เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ เกณฑ์อาคารเขียวภาครัฐ

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ เกณฑ์อาคารเขียวภาครัฐ

โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
เกณฑ์ การประเมินอาคารเขียวภาครั ฐ
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ความเป็ นมาโครงการ
เนื่ องด้ วยสั งคมปั จจุ บัน ให้ ความสาคัญกั บภาวะโลกร้ อนมาก
ยิ่ง ขึ น้ ซึ่ ง เป็ นผลมาจากปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกออกสู่ บ รรยากาศ
หน่ วยงานภาครั ฐ เป็ นองค์ ก รส าคั ญ ที่ จ ะช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การแก้ ไ ข
ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยส่ ง เสริ ม ให้ ล ดการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และ
พลังงาน เพื่อลดการปล่ อยคาร์ บอน (Carbon Emission) ออกสู่บรรยากาศ
นอกจากนี ้ เพื่อให้ การดาเนินโครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่ง แวดล้ อม
ของภาครั ฐ เป็ นไปอย่ างต่ อเนื่องและสามารถขยายผลไปในวงกว้ าง เน้ น
การประชาสัมพันธ์ เพื่อลดการใช้ พลังงานและมลภาวะของอาคาร มุ่ง เน้ น
ให้ หน่ วยงานภาครั ฐมีแนวทางปฏิบัติเพื่อนาไปสู่การเป็ นอาคารเขียว และ
ให้ อาคารราชการ หน่ วยงานภาครั ฐ เป็ นแบบอย่ างที่ดีแก่ สังคมต่ อไป
2
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ความเป็ นมาโครงการ
การดาเนินโครงการอาคารเขียว (Green Building) สามารถช่ วย
ลดผลกระทบของอาคารที่ มี ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสุ ข ภาพของผู้ ใ ช้ อ าคาร
สาหรั บการดาเนิ นงานที่ผ่านมา ในปี 2551 ได้ มีการกาหนดเกณฑ์ อ าคาร
สานักงานราชการเขียว เกณฑ์ สาหรั บอาคารเดิมและเกณฑ์ สาหรั บอาคารที่
จะมีการก่ อสร้ างใหม่ โดยจัดให้ มีการให้ คาปรึ กษากับอาคารเขียว(นาร่ อง)
จานวน 10 อาคาร
การส่ งเสริมให้ หน่ วยงานภาครั ฐนาเกณฑ์ อาคารเขียวไปปฏิบัตใิ ห้
เกิดผลอย่ างเป็ นรู ปธรรม จะเป็ นตัวอย่ างที่ดีกับภาคเอกชนเพื่อเป็ นแนวทาง
ในการดาเนินการต่ อไป
3
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
วัตถุประสงค์ ของโครงการ
1. สร้ างกลไกผลักดันให้ ภาครั ฐตระหนักและเข้ าร่ วมการประเมินอาคาร
ตามเกณฑ์ อาคารเขียว
2. กาหนดแนวทางในการลดผลกระทบของการใช้ อาคารที่มีต่อ
สิ่งแวดล้ อม และสุขภาพของมนุษย์
3. เสริมสร้ างศักยภาพบุคลากรด้ านอาคารเขียวเพื่อให้ เข้ าใจและ
มีความสามารถในการประเมินอาคารตามเกณฑ์ อาคารเขียว
4. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เกณฑ์ และแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้ อม
ของอาคารเขียวของหน่ วยงานภาครั ฐที่ได้ จัดทาขึน้ ไปสู่หน่ วยงาน
ราชการต่ างๆ
4
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
เป้าหมายและตัวชีว้ ัดความสาเร็จของโครงการ
1. ทุกส่ วนราชการมีความเข้ าใจเกณฑ์ การประเมินตนเองเพื่อมุ่งสู่การเป็ น
อาคารเขียวและสามารถประเมินตนเองได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
2. ส่ วนราชการไม่ น้อยกว่ า 10 แห่ ง เข้ าร่ วมโครงการประเมินตนเองและมี
แนวทางการพัฒนาความเป็ นอาคารเขียว
3. อาคารที่เข้ าร่ วมโครงการฯ ตัง้ แต่ ปี 2551-2553 มีแนวทางการพัฒนา
และวิเคราะห์ ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ ไข เพื่อเป็ นต้ นแบบ
การมุ่งสู่ความเป็ นอาคารเขียวภาครั ฐ
5
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
1. เสนอกลไกผลักดันเพื่อให้ อาคารส่ วนราชการสามารถประเมินตนเอง
2. จัดให้ มีทีมงานเพื่อให้ คาปรึกษา แนะนา และทดลองนาร่ อง
3. จัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารให้ บุคลากรซึ่งเป็ นผู้แทนจากทุกส่ วนราชการ
โดยมีผ้ ูเข้ าอบรมไม่ น้อยกว่ า 350 คน
4. จัดทาเอกสารเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และคู่มือต้ นแบบผลการ
ดาเนินงานของหน่ วยงานนาร่ องทัง้ 10 หน่ วยงาน
6
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
เกณฑ์ การประเมินอาคารในปั จจุบัน
• เกณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ
• เกณฑ์ Leadership in Energy and Environmental Design (LEED)
• เกณฑ์ กระทรวงพลังงาน
• เกณฑ์ การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้ อมไทย (TREES)
ของสถาบันอาคารเขียวไทย
7
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
เกณฑ์ ของกรมควบคุมมลพิษ
แบ่ งระดับการให้ การรับรองอาคารสานักงานเขียวไว้ 4 ระดับ
- ผ่ าน
- เหรียญทองแดง (ดี)
- เหรียญเงิน (ดีมาก)
- เหรียญทอง (ดีเด่ น)
ร้ อยละ 60 - 69
ร้ อยละ 70 - 79
ร้ อยละ 80 - 89
ตัง้ แต่ ร้อยละ 90 ขึน้ ไป
8
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
สาหรับเกณฑ์ ท่ ใี ช้ ประเมิน แบ่ งเป็ น
2
ประเภท คือ
เกณฑ์ ท่ ตี ้ องผ่ าน (Prerequisite)
หมายถึง เกณฑ์ ท่ อี าคารต้ องดาเนินการให้ ได้ ตามที่ระบุไว้ ทุกเกณฑ์ จึ งจะได้ รับการ
ประเมินตามเกณฑ์ ท่ ีให้ คะแนนต่ อไป โดยค่ าที่ใช้ อ้างอิงในเกณฑ์ ส่วนนี ้ ได้ จากค่ ามาตรฐาน
หรือที่ระบุไว้ ในกฎหมาย หรือข้ อบังคับต่ างๆ
เกณฑ์ ท่ ใี ห้ คะแนน (Credit)
หมายถึง เกณฑ์ ใช้ พิจารณาให้ คะแนน เพื่อประเมินว่ าอาคารดังกล่ าว เป็ นอาคาร
สานักงานเขียวหรือไม่
9
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
การประเมินอาคารสานักงานเขียว กรณีอาคารเดิม
มี แ นวคิ ด ในการประเมินมุ่ ง เน้ นด้ า นการใช้ ง านและบารุ ง รั ก ษาอาคาร
(Operation & Maintenance) และสิ่งอานวยความสะดวกต่ างๆ โดยอาศัยเกณฑ์ ท่ กี าหนดขึน้ มา
ซึ่งแบ่ งออกเป็ น
หมวด ได้ แก่
7
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
หมวดที่ 2 ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
หมวดที่ 4 พลังงาน
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
หมวดที่ 7 นวัตกรรม
10
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
เกณฑ์ การประเมินอาคารเขียวภาครัฐ กรณีอาคารเดิม
สาหรั บรายละเอียดเกณฑ์ การประเมิน ใหม่ ท่ ีผ่านการพิจารณาปรั บปรุ ง และเห็น ชอบจาก
คณะกรรมการโครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
เกณฑ์ แต่ ละข้ อ จะมีการแบ่ งตามระยะเวลาการประเมินออกเป็ น 2 ประเภท
PC – Pre-Certification
เป็ นการประเมินที่สามารถประเมินได้ ทนั ที
C – Certification
เป็ นการประเมินที่ต้องใช้ ระยะเวลาในการติดตามข้ อมูลเพื่อใช้ ในการประเมิน
11
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
การประเมินผลการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
การแบ่ งสั ดส่ วนการให้ คะแนน
ส่ วนที่
คะแนนเต็ม
1. นโยบาย
5
รวมคะแนนส่ วนที่ 1
5
2. สิ่ งแวดล้อม
31
รวมคะแนนส่ วนที่ 2
3. พลังงาน
รวมคะแนนส่ วนที่ 3
คะแนนรวมทั้งหมด
4. นวัตกรรม
31
16
16
52
3
การประเมินคะแนนของอาคาร
หมวดที่
การประเมินนโยบายของผู้บริหาร
1. การบริ หารจัดการอาคารให้เป็ นอาคารสานักงานเขียว
รวมคะแนนหมวดที่ 1
การประเมินประสิ ทธิภาพ
2. ผังบริ เวณ และงานภูมิสถาปัตยกรรม
3. การใช้น้ า
5. สภาวะแวดล้อมภายในอาคาร
6. การป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมภายนอก
รวมคะแนนหมวดที่ 2+3+5+6
4. พลังงาน
รวมคะแนนหมวดที่ 4
คะแนนรวมทั้งหมด
7. นวัตกรรม
คะแนนเต็ม
ร้ อยละ
ของคะแนนเต็ม
5
10
5
10
8
6
5
12
31
16
16
52
3
15
15
10
20
60
30
30
100
3
12
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
การประเมินอาคารสานักงานเขียว กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่
การประเมินอาคารสานักงานเขียว กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ครอบคลุมตัง้ แต่ ช่วง
การออกแบบ การก่ อสร้ างอาคาร และการใช้ งานอาคารเพื่อบรรลุการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
โดยอาศัยเกณฑ์ ท่ กี าหนดขึน้ มาซึ่งแบ่ งออกเป็ น
หมวด ได้ แก่
8
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
หมวดที่ 4 พลังงาน
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
หมวดที่ 8 นวัตกรรม
13
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
สาหรั บกรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ มีการประเมินแบ่ งออกเป็ น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ประเมินการออกแบบ
การประเมินแบบแปลนและเอกสารประกอบของโครงการ เพื่อให้ การรั บรองว่ าหากก่ อสร้ างตามแบบนี ้
แล้ ว จะบรรลุ การเป็ นอาคารสานั กงานเขียวในระดับที่ต้องการ หากพิจารณาแล้ วเห็นว่ ายังไ ม่ บรรลุ
เป้าหมายตามต้ องการ ผู้ประเมินจะให้ คาแนะนาต่ อไป
ระยะที่ 2 ประเมินการก่ อสร้ างโครงการ
การตรวจสอบภาคสนามเพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล ผลการด าเนิ น การป้ องกั น ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มตาม
มาตรการที่กาหนดไว้ ก่ อนนามาประมวลกับรายงานผลการป้องกันแก้ ไขผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมจาก
หน่ วยงานเจ้ าของโครงการ แล้ วพิจารณาให้ การรั บรอง “การก่ อสร้ างอาคารมุ่งสู่อาคารสานักงานเขียว”
ระยะที่ 3 ประเมินอาคาร
การประเมินจะกระทาต่ อเมื่อได้ รับการประเมินให้ ผ่านทัง้ การออกแบบและการก่ อสร้ างโครงการ โดย
