังหวัด
อุตสาหกรรมจังหวัด และลงพืน้ ที่ ในต้นปี 2554
โครงการ Thailand Planet
รูปแบบโครงการ
 การนาเทคโนโลยีโลกออนไลน์ เสมือนจริง 3 มิติ โดยการจาลองสถานที่
ต่างๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยว ร้านค้า ของแต่ละจังหวัด เพื่อส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสร้างภาพลักษณ์ให้กบั ประเทศ ใน
รูปแบบการลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership:
PPP)
 จัดทา MOU ระหว่างกรมทรัพย์สินทางปั ญญากับบริษท
ั กสท โทรคมนาคม
เพื่อร่วมมือพัฒนาโครงการ Thailand Planet ภายใต้นโยบายเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2553
17
ขอบคุณ