ประเมินให้ คะแนนตามเกณฑ์ ท่ กี าหนดไว้ เมื่อใช้ อาคารได้ ครบ 1 ปี นับจากวันที่ก่อสร้ างแล้ วเสร็จ
14
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
การประเมินผลการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
การแบ่ งสั ดส่ วนการให้ คะแนน
ส่ วนที่
คะแนนเต็ม
หมวดที่
การประเมินนโยบายของผู้บริหาร
5
1. การบริ หารจัดการอาคารให้เป็ นอาคาร สานักงานเขียว
1. นโยบาย
รวมคะแนนส่ วนที่ 1
2. สิ่ งแวดล้อม
รวมคะแนนส่ วนที่ 2
3. พลังงาน
รวมคะแนนส่ วนที่ 3
คะแนนรวมทั้งหมด
4. นวัตกรรม
การประเมินคะแนนของอาคาร
5
รวมคะแนนหมวดที่ 1
การประเมินประสิ ทธิภาพ
50
2. สถานที่ต้ งั ผังบริ เวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
3. การใช้น้ า
5. สภาวะแวดล้อมภายในอาคาร
6. การป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมภายนอกอาคาร
7. วัสดุและสิ่ งก่อสร้าง
50
รวมคะแนนหมวดที่ 2+3+5+6+7
25
4. พลังงาน
รวมคะแนนหมวดที่ 4
25
80
คะแนนรวมทั้งหมด
3
8. นวัตกรรม
คะแนนเต็ม
ร้ อยละของ
คะแนนเต็ม
5
10
5
10
13
10
5
13
9
50
25
25
80
3
15
15
5
15
10
60
30
30
100
3
15
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
(กรณีอาคารเดิม)
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
16
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
ลาดับที่
1.1
เกณฑ์ การประเมิน
ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
คะแนนเต็ม
1.1.1
มีการประกาศนโยบายและได้ ทากิจกรรมต่างๆ เพื่อผลักดันให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียวมาอย่าง
ต่อเนื่อง
ให้ การอบรมตามคู่มือแนะนาการใช้ งานและบารุงรักษาระบบต่างๆ ที่เหมาะสมกับการเป็ นอาคาร
สานักงานเขียว สาหรับเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องของอาคาร
มีการสื่อสารเช่น กระจายเสียง ติดโปสเตอร์ เป็ นต้ น เพื่อสร้ างความตระหนักและความร่ วมมือในการ
ประกอบกิจกรรมของเจ้ าหน้ าที่ของอาคาร
มีผลการดาเนินงานและติดตามประเมินผลการจัดการสิง่ แวดล้ อมเพื่อเป็ นอาคารสานักงานเขียว
มีงบประมาณสนับสนุนการดาเนินการเพื่อเป็ นอาคารสานักงานเขียวอย่างต่อเนื่อง
1
1.1.2
1.1.3
1.1.4
1.1.5
คะแนนรวมหมวดที่ 1
1
1
1
1
5
17
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.1 มีการประกาศนโยบายและได้ ทากิจกรรมต่ างๆ
เพื่อ ผลั ก ดั น ให้ เ ป็ นอาคารส านั ก งานเขี ย วมาอย่ า ง
ต่ อเนื่อง
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบสื่ อที่ใ ช้ ประกาศนโยบายและวิ สัยทัศ น์ ของ
ผู้ บ ริ ห าร และตรวจสอบแผนปฏิ บั ติ ก ารและผลการ
ดาเนินการตามแผน
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อ
นี ้ เนื่ องจากเป็ นการประกาศแผนนโยบายและ
ประชาสัมพันธ์ เบือ้ งต้ นของอาคาร
18
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.2 ให้ ก ารอบรมตามคู่ มื อ แนะน าการใช้ งานและ
บารุ งรั กษาระบบต่ างๆ ที่เหมาะสม กับการเป็ นอาคาร
สานักงานเขียว สาหรับเจ้ าหน้ าที่ท่ เี กี่ยวข้ องของอาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบว่ ามีค่ มู ือใช้ งานและรักษาระบบต่ อไปนี ้
(1) ระบบปรับอากาศ
(2) ระบบไฟฟ้า
(3) ระบบสุขาภิบาล
(4) ระบบบาบัดนา้ เสีย
การประเมินราคา
ราคาต่ อ หน่ วยคิ ด จากราคาการจั ด ท า
คู่มือการใช้ งานประมาณ 2,000 บาท และ
การจั ด การอบรมภายในหน่ ว ยงานสาหรั บ
เจ้ าหน้ าที่ท่ เี กี่ยวข้ อง ราคา 8,000 บาท รวม
เป็ นราคาต่ อหน่ วย 10,000 บาทต่ อครัง้
19
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.3 มีการสื่อสาร เช่ น กระจายเสียง ติดโปสเตอร์ เป็ นต้ น
เพื่อสร้ างความตระหนัก และความร่ วมมือในการประกอบ
กิจกรรมของเจ้ าหน้ าที่ของอาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
สั ง เ ก ต จ า ก โ ป ส เ ต อ ร์ ห รื อ สิ่ ง อื่ น ๆ ที่ ใ ช้ สื่ อ ส า ร
ประชาสัมพันธ์ ภายในอาคารและสัมภาษณ์ เจ้ าหน้ า ที่ท่ ี
ปฏิบัติงานในอาคารเพื่อตรวจสอบการรั บทราบข้ อ มูล
ข่ าวสารและการเข้ าร่ วมกิจกรรม
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากราคาการจัดทาโปสเตอร์ 1,200 บาท การจัดทาแผ่ นพับโบรชัวร์ 600
บาท การจัดทาแบบสอบถาม 2,000 บาท และค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ 4,000 บาท รวมเป็ นราคาต่ อ
หน่ วย 7,800 บาทต่ อครัง้
20
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.4 มีผลการดาเนินงานและติดตามประเมินผลการจัดการสิ่งแวดล้ อม
เพื่อเป็ นอาคาร สานักงานเขียว
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบคาสั่ ง แต่ ง ตัง้ คณะทางานและ
ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร จั ด ก า ร
สิ่ ง แวดล้ อมหรื อ อยู่ ในคณะกรรมการ
อื่นๆที่มีบทบาททางด้ านสิ่งแวดล้ อม
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายเนื่องจากเป็ นการติดตามผลการดาเนินงานและประเมินผล
จากการจัดการสิ่งแวดล้ อมที่ทาอยู่แล้ ว
21
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 1
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.5 มีงบประมาณสนับสนุนการดาเนินการเพื่อเป็ นอาคารสานักงานเขียวอย่ างต่ อเนื่อง
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตัวอย่ าง งบประมาณสาหรั บโครงการอาคารเขียว
ตรวจสอบแผนงานและจั ด สรร
รายละเอียด
ลาดับ
เรื่ อง
งบประมาณ
ค่ าใช้ จ่าย
งบประมาณในการด าเนิ น การให้
Poster PR MTEC Go Green ฟิ วเจอร์ บอร์ ด
เป็ นอาคารส านั ก งานเขี ย วในปี
1
1,200
Building (ตอนเปิ ดตัว)
3 แผ่นใหญ่
ปั จจุบันและล่ วงหน้ าอย่ างน้ อ ย 1 ปี
Poster ประกาศผลรางวัล
กระดาษ ขนาด A3
2
200
นับจากวันรับการประเมิน
"ประหยัดไฟ ได้ รางวัล"
จานวน 7 แผ่น
การประเมินราคา
เงินรางวัลสานักงานชันที
้ ่
3 ประหยัดพลังงานมากที่สดุ ใน
6,000
ไม่ มี ร าคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ าย
ปี งบประมาณ 2554
เนื่องจากเป็ นการออกงบประมาณที่
กระเช้ าของขวัญสาหรับผู้เช่าที่
4
1,000
ใช้ สนับสนุ นการดาเนินการเพื่ อเป็ น
ช่วยประหยัดไฟสะสมมากที่สดุ
รวม
8,400
อาคารเขียว
22
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 1
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
23
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
ส
านั
ก
งานเขี
ย
ว
1.1
ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.1
1.1.2
1.1.3
1.1.4
1.1.5
มี การกาหนดให้อาคารที ่จะก่อสร้างเป็ นอาคารสานักงานเขี ยวและประชาสัม พันธ์ ให้
สังคมรับทราบ
ให้การอบรมตามคู่มือแนะนาการใช้งานและบารุงรักษาระบบต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับการ
เป็ นอาคารสานักงานเขี ยว สาหรับเจ้าหน้าทีท่ ีเ่ กี ย่ วข้องของอาคาร
1
มี การสื ่อสาร เช่ น กระจายเสี ยง ติ ดโปสเตอร์ เป็ นต้น เพื ่อสร้ างความตระหนักและ
ความร่ วมมือในการประกอบกิ จกรรมของเจ้าหน้าทีข่ องอาคาร
มี ผลการดาเนิ นงานและติ ดตามประเมิ นผลการจัดการสิ่ งแวดล้อมเพื อ่ การเป็ นอาคาร
สานักงานเขี ยวขณะก่อสร้างและการใช้งานอาคาร
มีงบประมาณสนับสนุนการดาเนิ นการเพือ่ เป็ นอาคารราชการเขี ยวอย่างต่อเนื ่อง
รวมคะแนนหมวดที่ 1
1
1
1
1
5
24
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.1 มี ก ารก าหนดให้ อ าคารที่ จ ะก่ อ สร้ างเป็ น
อาคารสานักงานเขียวและประชาสัมพันธ์ ให้ สังคม
รับทราบ
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบรายละเอียดและหลักฐานในขอบเขตการดาเนินงาน (Terms of
References) ว่ าได้ ใช้ เกณฑ์ การจัดการสิ่งแวดล้ อมสานักงานเขียว กรณีท่ จี ะมี การก่ อสร้ าง
อาคารใหม่ ในการออกแบบ และกาหนดระดับการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่องจากเป็ นการประกาศ
แผนนโยบายและประชาสัมพันธ์ เบือ้ งต้ นของอาคาร
25
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 1 การบริหารจัดการให้ เป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1 ความมุ่งมั่นในการเป็ นอาคารสานักงานเขียว
1.1.4 มี ผลการดาเนิ น งานและติด ตามประเมิน ผลการ
จัดการสิ่ง แวดล้ อมเพื่อการเป็ นอาคารสานั กงานเขียว
ขณะก่ อสร้ างและการใช้ งานอาคาร
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบคาสั่ ง แต่ ง ตั ง้ คณะท างานและติด ตาม
ประเมินผลขณะก่ อสร้ างโครงการ และใช้ งานอาคาร
- สัมภาษณ์ ผ้ ูแทนคณะทางานและติดตามประเมินผล
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนีเ้ นื่องจากเป็ นการติดตามผลการ
ดาเนินงานและประเมินผลจากการจัดการสิ่งแวดล้ อมที่ทาอยู่แล้ ว
26
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
(กรณีอาคารเดิม)
ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
27
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2 ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
2.1
ผังบริเวณ
2.1.1 มีผังบริ เ วณของอาคารและองค์ ประกอบหลัก ที่ เ ป็ นอยู่ใ นปั จ จุบัน และที่ จ ะเกิ ด ขึน้ ในอน าคตในพื น้ ที่
โครงการ
2.2
งานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2.1 มีต้นไม้ ยืนต้ นไม่น้อยกว่า 1 ต้ นต่อพื ้นที่เปิ ดโล่ง 100 ตารางเมตร
2.2.2 มีพื ้นที่ที่น ้าสามารถซึมผ่านลงดินได้ ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 5 ของขนาดพื ้นที่โครงการ
2.2.3
2.2.4
2.2.5
สัดส่วนขนาดพื ้นที่หลังคาเขียวหรื อดาดฟ้าที่ปกคลุมด้ วยพืชพรรณเปรี ยบเทียบกับหลั งคาหรื อดาดฟ้า
ทั ้งหมด
- ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 25
- ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50
- ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 75
มีพื ้นที่ดาดแข็งที่อยู่ภายนอกอาคารซึง่ โดนแดดไม่เกินร้ อยละ 50 ของขนาดพื ้นที่ดาดแข็งทั ้งหมด
มีต้นไม้ หรื อพืชพรรณให้ ร่มเงาแก่อาคาร
คะแนนรวมหมวดที่ 2
คะแนน
1
1
1
1
1
1
1
1
8
28
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.1 ผังบริเวณ
2.1.1 มีผังบริ เวณของอาคารและองค์ ประกอบหลักที่เป็ นอยู่ในปั จจุบันและที่จะเกิดขึน้ ใน
อนาคตในพืน้ ที่โครงการ
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบการมี ผั ง บริ เวณของอาคารตามพื ้น ที่
รั บผิดชอบและตรวจสอบความถูกต้ องของรายละเอียด
ในผังเทียบกับสภาพจริงในปั จจุบัน และพิจารณาส่ วนที่
จะมี การเปลี่ ยนแปลงในอนาคตว่ าจะมี ผลกระทบต่ อ
ความเป็ นอาคารสานักงานเขียวหรือไม่
การประเมินราคา
ราคาต่ อ หน่ วยค านวณจากราคาค่ า เขี ย นแบบ 1,000
บาท และค่ าการทา Survey สารวจผังบริ เวณ 5,000
บาท รวมเป็ นราคาต่ อหน่ วย 6,000 บาท /ครัง้
29
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.2.1 มีต้นไม้ ยืนต้ นไม่ น้อยกว่ า 1 ต้ นต่ อพืน้ ที่เปิ ดโล่ ง
100 ตารางเมตร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ส ารวจจ านวนต้ น ไม้ ยื น ต้ น ที่มี ค วามสู ง 7.5 เมตรขึ น้ ไป
หรื อที่มีขนาดความกว้ างเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของเรื อนยอด
เมื่อโตเต็มที่ไม่ น้อยกว่ า 4.5 เมตร แล้ วนามาเทียบเฉลี่ย
กับขนาดพืน้ ที่เปิ ดโล่ งทัง้ หมด
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายเนื่ องจากไม่ สามารถนา
ต้ นไม้ ท่ ีได้ จากการขุดล้ อมมาใช้ ในการประเมินได้ หากจะ
ปลูกต้ นไม้ ใหม่ จะเสียเวลาหลายปี จึงไม่ สามารถคานวณ
ราคาต่ อหน่ วยได้
30
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.2.2 มีพนื ้ ที่ท่ นี า้ สามารถซึมผ่ านลงดินได้ ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 5 ของขนาดพืน้ ที่โครงการ
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบจากแบบหรื อสารวจขนาดพืน้ ที่นา้ ซึม
ผ่ า นลงดิน ได้ จ ริ ง แล้ ว เปรี ย บเทีย บสั ด ส่ ว นกั บ
ขนาดพืน้ ที่โครงการ
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยพิ จ ารณาค่ าทรายปรั บระดั บ
ค่ าปู ห ญ้ า และค่ าหญ้ านวลน้ อย รวมทั ้ง หมด
คิดเป็ น
ราคาต่ อหน่ วย 50 บาท ต่ อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร
31
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.2.3 สัดส่ วนขนาดพืน้ ที่หลังคาเขียวหรื อดาดฟ้าที่ปกคลุมด้ วย
พืชพรรณเปรียบเทียบกับหลังคาหรือดาดฟ้าทัง้ หมด
- ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 25
- ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 50
- ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 75
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบจากแบบหรือสารวจพืน้ ที่จริงจัดทาเอกสารที่ระบุถงึ
ชนิดของพืชพรรณ
การประเมินราคา
ราคาต่ อ หน่ วยค านวณจากการปลู ก ไม้ เ ลื อ้ ยหรื อ ไม้ ป ระดั บ ที่
น ามาวางเพื่ อ ปกคลุ ม พื น้ ที่ ด าดฟ้ า คิ ด เป็ นราคาต่ อหน่ วย
500 บาท ต่ อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร
http://www.greenroofs.com/
32
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.2.4 มีพืน้ ที่ดาดแข็งที่อยู่ภายนอกอาคารซึ่งโดนแดดไม่
เกินร้ อยละ 50 ของขนาดพืน้ ที่ดาดแข็งทัง้ หมด
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบจากแบบหรือสารวจพืน้ ที่จริง
จั ด ท าแผนผั ง และค านวณสั ด ส่ วนพื น้ ที่ ด าดแข็ ง ที่ อ ยู่
ภายนอกอาคารที่โ ดนแดดเปรี ย บเที ย บกั บ ขนาดพืน้ ที่
ดาดแข็งทัง้ หมดของโครงการ
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ ว ยคานวณจากราคากันสาดเมทัล ชีท คิ ด
เป็ นราคาต่ อหน่ วย 1,900 บาท ต่ อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร
33
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 2
ผังบริเวณ และงานภูมิสถาปั ตยกรรม
2.2 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.2.5 มีต้นไม้ หรือพืชพรรณให้ ร่มเงาแก่ อาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
สารวจพืชพรรณที่ให้ ร่มเงาแก่ อาคารโดยปลูกต้ นไม้ อย่ าง
น้ อย 1 ต้ น ต่ อความยาว 4 เมตร ของความยาวอาคารใน
แต่ ละด้ าน
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคานวณจากการเลือกใช้ ต้นโนราและต้ น
ไดคอนด้ าซึ่งเป็ นไม้ เลือ้ ย รวมทัง้ หมด คิดเป็ นราคาต่ อ
หน่ วย 60 บาท ต่ อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร
34
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
35
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
ลาดับที่
2.1
2.1.1
2.1.2
2.1.3
2.2
2.2.1
เกณฑ์ การประเมิน
การเลือกทีต่ ้ังโครงการ
สร้างอาคารหรื อพัฒนาทีด่ ิ นบนพืน้ ทีท่ ีม่ ีคณ
ุ ค่าทางระบบนิ เวศต่าหรื อตามทีก่ าหนดไว้
ในผังเมือง
ใช้พืน้ ทีห่ รื ออาคารทีเ่ คยมีการใช้งานมาแล้ว
- ใช้พืน้ ทีท่ ีเ่ คยมีการใช้งานมาแล้ว
- ใช้อาคารทีเ่ คยมีการใช้งานมาแล้ว
ระยะห่างจากระบบขนส่งมวลชนไม่เกิ น 500 เมตร หรื อมีทีจ่ อดจักรยาน
ไม่ต่ากว่า 5% ของทีจ่ อดรถ หรื อ มีระบบรถรับส่ง
การจัดผังบริเวณและการวางตัวอาคาร
มีผงั บริ เวณของอาคารและองค์ประกอบหลักทีเ่ ป็ นอยู่ในปั จจุบนั และทีจ่ ะเกิ ดขึ้นใน
อนาคตในพืน้ ทีโ่ ครงการ
คะแนน
ต้ องผ่ าน
1
1
1
1
36
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.3
2.3.1
งานภูมิสถาปั ตยกรรม
สัดส่วนของพืน้ ทีว่ ่างหรื อพืน้ ทีเ่ ปิ ดโล่งนอกอาคารไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของขนาดพืน้ ทีโ่ ครงการ
1
2.3.2
มีพืน้ ทีป่ ลูกต้นไม้ยืนต้นไม่นอ้ ยกว่า 1 ต้นต่อพืน้ ทีเ่ ปิ ดโล่ง 100 ตารางเมตร
1
2.3.3
ใช้พืชพรรณในงานภูมิสถาปั ตยกรรมที ่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางภูมิอากาศและปริ มาณ
น้าฝน อย่างน้อยร้อยละ 75 ของพืน้ ทีท่ ีเ่ ป็ นพืชพรรณ (Soft Scape) ทัง้ หมด
1
2.3.4
2.3.5
มีพืน้ ทีท่ ีน่ ้าสามารถซึมผ่านลงดิ นได้ ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 5 ของขนาดพืน้ ทีโ่ ครงการ
สัดส่วนขนาดพืน้ ทีห่ ลังคาเขี ยวหรื อดาดฟ้ าทีป่ กคลุมด้วยพืชพรรณเปรี ยบเทียบกับ
หลังคาหรื อดาดฟ้ าทัง้ หมด
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 25
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75
มีพืน้ ทีด่ าดแข็งทีอ่ ยู่ภายนอกอาคารซึ่งโดนแดดไม่เกิ นร้อยละ 50 ของขนาดพืน้ ทีด่ าด
แข็งทัง้ หมด
มีตน้ ไม้หรื อพืชพรรณให้ร่มเงาแก่อาคาร
1
2.3.6
2.3.7
รวมคะแนนหมวดที่ 2
1
1
1
1
1
13
37
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.1 การเลือกที่ตงั ้ โครงการ
2.1.1 สร้ างอาคารหรื อพัฒนาที่ดินบนพืน้ ที่ท่ ี มีคุณค่ า
ทางระบบนิเวศต่าหรือตามที่กาหนดไว้ ในผังเมือง
แนวทางการตรวจประเมิน
จัดทาเอกสารประเมินโดยระบุตาแหน่ งที่จะก่ อสร้ าง
อาคาร พร้ อมทั ง้ เอกสารแสดงว่ า พื น้ ที่ ก่ อ สร้ างอยู่ ใ น
พื น้ ที่ ท่ ี มี คุ ณ ค่ าทางระบบนิ เ วศต่ า หรื อ เป็ นไปตามที่
กาหนดไว้ ในผังเมือง
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อ
นีเ้ นื่องจากเป็ นเกณฑ์ ข้อบังคับที่ต้องผ่ านและไม่ สามารถ
ปรับปรุ งได้ หากมีการก่ อสร้ างอาคารไปแล้ ว
38
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.1 การเลือกที่ตงั ้ โครงการ
2.1.2 ใช้ พนื ้ ที่หรืออาคารที่เคยมีการใช้ งานมาแล้ ว
- ใช้ พนื ้ ที่ท่ เี คยมีการใช้ งานมาแล้ ว
- ใช้ อาคารที่เคยมีการใช้ งานมาแล้ ว
แนวทางการตรวจประเมิน
จั ด ท าเอกสารประเมิ น แสดงว่ าการก่ อสร้ าง
อาคารใช้ พนื ้ ที่หรืออาคารที่เคยมีการใช้ งานมาแล้ ว
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บ เกณฑ์
ในข้ อนี ้ เนื่องจากไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงการใช้ งาน
ของพืน้ ที่และอาคารได้
39
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.1 การเลือกที่ตงั ้ โครงการ
2.1.3 ระยะห่ างจากระบบขนส่ งมวลชนไม่ เกิน 500 เมตร
หรื อมีท่ จี อดจักรยาน ไม่ ต่ากว่ า 5% ของที่จอดรถ หรื อ มี
ระบบรถรับส่ ง
แนวทางการตรวจประเมิน
ประเมินจากแผนผังที่ดนิ ของสถานที่ตัง้ โครงการ
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนีห้ ากอาคารมีระยะทางห่ างจากระบบ
ขนส่ งมวลชนเกิน 500 เมตร
รางจอดจักรยานราคา 5,400 บาท สามารถจอดได้ 20 คัน คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 270
บาทต่ อคัน และจานวนจักรยานที่ต้องการ คือ 5% ของจานวนที่จอดรถในโครงการ (เป็ นคัน)
40
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.3 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.3.1 สัดส่ วนของพืน้ ที่ว่างหรื อพืน้ ที่ เปิ ดโล่ งนอก
อาคารไม่ น้ อยกว่ าร้ อยละ 30 ของขนาดพื น้ ที่
โครงการ
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบผังบริ เวณและจัดทาเอกสารประกอบการ
ป ร ะ เ มิ น โ ด ย ค า น ว ณ สั ด ส่ ว น ข อ ง พื ้น ที่ เ ปิ ด โ ล่ ง
เปรียบเทียบกับขนาดพืน้ ที่โครงการจากผังบริเวณ
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนี ้
เนื่องจากไม่ สามารถทาการปรั บสัดส่ วนของพืน้ ที่เปิ ดโล่ ง
ภายในโครงการได้
41
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 2 สถานที่ตงั ้ ผังบริเวณ และงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.3 งานภูมสิ ถาปั ตยกรรม
2.3.3 ใช้ พืชพรรณในงานภูมิสถาปั ตยกรรมที่เหมาะสมกั บ
สภาพแวดล้ อมทางภูมิอากาศและปริ มาณนา้ ฝน อย่ างน้ อย
ร้ อยละ 75 ของพืน้ ที่ท่ เี ป็ นพืชพรรณ (Soft Scape) ทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
สารวจขนาดพืน้ ที่ปลูกพืชพรรณทัง้ หมดแล้ วนามา
เปรียบเทียบเฉลี่ยกับขนาดพืน้ ที่ปลูกพืชพรรณทัง้ หมด
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ใ น
ข้ อ นี ้ เนื่ อ งจากพื ช พรรณที่ ใ ช้ ใ นงานภู มิ ส ถาปั ตยกรรม
เกื อ บทั ง้ หมด ที่ ใ ช้ เ ป็ นพื ช พรรณที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ
สภาพแวดล้ อมทางภูมอิ ากาศและปริมาณนา้ ฝน
42
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3
(กรณีอาคารเดิม)
การใช้ นา้
43
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
ลาดับที่
3.1
3.1.1
3.1.2
3.1.3
3.1.4
เกณฑ์ การประเมิน
การใช้ นา้
มีการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการประหยัดน ้า
มีการนาน ้าทิ ้งกลับมาใช้ ใหม่
มีการติดตามตรวจสอบการใช้ น ้าของอาคาร
สัดส่วนปริ มาณการใช้ น ้าที่ลดลงได้ เมื่อเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของอาคาร
ประเภทนั ้นๆ
- ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 10
- ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 20
- ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 30
คะแนนรวมหมวดที่ 3
คะแนน
1
1
1
1
1
1
6
44
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
ราคาต่อหน่วยคิดจากการทาโปสเตอร์ และ
ป้ายประชาสัมพันธ์ต่างๆ ภายในหน่วยงาน
คิดเป็ นราคาต่อหน่วย 2,500 บาทต่อครัง้
3.1.1 มี ก ารรณรงค์ /ประชาสั ม พัน ธ์ เกี่ ย วกับ การ
ประหยัดนา้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบนโยบาย แผนปฏิบตั ิการ และผลการดาเนินการตามแผน
- สังเกตจากโปสเตอร์ หรื อสื่ออื่นๆ ที่ใช้ สื่อประชาสัมพันธ์ภายในอาคาร
- สัมภาษณ์เจ้ าหน้ าที่ ที่ปฏิบตั ิงานในอาคาร โดยการสุม่ สัมภาษณ์
45
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
ไม่ มี ร าคาต่ อ หน่ วยและ
ค่าใช้ จ่ายเนื่องจากเป็ นการ
3.1 การใช้ นา้
จั ด ท านโยบาย แผนการ
3.1.2 มีการนานา้ ทิง้ กลับมาใช้ ใหม่ ปฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ผ ล ก า ร
ด าเนิ น งานตามแผนของ
อาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบนโยบาย แผนปฏิบตั ิการ และผลการดาเนินการตามแผน
46
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อม ของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
ราคาต่อหน่วยคิดจากราคามาตรวัดน ้า โดยนา
จานวนผู้ใช้ อาคารไปหาอัตราการใช้ น ้าของ
อาคาร (Qmax)
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.3 มีการติดตามตรวจสอบการใช้ นา้ ของอาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการติดตังมาตรวั
้
ดน ้าย่ อยใน
ส่วนที่ใช้ กบั อาคารและท่อเมน
Qmax. = จำนวนผู้ใช้ อำคำรx70lpcdx1.5x1.5/1,000/8
47
อัตราการใช้ นา้
ของอาคาร
(ลบ.ม./ชม.) Qmax.
ขนาดมาตรวัดนา้
ราคามาตรวัดต่ อตัว
(บาท)
น้ อยกว่า 5 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 1/2 นิ ้ว (15 มม.)
926.00
น้ อยกว่า 20 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 1 นิ ้ว (25 มม.)
1,789.00
น้ อยกว่า 30 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 2 นิ ้ว (50 มม.)
9,250.00
น้ อยกว่า 80 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 2 1/2 นิ ้ว
(65 มม.)
12,183.00
น้ อยกว่า 120 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 4 นิ ้ว (100 มม.)
19,690.00
น้ อยกว่า 300 ลบ.ม./ชม.
ขนาด 6 นิ ้ว (150 มม.)
35,243.00
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.4 สั ด ส่ ว นปริ ม าณการใช้ น า้ ที่ล ดลงได้ เมื่ อ
เปรี ย บเที ย บกั บ เกณฑ์ มาตรฐานของอาคาร
ประเภทนัน้ ๆ
- ไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 10
% ลดลง = (std. - lpcd.)x100
- ไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 20
std.
- ไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 30
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบปริ มาณการใช้ นา้ ของอาคารในแต่ละเดือนจากใบเสร็ จค่านา้ ประปา (หักนา้ ใช้ ในส่วน
อื่นๆ ออก) ย้ อนหลัง 1 ปี นับจากวันตรวจประเมิน แล้ วนามาเฉลี่ยกับพื ้นที่อาคารทัง้ หมดหรื อจานวน
ผู้ใ ช้ อ าคาร โดยน ามาเปรี ย บเที ย บกับ เกณฑ์ ม าตรฐานของอาคารแต่ ล ะประเภท เช่ น อาคาร
สานักงานมีเกณฑ์มาตรฐานการใช้ น ้าเท่ากับ 3.8 ลิตร/ตารางเมตร/วัน หรื อ 70 ลิตร/คน/วัน เป็ นต้ น
48
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.4 สัดส่ วนปริมาณการใช้ นา้ ที่ลดลง…
ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 10 (1 คะแนน)
ราคา = 105 x จานวนเจ้ าหน้ าที่ภายในอาคาร
ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 20 (2 คะแนน )
ราคา = 201 x จานวนเจ้ าหน้ าที่ภายในอาคาร
ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 30 (3 คะแนน )
ราคา = 315 x จานวนเจ้ าหน้ าที่ภายในอาคาร
49
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
การใช้ นา้
50
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
ลาดับที่
3.1
3.1.1
3.1.2
3.1.3
3.1.4
เกณฑ์ การประเมิน
การใช้ น้า
มีการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ เกี ย่ วกับการประหยัดน้า
มีการนาน้าทิ้ งกลับมาใช้ใหม่
การใช้โถสุขภัณฑ์ประหยัดน้า
- มากกว่า ร้อยละ 90 ของจานวนทีต่ ิ ดตัง้ ทัง้ หมด
- ร้อยละ 100 ของจานวนทีต่ ิ ดตัง้ ทัง้ หมด
การใช้ก๊อกประหยัดน้าหรื อมีอปุ กรณ์ควบคุมการเปิ ด - ปิ ด โดยอัตโนมัติ
- มากกว่า ร้อยละ 90 ของจานวนทีต่ ิ ดตัง้ ทัง้ หมด
- ร้อยละ 100 ของจานวนทีต่ ิ ดตัง้ ทัง้ หมด
คะแนน
1
1
1
1
1
1
51
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
3.1 การใช้ น้า
3.1.5 มีการตรวจติ ดตามการใช้น้าย่อยในส่วนหลักของอาคาร
3.1..6 ปริ มาณน้าทิ้ งทีน่ ากลับมาใช้ประโยชน์ (หากอาคารใช้ระบบบาบัดน้าเสียแบบรวมบาบัด
ของกลุ่มอาคารหรื อของเมืองไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์นี)้
- มากกว่าร้อยละ 30 ของปริ มาณน้าทิ้ งทัง้ หมด
- มากกว่าร้อยละ 50 ของปริ มาณน้าทิ้ งทัง้ หมด
3.1.7 มีระบบเก็บกักน้าฝนมาใช้งาน ปริ มาตรเก็บกักไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 10 ของปริ มาตรถัง
เก็บน้าใช้ของอาคาร เพือ่ นาไปใช้ประโยชน์
รวมคะแนนหมวดที่ 3
คะแนน
1
1
1
1
10
52
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.3 การใช้ โถสุขภัณฑ์ ประหยัดนา้
- มากกว่ า ร้ อยละ 90 ของจานวนที่ตดิ ตัง้ ทัง้ หมด
- ร้ อยละ 100 ของจานวนที่ตดิ ตัง้ ทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบคุณสมบัตแิ ละการออกแบบติดตัง้ จากแบบระบบ
ของโถสุขภัณฑ์ ท่กี าหนดไว้ ในเอกสารประกอบแบบ สุขาภิบาล
และ ตรวจนับโถสุขภัณฑ์ ประหยัดนา้ จากการติดตัง้ จริง
การประเมินราคา
โถสุขภัณฑ์ ประหยัดนา้ มีค่าใช้ จ่ายประมาณ 5,000 บาทต่ อ 1 ตัวhttp://market.onlineoops.com/
ถ้ าอาคารต้ องการ 1 คะแนน
“จานวนโถสุขภัณฑ์ ท่ จี ะต้ องเปลี่ยน” เท่ ากับ จานวนโถสุขภัณฑ์ ทงั ้ หมด คูณด้ วย 90%
ถ้ าอาคารต้ องการอีก 1 คะแนน
“จานวนโถสุขภัณฑ์ ท่ จี ะต้ องเปลี่ยน” เท่ ากับ จานวนโถสุขภัณฑ์ ทงั ้ หมด คูณด้ วย 100%
53
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.4 การใช้ ก๊ อกประหยั ด น ้า หรื อมี อุ ป กรณ์
ควบคุมการเปิ ด - ปิ ด โดยอัตโนมัติ
- มากกว่ า ร้ อยละ 90 ของจานวนที่ตดิ ตัง้ ทัง้ หมด
- ร้ อยละ 100 ของจานวนที่ตดิ ตัง้ ทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องก๊ อกประหยัดนา้ หรือมี
อุปกรณ์ ควบคุมการเปิ ด -ปิ ด โดยอัตโนมัตทิ ่ กี าหนดไว้
ในเอกสารประกอบแบบ จากแบบระบบสุขาภิบาล
- ตรวจนับก๊ อกประหยัดนา้ หรือมีอุปกรณ์ ควบคุมการ
เปิ ด-ปิ ด โดยอัตโนมัตจิ ากการติดตัง้ จริง
การประเมินราคา
ราคาค่ าปรับปรุ ง เท่ ากับ จานวนก๊ อก
ที่จ ะต้ องเปลี่ ยน คู ณ ด้ ว ย 856 บาท
ต่ อตัว
54
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.5 มี ก ารตรวจติ ด ตามการใช้ น า้ ย่ อ ยในส่ วนหลั ก ของ
อาคาร
แนวทางการตรวจประเมิน
-ตรวจสอบการติดตัง้ มาตรวัดนา้ ย่ อย
ในส่ วนที่ใช้ กับอาคารและท่ อเมนอื่นๆ
- ตรวจสอบการติดตัง้ จริ งและการใช้ การประเมินราคา
อัตราการใช้ น้าของ
งานได้ จริง
- ติดตามการใช้ นา้ โดยบันทึกข้ อมูล อาคาร (ลบ.ม./ชม.)
อัตราการใช้ นา้ ในส่ วนของอาคารและ น้ อยกว่ า 5 ลบ.ม./ชม.
น้ อยกว่ า 20 ลบ.ม./ชม.
ส่ ว นอื่น ๆ อย่ างน้ อ ยเดื อนละ 1 ครั ้ง น้ อยกว่ า 30 ลบ.ม./ชม.
ตลอดจนแนวทางการป้องกันแก้ ไขให้ น้ อยกว่ า 80 ลบ.ม./ชม.
การใช้ นา้ เป็ นไปอย่ างคุ้มค่ า
น้ อยกว่ า 120 ลบ.ม./ชม.
น้ อยกว่ า 300 ลบ.ม./ชม.
ขนาดมาตรวัดน้า
ขนาด 1/2 นิ้ว (15 มม.)
ขนาด 1 นิ้ว (25 มม.)
ขนาด 2 นิ้ว (50 มม.)
ขนาด 2 1/2 นิ้ว (65 มม.)
ขนาด 4 นิ้ว (100 มม.)
ขนาด 6 นิ้ว (150 มม.)
ราคามาตรวัดต่ อ
ตัว (บาท)
926.00
1,789.00
9,250.00
12,183.00
19,690.00
35,243.00
55
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.6 ปริ ม าณน ้า ทิ ง้ ที่ น ากลั บ มาใช้ ประโยชน์
(หากอาคารใช้ ระบบบาบัดนา้ เสียแบบรวมบาบัด
ของกลุ่ ม อาคารหรื อ ของเมื อ งไม่ ต้ อ งประเมิ น
เกณฑ์ นี)้
- มากกว่ าร้ อยละ 30 ของปริมาณนา้ ทิง้ ทัง้ หมด
- มากกว่ าร้ อยละ 50 ของปริมาณนา้ ทิง้ ทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
-ตรวจสอบการออกแบบระบบนานา้ ทิง้ กลับมา
ใช้ ประโยชน์
-บั น ทึ ก ส ถิ ติ ป ริ มาณ น ้ า ทิ ้ง ที่ น า กลั บไปใ ช้
ประโยชน์ แล้ วเปรี ย บเที ย บกั บ ปริ ม าณน า้ ทิ ง้
ทัง้ หมด
http://www.greywater.com/
56
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.6 ปริมาณนา้ ทิง้ ที่นากลับมาใช้ ประโยชน์ ...
การประเมินราคา
ชนิดเครื่องสู บนา้ ตามอัตราการสู บนา้
(ลิตรต่ อนาที : lpm)
ราคาต่ อชุด (บาท)
100 วัตต์ (31 lpm) รวมระบบท่อจ่าย 1-3 ก๊ อก
4,713
200 วัตต์ (46 lpm) รวมระบบท่อจ่าย 1-5 ก๊ อก
6,900
300 วัตต์ (55 lpm) รวมระบบท่อจ่าย 1-7 ก๊ อก
7,860
400 วัตต์ (63 lpm) รวมระบบท่อจ่าย 1-9 ก๊ อก
15,500
500 วัตต์ (70 lpm) รวมระบบท่อจ่าย 1-10 ก๊ อก
27,000
57
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 3 การใช้ นา้
3.1 การใช้ นา้
3.1.7 มีระบบเก็บกักนา้ ฝนมาใช้ งาน ปริมาตรเก็บ
กักไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 10 ของปริ มาตรถังเก็บนา้
ใช้ ของอาคาร เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการออกแบบระบบเก็บกักนา้ ฝนมาใช้
งานจากแบบระบบสุขาภิบาล และรายการคานวณ
- ตรวจสอบการติดตัง้ จริ ง และบันทึกสถิติปริ มาณ
นา้ ฝนที่นาไปใช้ ประโยชน์
การประเมินราคา
“ราคาเก็บกักนา้ ฝนไว้ ใช้ งาน” เท่ ากับ ปริมาณเก็บกักนา้ ประปาไว้ ใช้ ของอาคาร (ลบ.ม.) คูณ
ด้ วย 10% แล้ วคูณด้ วย 4,400 บาท/ลบ.ม.
Rainwater
from Roof
Rainwater Tank
Pump
58
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
(กรณีอาคารเดิม)
พลังงาน
59
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที
่
4
่
ลาดับที
4.1
4.1.1
4.1.2
4.2
4.2.1
4.3
4.3.1
พลังงาน
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
ก าหนดมาตรการเป้ าหมายในการอนุรั ก ษ์ พลัง งาน จัด ท าแผนปฏิ บัติ ง าน /ด าเนิ น การตาม
แผนปฏิ บตั ิ งานและทบทวนแผนการปฏิ บตั ิ งาน
- ให้ใช้เกณฑ์ ตามกฎหมายสาหรับอาคารควบคุม
- สาหรับอาคารทีไ่ ม่ใช่อาคารควบคุม
มี การรณรงค์และสร้างจิ ตสานึกต่อความสาคัญของการอนุรักษ์ พลังงานให้กบั บุคลากรผูใ้ ช้อาคาร
การจัดสรรบุคลากรรั บผิดชอบด้ านการอนุรักษ์ พลังงาน
มี บคุ ลากรทีท่ าหน้าทีร่ ับผิ ดชอบด้านการอนุรักษ์ พลังงาน
ปริมาณการใช้ พลังงาน
สัดส่วนปริ มาณการใช้พลังงานของอาคารทีเ่ ทียบเท่า หรื อต่ากว่าค่ามาตรฐาน การจัดการใช้
พลังงานสาหรับหน่วยราชการของสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
- เท่ากับหน่วยไฟฟ้ามาตรฐาน
- ต่ากว่าร้อยละ 10
- ต่ากว่าร้อยละ 20
- ต่ากว่าร้อยละ 30
ต้ องผ่ าน
1
1
ต้ องผ่ าน
1
1
1
1
60
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
ลาดับที่
4.4
พลังงาน
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
ระบบปรั บอากาศ (ในกรณีที่อาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี้)
4.4.1 ใช้เครื ่ องปรับอากาศที ่มีประสิ ทธิ ภาพไม่ต่ ากว่าค่าที ่กาหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับที ่ 1 (ประกาศเมื ่อปี
พ.ศ.2538) ออกตามความใน พ.ร.บ.การส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ 2535 อย่างน้อยเป็ นปริ มาณ 50%
ของจานวนตันความเย็นทัง้ หมด และเครื ่องปรับอากาศที ่สงั่ ซื ้อใหม่หลัง พ.ร.บ.การส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน
พ.ศ.2550 มีผลบังคับใช้ตอ้ งผ่านเกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพตามกฎหมายระบุ
- มากกว่าร้อยละ 50
- มากกว่าร้อยละ 75
- ร้อยละ 100
4.4.2 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิอากาศภายในเป็ นโซนย่อย โซนละไม่เกิ น 200 ตารางเมตร
4.4.3 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิระหว่างบริ เวณริ มนอกอาคาร (ทีม่ ีระยะห่างจากผนังภายนอกอาคารเข้ามา
4.5-6 เมตร ) ออกจากบริ เวณภายในอาคาร และแยกโซนการควบคุมอุณหภูมิบริ เวณริ มนอกอาคารออกตามทิ ศ
4.4.4 มีกาหนดการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศเป็ นประจา
1
1
1
1
1
1
61
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
4.5.1 ก าลัง ไฟฟ้าของระบบไฟฟ้ าแสงสว่ างของอาคาร ไม่ เ กิ น ค่ า ที ่ก าหนด ตามกฎกระทรวง ก าหนด
1
ประเภท หรื อขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิ ธีการในการออกแบบอาคารเพือ่ การ
อนุรกั ษ์ พลังงาน พ.ศ.2552 ออกตามความใน พ.ร.บ.การส่งเสริ มการอนุรกั ษ์ พลังงาน พ.ศ.2550
4.5.2 แยกการเปิ ดปิ ดไฟฟ้าส่องสว่างเป็ นโซน
4.6
1
พลังงานหมุนเวียน
4.6.1 มีการผลิ ตพลังงานหมุนเวียนภายในอาคาร หรื อในพืน้ ทีโ่ ครงการ
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 0.5 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
1
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
คะแนนรวมหมวดที่ 4
1
16
62
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.1 การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
4.1.1 กาหนดมาตรการเป้าหมายในการอนุ รั กษ์
พลั ง งาน จัด ท าแผนปฏิบัติง าน/ด าเนิ น การตาม
แผนปฏิบัตงิ าน และทบทวนแผนการปฏิบัตงิ าน
- ให้ ใช้ เกณฑ์ ตามกฎหมายสาหรับอาคารควบคุม
“ ต้ องผ่ าน ”
- สาหรับอาคารที่ไม่ ใช่ อาคารควบคุม
“ 1 คะแนน ”
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจเอกสารรายงานการจัดการพลังงาน หรื อ
รายงานเป้าหมายและแผนอนุรักษ์ พลังงาน
63
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.1 การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ ว ยประเมิน จากราคาการจั ด จ้ างบริ ษั ทที่ปรึ กษาด้ านอนุ รั ก ษ์ พลั ง งานมา
ดาเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์ การใช้ พลังงานของอาคาร (Energy Audit) โดยประเมิน
ราคาการดาเนินงานตามขนาดพืน้ ที่ใช้ สอยรวมของอาคาร
ขนาดของอาคาร
พื้นทีใ่ ช้ สอย
ราคา (บาท)
อาคารขนาดเล็ก
< 2,000 m2
200,000
อาคารขนาดกลาง
2,000 m2 - 9,999 m2
350,000
อาคารขนาดใหญ่
≥ 10,000 m2
450,000
64
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.1 การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
4.1.2 มี ก า ร ร ณ ร ง ค์ แ ล ะ ส ร้ า ง จิ ต ส า นึ ก ต่ อ
ความส าคั ญ ของการอนุ รั กษ์ พลั ง งานให้ กั บ
บุคลากรผู้ใช้ อาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบเอกสารรายงานสรุ ป การจั ด
อบรมสัมมนาด้ านการอนุ รักษ์ พลังงานและสารวจ
การมีอยู่จริงของสื่อประชาสัมพันธ์ ท่ เี กี่ยวข้ อง
การประเมินราคา
ราคาต่ อ หน่ ว ยคิด จากค่ าใช้ จ่ า ยในการจั ด อบรมสั ม มนาสร้ างจิต ส านึ ก ด้ านการ
อนุ รั กษ์ พลั ง งานให้ กับบุคลากรผู้ ใ ช้ อ าคารอย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั ้ง รวมทัง้ เอกสารเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ท่ เี กี่ยวข้ องโดยพิจารณาค่ าใช้ จ่ายที่ ประมาณ 500 บาท/จานวนบุคลากรประจา
อาคาร (คน)
65
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.2 การจัดสรรบุคลากรรั บผิดชอบด้ านการอนุรักษ์ พลังงาน
4.2.1 มีบุคลากรที่ทาหน้ าที่รับผิดชอบด้ านการอนุรักษ์
พลังงาน
แนวทางในการตรวจประเมิน
ส าหรั บ อาคารควบคุ ม และอาคารที่ ไ ม่ ใช่ อาคาร
ควบคุม จะต้ องมีเจ้ าหน้ าที่รับผิดชอบกิจกรรมด้ านการ
อนุ รักษ์ พลังงานในอาคารของตน 1 คนโดยได้ รับ
มอบหมายจากหัวหน้ าหน่ วยงานเป็ นลายลักษณ์ อักษร
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้
เนื่องจากเป็ นเกณฑ์ ข้อบังคับที่ต้องผ่ าน และไม่ มีค่าใช้ จ่าย
สาหรับการออกประกาศแต่ งตัง้ บุคลากรผู้รับผิดชอบ
66
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.3 ปริมาณการใช้ พลังงาน
4.3.1 สัดส่ วนปริมาณการใช้ พลังงานของอาคารที่
เทียบเท่ า หรื อต่ ากว่ าค่ ามาตรฐาน การจัดการใช้
พลั ง งานส าหรั บ หน่ วยราชการของส านั ก งาน
นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
- เท่ ากับหน่ วยไฟฟ้ามาตรฐาน
- ต่ากว่ าร้ อยละ 10
- ต่ากว่ าร้ อยละ 20
- ต่ากว่ าร้ อยละ 30
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบใบเสร็จค่ าไฟฟ้าย้ อนหลังทุกเดือนเป็ นระยะเวลา 1 ปี
- ตรวจสอบการคานวณปริมาณการใช้ ไฟฟ้าเทียบกับค่ ามาตรฐานของ สนพ.
67
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.3 ปริมาณการใช้ พลังงาน
การประเมินราคา
คะแนนที่ 1 เท่ ากับหน่ วยไฟฟ้ามาตรฐาน
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.1 x 3.55 x จานวนหน่ วยการใช้ ไฟฟ้า (kWh/ปี )
คะแนนที่ 2 ต่ากว่ าร้ อยละ 10
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.2 x 3.55 x จานวนหน่ วยการใช้ ไฟฟ้า (kWh/ปี )
คะแนนที่ 3 ต่ากว่ าร้ อยละ 20
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.3 x 3.55 x จานวนหน่ วยการใช้ ไฟฟ้า (kWh/ปี )
คะแนนที่ 4 ต่ากว่ าร้ อยละ 30
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.4 x 3.55 x จานวนหน่ วยการใช้ ไฟฟ้า (kWh/ปี )
68
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.1 ใช้ เครื่ องปรั บอากาศที่มีประสิทธิภาพไม่ ต่ ากว่ าค่ าที่กาหนดไว้ ในกฎกระทรวงฉบับที่ 1
(ประกาศเมื่อปี พ.ศ.2538) ออกตามความใน พ.ร.บ.การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535
อย่ างน้ อยเป็ นปริ มาณ 50% ของจานวนตันความเย็นทัง้ หมด และเครื่ องปรั บอากาศที่ สั่งซือ้
ใหม่ ห ลั ง พ.ร.บ.การส่ ง เสริ มการอนุ รั กษ์ พ ลั ง งาน พ.ศ.2550 มีผ ลบัง คับ ใช้ ต้ องผ่ านเกณฑ์
ประสิทธิภาพตามกฎหมายระบุ
- มากกว่ าร้ อยละ 50
- มากกว่ าร้ อยละ 75
- ร้ อยละ 100
69
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ (ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบค่ า COP หรือ EER หรือ KW/TR ของเครื่องปรับอากาศที่ใช้ ในโครงการ จากเอกสาร
รั บรองประสิทธิภาพเครื่ องปรั บอากาศ และเครื่ องทาความเย็นจากหน่ วยงานที่เชื่อถื อได้ หรื อ
เอกสารจากผู้ผลิต
ฉลากประหยัดไฟ เบอร์ 5
การตรวจสอบประสิทธิภาพ
ของเครื่องปรับอากาศ
70
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ(ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
การประเมินราคา
ค่ าใช้ จ่ายเฉลี่ยต่ อความสามารถในการทาความเย็นของเครื่ องปรั บอากาศประสิทธิภาพสูงที่
1.50 บาท/บีทยี ู/ชั่วโมง หรื อ 18,000 บาท/ตันความเย็น ทัง้ นี ้ โดยที่ 1 ตันความเย็น (TR) = 12,000 บี
ทีย/ู ชั่วโมง (Btu/hr)
คะแนนที่ 1 มากกว่ าร้ อยละ 50
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 0.5 x ขนาดตันความเย็นติดตัง้ รวม (TR) x 18,000 (บาท/TR)
หรือ ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 0.5 x ขนาดความเย็นติดตัง้ รวม (Btu/hr) x 1.50 (บาท/ Btu/hr)
คะแนนที่ 2 มากกว่ าร้ อยละ 75
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 0.75 x ขนาดตันความเย็นติดตัง้ รวม (TR) x 18,000 (บาท/TR)
หรือ ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 0.75 x ขนาดความเย็นติดตัง้ รวม (Btu/hr) x 1.50 (บาท/ Btu/hr)
คะแนนที่ 3 ร้ อยละ 100
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 1.0 x ขนาดตันความเย็นติดตัง้ รวม (TR) x 18,000 (บาท/TR)
หรือ ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = 1.0 x ขนาดความเย็นติดตัง้ รวม (Btu/hr) x 1.50 (บาท/ Btu/hr)
71
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.2 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิอากาศภายในเป็ นโซน
ย่ อย โซนละไม่ เกิน 200 ตารางเมตร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบการแยกโซนควบคุมการทางานของระบบปรั บ
อากาศจากแบบระบบปรับอากาศ
การประเมินราคา
ราคาต่ อ หน่ วยคิ ด จากค่ า ใช้ จ่ า ยเพื่ อ ติ ด ตั ง้ Electronic
Thermostat (2,000 บาทต่ อชุดต่ อจุด) เพื่อควบคุมอุณหภูมิ
ภายในห้ องปรั บอากาศเพิ่มเติมในทุกๆ 200 ตารางเมตร
ของพืน้ ที่ใช้ สอยที่เป็ นพืน้ ที่ปรั บอากาศ หรื อ [พืน้ ที่ปรั บ
อากาศ (m2) / 200(m2)] x 2,000 บาท/จุด
72
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.3 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิระหว่ างบริ เวณริ มนอก
อาคาร (ที่มีระยะห่ างจากผนังภายนอกอาคารเข้ ามา 4.5 - 6
เมตร) ออกจากบริ เ วณภายในอาคารและแยกโซนการ
ควบคุมอุณหภูมบิ ริเวณริมนอกอาคารออกตามทิศ
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการแยกโซนควบคุมการทางานของระบบปรั บ
อากาศจากแบบระบบปรับอากาศ
- ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ติ ด ตั ้ ง จ ริ ง แ ล ะ ท ด ล อ ง ใ ช้ ง า น
เครื่ องปรั บอากาศ และอุ ป กรณ์ ควบคุ มโดยการเปิ ด-ปิ ด
และปรับตัง้ อุณหภูมขิ องเครื่องปรั บอากาศ
73
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายเพื่อติดตัง้ Electronic Thermostat (2,000 บาท /ชุด/จุด)
เพื่อควบคุมอุณ หภูมิ ภายในห้ องปรั บอากาศที่มีระยะห่ างจากผนั งภายนอกอาคารเข้ ามา
4.5 - 6 เมตร ออกจากบริ เ วณภายในอาคาร และพิจ ารณาการแบ่ ง เป็ นโซนย่ อ ยทุ ก ๆ
200 ตารางเมตร ของพืน้ ที่ใช้ สอยที่เป็ นพืน้ ที่ปรับอากาศไปพร้ อมกัน หรือ
[พืน้ ที่ปรับอากาศ (m2) / 200(m2)] x 2,000 บาท/จุด
74
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.4 มีกาหนดการซ่ อมบารุ งระบบปรั บอากาศเป็ นประจา
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบเอกสารการซ่ อมบารุ งที่แสดงวัน เวลา
ต าแหน่ ง ที่ติด ตั ง้ เครื่ อ งปรั บ อากาศ และรายละเอีย ดการ
ซ่ อมบารุ ง โดยมีผ้ ูรับผิดชอบด้ านพลังงาน (อาคาร) ลงนาม
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายเพื่อการบารุ งรั กษา (ล้ าง) เครื่ องปรั บอากาศ
เป็ นประจา อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครั ง้ (สาหรั บ Split และ Package), อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั ง้
(สาหรั บ Chiller)
โดยพิจารณาแยกค่ าใช้ จ่ า ยของการบ ารุ ง รั ก ษาตามชนิ ด ของ
เครื่องปรับอากาศที่ตดิ ตัง้ ใช้ งาน
75
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.4 มีกาหนดการซ่ อมบารุ งระบบปรั บอากาศเป็ นประจา
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายเพื่อการบารุ งรั กษา (ล้ าง) เครื่ องปรั บอากาศเป็ นประจา
อย่ างน้ อยปี ละ 2 ครั ง้ (สาหรั บ Split และ Package), อย่ างน้ อยปี ละ 1 ครั ง้ (สาหรั บ Chiller) โดย
พิจารณาแยกค่ าใช้ จ่ายของการบารุ งรักษาตามชนิดของเครื่องปรับอากาศที่ตดิ ตัง้ ใช้ งาน
ชนิดเครื่ องปรั บอากาศ
ค่ าใช้ จ่ายประมาณ
แบบแยกส่ วน (Split Type)
1,000
บาท/ชุด/ปี
แบบเป็ นชุด (Package Unit)
2,000
บาท/ชุด/ปี
แบบรวมศูนย์ (Chiller Unit)
10,000
บาท/ชุด/ปี
76
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
ราคาต่อหน่วยคิดจากค่าใช้ จ่ายลงทุน
ปรับปรุงเพื่อลดกาลังไฟฟ้าติดตั ้งของระบบ
พลังงาน
ไฟฟ้าแสงสว่างต่อพื ้นที่ใช้ สอยรวม โดยการ
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
เปลี่ยนใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ T5 ขนาด 28
มบัลลาสต์อิเล็กทรอนิ
4.5.1 ก าลั ง ไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ าแสงสว่ า งของอาคาร ไม่วัตเต์กิ/หลอด
น ค่ า ทีพร้่ กอาหนด
ตามกส์ที่
ขั ้วหลอด (แบบถอดหลอดเดิ
มสวมทดแทนกฎกระทรวง กาหนด ประเภท หรื อขนาดของอาคาร และมาตรฐาน
หลักเกณฑ์
และ
Retrofitting) ทดแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์
วิ ธี ก ารในการออกแบบอาคารเพื่อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน พ.ศ.2552
ออกตามความใน
T8 ขนาด 36 วัตต์/หลอด เดิม โดยการเปลี่ยน
พ.ร.บ.การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2550
ใช้ T5 (28 Watt) 350 บาท/ชุด และพิจารณา
ค่าในการลงทุ
นที่ระยะเวลาคืนทุนไม่
ค่ ากาลังไฟฟ้าส่ องสว่ าง = (Watt totalความคุ
) / (A้ มtotal
)
เกิน 2 ปี ทลาให้
ค่าใช้ จ) ่ามียต่หอน่หน่วยเป็
วยที่พนวั
ิจารณา
Watt total คือ ผลรวมกาลังไฟฟ้าติดตัง้ ของโคมไฟ (หลอดไฟรวมบั
ลาสต์
ตต์
25 บาท/ตร.ม ดังนั ้น
A total
คือ ผลรวมของพืน้ ที่ใช้ สอยทัง้ หมดของอาคาร มีมีหราคา
น่ วยเป็
นตารางเมตร
ค่าใช้ จ่ายรวมในการปรับปรุง
แนวทางในการตรวจประเมิน
= พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
หมวดที่ 4
ตรวจสอบแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่ างเพื่อคานวณ
ค่ ากาลังไฟฟ้าส่ องสว่ าง
77
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
ราคาต่อหน่วยคิดจากค่าใช้ จ่ายลงทุน
ปรับปรุงเพื่อลดกาลังไฟฟ้าติดตั ้งของระบบ
ไฟฟ้าแสงสว่างต่อพื ้นที่ใช้ สอยรวม โดยการ
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
เปลี่ยนใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ T5 ขนาด 28
4.5.1 กาลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าแสงสว่ างของอาคาร ไม่ เวักิตนต์/ค่หลอด
าที่กพร้าหนด...
อมบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ที่
ราคาคานวณจากค่ าใช้ จ่ายลงทุนปรั บปรุ งเพื่อลดกาลังไฟฟ
้ าติดตั(แบบถอดหลอดเดิ
ง้ ของระบบไฟฟ
้ าแสงสว่ าง
ขั ้วหลอด
มสวมทดแทนRetrofitting)
ทดแทนหลอดฟลู
ออเรสเซนต์
ต่ อพืน้ ที่ใช้ สอยรวม โดยการเปลี่ยนใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์
T5 ขนาด
28 วัตต์ /หลอด
พร้ อม
T8 ขนาด 36 วัตต์/หลอด เดิม โดยการเปลี
่ ยน
บัลลาสต์ อิเล็กทรอนิกส์ ท่ ีขัว้ หลอด (แบบถอดหลอดเดิมสวมทดแทน-Retrofitting)
ทดแทน
ใช้ T5 (28 Watt) 350 บาท/ชุด และพิจารณา
หลอดฟลูออเรสเซนต์ T8 ขนาด 36 วัตต์ /หลอด เดิมเพราะฉะนั
น้
ความคุ้มค่าในการลงทุนที่ระยะเวลาคืนทุนไม่
ค่ าใช้ จ่ายรวมในการปรับปรุ ง = พท. ใช้เกิสน อยรวม
2 ปี ทาให้ คx่า25
ใช้ จ่าบาท/ตร.ม
ยต่อหน่วยที่พิจารณา
มีราคา 25 บาท/ตร.ม ดังนั ้น
ค่าใช้ จ่ายรวมในการปรับปรุง
= พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
หมวดที่ 4
พลังงาน
78
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
4.5.2 แยกการเปิ ดปิ ดไฟฟ้าส่ องสว่ างเป็ นโซน
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบการแยกโซนควบคุมการเปิ ด-ปิ ดไฟฟ้าส่ อง
สว่ า ง จากแบบระบบไฟฟ้ าส่ อ งสว่ า ง โดยค านวณโซน
ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดไฟฟ้ าส่ องสว่ างต่ อตารางเมตรแล้ ว
เปรียบเทียบกับเกณฑ์
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคานวณจากค่ าใช้ จ่ายลงทุนปรั บปรุ งเพื่อแยก Line Switch หรื อ การ
ติดตัง้ สวิทซ์ กระตุกที่โคมไฟฟ้าในแต่ ละโชนย่ อยทุกๆ 200 ตารางเมตร หรื อ โคม FL 2 x 36
W ประมาณ 50 โคม /200 ตารางเมตร โดยค่ าใช้ จ่ายในการปรั บปรุ งแต่ ละโซนประมาณ
2,500 บาท ดังนัน้ ราคาต่ อหน่ วย = [พท.ใช้ สอยรวม / 200] x 2,500 บาท
79
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.6 พลังงานหมุนเวียน
4.6.1 มีการผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในอาคาร หรื อ
ในพืน้ ที่โครงการ
- ไม่ น้ อยกว่ าร้ อยละ 0.5 ของปริ มาณการใช้ พลัง งาน
ทัง้ หมดของอาคาร
- ไม่ น้ อยกว่ า ร้ อยละ 1 ของปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งาน
ทัง้ หมดของอาคาร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ทางเลือกที่ 1 ตรวจสอบระบบผลิตพลังงานจากแหล่ งพลังงานหมุนเวียน และรายการ
คานวณปริมาณพลังงานที่ผลิตได้ เปรียบเทียบกับปริมาณการใช้ พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
ทางเลือกที่ 2 บันทึกการผลิตพลังงานหมุนเวียนรายเดือนตลอด 1 ปี ย้ อนหลังนับจากวันรั บ
การประเมิน แล้ วนาค่ าเฉลี่ยมาเปรียบเทียบกับปริมาณการใช้ พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
80
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 4
พลังงาน
4.6 ระบบพลังงานหมุนเวียน
4.6.1 มีการผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในอาคาร...
การประเมินราคา
เซลแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ขนาดพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร (ราคา 30,000 บาท/ตรม.)
สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ เฉลี่ยที่ประมาณ 150 kWh/ปี /ตร.ม. ทาให้ ราคาต่ อหน่ วย
โดยเฉลื่ยของพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ จากเซลแสงอาทิตย์ พจิ ารณาที่ 200 บาท/kWh/ปี
คะแนนที่ 1 ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 0.5 ของปริมาณการใช้ พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = (0.5 /100) x หน่ วยการใช้ พลังงานไฟฟ้าต่ อปี x 200 บาท
คะแนนที่ 2 ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 1 ของปริมาณการใช้ พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
ค่ าใช้ จ่ายในการลงทุน = (1/100) x หน่ วยการใช้ พลังงานไฟฟ้าต่ อปี x 200 บาท
81
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 4
พลังงาน
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
แบ่ งออกเป็ น
2 ทางเลือก
82
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4
พลังงาน
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
ทางเลือกที่ 1
83
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
4.1 การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
4.1.1 มี ก ารรณรงค์ แ ละสร้ า งจิ ต ส านึ ก ต่ อ ความส าคัญ ของการอนุรั ก ษ์ พลัง งานใ ห้ กับ
1
บุคลากรผูใ้ ช้อาคาร
4.2 การจัดสรรบุคลากรรั บผิดชอบด้ านการอนุรักษ์ พลังงาน
4.2.1 มีบคุ ลากรทีท่ าหน้าทีร่ บั ผิ ดชอบด้านการอนุรกั ษ์ พลังงาน
ต้องผ่าน
4.3 การติดตามข้ อมูลการใช้ พลังงาน
4.3.1 มี บนั ทึกการใช้พลังงานในอาคาร ทีส่ ามารถจาแนกการใช้พลังงานในส่วนระบบปรับ
1
อากาศและไฟฟ้ าแสงสว่าง
84
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่1
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่อี าคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี้)
4.4.1 ใช้ เ ครื ่ อ งปรั บ อากาศและส่ ว นอื ่ น ๆ ของระบบปรับ อากาศที ่มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพหรื อ สัม ปร ะสิ ท ธิ์
สมรรถนะ เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนด *
4.4.2 ใช้เครื ่องปรับอากาศหรื อเครื ่องทาน้าเย็นที ่มีประสิ ทธิ ภาพสูงกว่าค่าที ่กาหนดในหัวข้อ 4.4.1 (หาก
มีการใช้งานเครื ่องปรับอากาศหลายรูปแบบ ให้คานวณคะแนนโดยถ่วงเฉลีย่ กับพืน้ ที )่
- สูงกว่าร้อยละ 5
- สูงกว่าร้อยละ 10
- สูงกว่าร้อยละ 15
4.4.3 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิอากาศภายในเป็ นโซนย่อย โซนละไม่เกิ น 200 ตร.ม.
4.4.4 แยกโซนการควบคุม อุณ หภู มิ ร ะหว่ า งบริ เวณริ มนอกอาคาร (ที ่มี ร ะยะห่ า งจากผนัง
ภายนอกอาคารเข้ามา 4.5 – 6 เมตร) ออกจากบริ เวณภายในอาคาร และแยกโซนการ
ควบคุมอุณหภูมิบริ เวณริ มนอกอาคารออกตามทิ ศ
4.4.5 มีกาหนดการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศเป็ นประจา
คะแนน
ต้ องผ่ าน
1
1
1
1
1
1
85
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
4.5.1 กาลังไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ าแสงสว่างของอาคาร ไม่เกิ นค่าทีก่ าหนดตาม “กฏกระทรวง
กาหนด ประเภท หรื อขนาดของอาคารและมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิ ธีการในการ
ออกแบบอาคารเพือ่ การอนุรกั ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2552” ออกตามความใน พ.ร.บ. การ
ส่งเสริ มการอนุรกั ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2550
4.5.2 กาลังไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ าแสงสว่างของอาคาร ต่ากว่าค่ามาตรฐานในหัวข้อ 4.5.1
- ต่ากว่าร้อยละ 10
- ต่ากว่าร้อยละ 20
- ต่ากว่าร้อยละ 30
- ต่ากว่าร้อยละ 40
4.5.3 แยกการเปิ ดปิ ดไฟฟ้ าส่องสว่างเป็ นโซน
คะแนน
ต้องผ่าน
1
1
1
1
1
86
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
4.6 เปลือกอาคาร (ในกรณีที่อาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศ ไม่ ต้องประเมินใน
หมวดนี้)
4.6.1 ค่าการถ่ายเทความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV) และค่าการถ่ายเทความร้ อนของผนัง ต้ องผ่ าน
ภายนอก (OTTV) เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนด ***
4.6.2 ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของหลังคา (RTTV) ต่ากว่ามาตรฐานในหัวข้อ 4.6.1
- ต่ากว่าร้อยละ 20
1
- ต่ากว่าร้อยละ 30
1
4.6.3 ค่าการถ่ายเทความร้อนของผนังภายนอก (OTTV) ต่ากว่ามาตรฐานในหัวข้อ 4.6.1
- ต่ากว่าร้อยละ 20
1
- ต่ากว่าร้อยละ 30
1
- ต่ากว่าร้อยละ 40
1
- ต่ากว่าร้อยละ 50
1
- ต่ากว่าร้อยละ 60
1
87
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
4.7 ปริมาณการใช้ พลังงาน
4.7.1 มี ปริ มาณการใช้พลังงานของอาคารต่ากว่าค่ามาตรฐานการจัดการใช้พลังงานสาหรับ
หน่วยราชการของสานักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)
1
- ต่ากว่าร้อยละ 10
1
- ต่ากว่าร้อยละ 20
1
- ต่ากว่าร้อยละ 30
4.8 พลังงานหมุนเวียน
4.8.1 มีการผลิ ตพลังงานหมุนเวียนภายในอาคาร หรื อในบริ เวณโครงการ
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 0.5 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
1
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
1
รวมคะแนนหมวดที่ 4
25
88
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.3 การติดตามข้ อมูลการใช้ พลังงาน
4.3.1 มี บั น ทึ ก การใช้ พลั ง งานในอาคาร ที่ ส ามารถ
จ าแนกการใช้ พ ลั ง งานในส่ ว นระบบปรั บ อากาศและ
ไฟฟ้าแสงสว่ าง
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการติดตัง้ มาตรวัดปริมาณการใช้ พลังงานของ
ระบบปรับอากาศและไฟฟ้าแสงสว่ าง
- ตรวจสอบบัน ทึก ข้ อมู ล ปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งานแต่ ล ะ
ระบบที่ต้องบันทึกโดยต่ อเนื่องทุกเดือน
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคานวณจากค่ าใช้ จ่ายในการติดตัง้ มาตรย่ อยวัดการใช้ พลังงานไฟฟ้าของระบบ
เครื่ องปรั บอากาศและไฟฟ้าแสงสว่ างย่ อย อย่ างน้ อยชัน้ ละ 2 ชุด ชุดละ 10,000 บาท คิดเป็ น
ราคาต่ อหน่ วย 20,000 บาทต่ อจานวนชัน้ ของอาคาร
89
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
4.4.1 ใช้ เ ครื่ องปรั บ อากาศและส่ ว นอื่ น ๆ ของระบบ
ปรั บอากาศ ที่ มี ปร ะสิ ท ธิ ภ าพ ห รื อสั มปร ะสิ ท ธิ์
สมรรถนะ เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบค่ า COP หรื อ EER ของเครื่ องปรั บอากาศที่ใช้
ใ น โ ค ร ง ก า ร จ า ก เ อ ก ส า ร รั บ ร อ ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
เครื่ อ งปรั บ อากาศและเครื่ องท าความเย็น จากหน่ ว ยงานที่
เชื่อถือได้ หรื อเอกสารจากผู้ผลิต แล้ วนามาเปรี ยบเทียบกับ
ค่ าที่กาหนดตามกฎหมายรายละเอียดมาตรฐานระบบปรั บ
อากาศ ดังแสดงในตารางที่ 4-1 และตารางที่ 4-2
90
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
ตารางที่ 4-1 : ค่ าประสิทธิภาพขัน้ ต่าของเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก
ประเภทและขนาด
ชนิดระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (แบบแยกส่ วนและแบบเป็ นชุด)
น้ อยกว่า 3,500 วัตต์ (0.995 ตันความเย็น)
ตังแต่
้ 3,500 วัตต์ แต่ไม่เกิน 17,600 วัตต์ (5.00 ตันความเย็น)
เกินกว่า 17,600 วัตต์ (5.00 ตันความเย็น)
ชนิดระบายความร้ อนด้ วยนา้
ทุกขนาดความเย็น
สัมประสิทธิ์สมรรถนะขัน้ ต่า
COP, (EER = BTU/hr/W)
2.82, (9.62)
2.82, (9.62)
2.56, (8.74)
3.99, (13.62)
91
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
ตารางที่ 4-2 : ค่ าประสิทธิภาพขัน้ ต่าของทาเครื่องทานา้ เย็น
ประเภทและขนาด
ชนิดระบายความร้ อนด้ วยอากาศ
น้ อยกว่าหรื อเท่ากับ 351.7 กิโลวัตต์ (100 ตันความเย็น)
เกินกว่า 351.7 กิโลวัตต์ (100 ตันความเย็น)
ชนิดระบายความร้ อนด้ วยนา้
น้ อยกว่า 527.5 กิโลวัตต์ (150 ตันความเย็น)
ตังแต่
้ 527.5 กิโลวัตต์ แต่ไม่เกิน 703.3 กิโลวัตต์ (200 ตันความเย็น)
ตังแต่
้ 703.3 กิโลวัตต์ แต่ไม่เกิน 879.2 กิโลวัตต์ (250 ตันความเย็น)
ตังแต่
้ 879.2 กิโลวัตต์ แต่ไม่เกิน 1,758.3 กิโลวัตต์ (500 ตันความเย็น)
เกินกว่า 1,758.3 กิโลวัตต์ (500 ตันความเย็น)
สัมประสิทธิ์สมรรถนะขัน้ ต่า
COP, (EER = BTU/hr/W)
2.70, (1.30)
2.93, (1.20)
3.91, (0.90)
4.69, (0.75)
5.25, (0.67)
5.40, (0.65)
5.67, (0.62)
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้
จ่ า ย ส า ห รั บ เ ก ณ ฑ์ ใ น ข้ อ นี ้
เนื่ องจากเป็ นเกณฑ์ ข้ อบัง คั บที่
ต้ องผ่ านและต้ องดาเนินการตาม
กฎกระทรวงของการก่ อสร้ าง
อาคารใหม่
ที่มา: กฎกระทรวง หมวดที่ 3 ระบบปรับอากาศ ออกตามความใน พ.ร.บ. การส่งเสริม
การอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535 ฉบับแก้ ไขเพิม่ เติม พ.ศ.2550
92
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 ระบบปรั บอากาศ (ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
4.4.2 ใช้ เครื่องปรับอากาศหรือเครื่องทานา้
เย็นที่มีประสิทธิภาพสูงกว่ าค่ าที่กาหนดใน
หัวข้ อ 4.4.1 (หากมีการใช้ งานเครื่องปรับอากาศหลาย
รูปแบบ ให้ คานวณคะแนนโดยถ่วงเฉลี่ยกับพื ้นที่)
- สูงกว่ าร้ อยละ 5
- สูงกว่ าร้ อยละ 10
-สูงกว่ าร้ อยละ 15
การประเมินราคา
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบค่ า COP หรื อ EER ของ
เครื่ องปรั บอากาศที่ใ ช้ แ ล้ ว น ามาเปรี ยบเทียบ
กั บ ค่ า ที่ ก าหนดตาม“ประกาศกระทรวง เรื่ อง
การกาหนดค่ าสัมประสิทธิ์สมรรถนะขัน้ ต่ า ค่ า
ประสิทธิภาพการให้ ความเย็นและค่ าพลังไฟฟ้า
ต่ อตันความเย็นของระบบปรับอากาศที่ตดิ ตัง้ ใช้
งานในอาคาร พ.ศ.2552”
ชนิดเครื่องปรับอากาศ(Non CFC)
ค่ าใช้ จ่ายประมาณ
แบบแยกส่วน (Split Type)
บาท/ตันความเย็น
1.80 บาท/Btu/hr 21,600
แบบเป็ นชุด (Package Unit)
บาท/ตันความเย็น
2.40 บาท/Btu/hr 28,800
แบบรวมศูนย์ (Chiller Unit)
บาท/ตันความเย็น
3.00 บาท/Btu/hr 36,000
93
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.5 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
4.5.2 กาลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้ า
แสงสว่ างของอาคาร ต่ า กว่ าค่ า
มาตรฐานในหัวข้ อ 4.5.1
- ต่ากว่ าร้ อยละ 10
- ต่ากว่ าร้ อยละ 20
- ต่ากว่ าร้ อยละ 30
- ต่ากว่ าร้ อยละ 40
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบระบบไฟฟ้าแสง
สว่ าง และรายการคานวณกาลังไฟฟ้ า
(วั ต ต์ ) ต่ อ พื น้ ที่ใ ช้ ง าน(ตารางเมตร)
ของระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
- ตรวจสอบการติดตัง้ จริง
การประเมินราคา
คะแนนที่ 1 ต่ากว่ าร้ อยละ 10
ค่ าใช้ จ่ายรวม = พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
คะแนนที่ 2 ต่ากว่ าร้ อยละ 20
ค่ าใช้ จ่ายรวม = 1.10 x พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
คะแนนที่ 3 ต่ากว่ าร้ อยละ 30
ค่ าใช้ จ่ายรวม = 1.20 x พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
คะแนนที่ 4 ต่ากว่ าร้ อยละ 40
ค่ าใช้ จ่ายรวม = 1.30 x พท.ใช้ สอยรวม x 25 บาท/ตร.ม
94
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.6 เปลือกอาคาร (ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศ ไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
4.6.1 ค่ าการถ่ ายเทความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV) และค่ าการถ่ ายเทความ
ร้ อนของผนังภายนอก (OTTV) เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด
แนวทางการตรวจประเมิน
OTTV ไม่เกิน 50
ตรวจสอบแบบก่ อสร้ าง และรายการคานวณ ค่ าการถ่ ายเท
W/m
ความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV) และค่ าการถ่ ายเทความร้ อน
ของผนั งภายนอก (OTTV) โดยวิธีคานวณ ในที่นีใ้ ห้ อ้างอิง
ข้ อกาหนดในกฎกระทรวงหมวดที่ 1 ระบบกรอบอาคาร ออก
ตามความใน พ.ร.บ.การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.2535
ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยเนื่ องจากเป็ นเกณฑ์ ข้อบังคับที่ต้องผ่ านและต้ องดาเนินการตามกฎกระทรวง
ของการก่ อสร้ างอาคารใหม่ โดยค่ าการถ่ ายเทความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV) และค่ าการถ่ ายเท
ความร้ อนของผนังภายนอก (OTTV) เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด
95
RTTV ไม่เกิน 15
W/m2
2
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.6 เปลือกอาคาร
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศ ไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.6.2 ค่ าการถ่ ายเทความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV) ต่า
กว่ ามาตรฐานในหัวข้ อ 4.6.1
- ต่ากว่ าร้ อยละ 20
- ต่ากว่ าร้ อยละ 30
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบแบบก่ อสร้ าง และรายการคานวณ RTTV โดย
วิ ธี ค าน วณ ในที่ นี ้ ใ ห้ ใช้ แนวท างตามที่ ระบุ ไ ว้ ใ น
กฎกระทรวง หมวดที่ 1 ระบบกรอบอาคาร ออกตามความ
ใน พระราชบั ญ ญั ติ ก ารส่ งเสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน
พ.ศ.2535 ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550
96
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.6 เปลือกอาคาร (ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศ ไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
4.6.2 ค่ าการถ่ ายเทความร้ อนรวมของหลังคา (RTTV)...
การประเมินราคา
พืน้ ที่หลังคาที่คดิ RTTV = พืน้ ที่หลังคาเฉพาะของห้ องปรับอากาศที่มีแสงตกกระทบโดยตรง
คะแนนที่ 1 ต่ากว่ าร้ อยละ 20 (ค่ า RTTV ลดลง 3 W/ m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกใช้ ฉนวนใยแก้ ว หนา 2 นิว้ หุ้มอลูมเิ นียมฟอลย์ 2
ด้ าน (ความหนาแน่ น 24 kg/m3) ราคาโดยเฉลี่ย 135 บาท/ตร.ม (พืน้ ที่หลังคาที่คดิ RTTV)
ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 135 บาท x พืน้ ที่หลังคาที่คดิ RTTV
คะแนนที่ 2 ต่ากว่ าร้ อยละ 30 (ค่ า RTTV ลดลง 4.5 W/m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกใช้ ฉนวนใยแก้ ว หนา 4 นิว้ หุ้มอลูมเิ นียมฟอลย์ 2
http://www.mcgrathinsurancegroup.com
ด้ าน (ความหนาแน่ น 24 kg/m3) ราคาโดยเฉลี่ย 185 บาท/ตร.ม.
(พืน้ ที่หลังคาที่คดิ RTTV)
ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 185 บาท x พืน้ ที่หลังคาที่คดิ RTTV
97
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.6 เปลือกอาคาร (ในกรณีท่ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรับอากาศ ไม่ ต้องประเมินในหมวดนี)้
4.6.3 ค่ าการถ่ ายเทความร้ อนของผนั ง ภายนอก
(OTTV) ต่ากว่ ามาตรฐานในหัวข้ อ 4.6.1
- ต่ากว่ าร้ อยละ 20
- ต่ากว่ าร้ อยละ 50
- ต่ากว่ าร้ อยละ 30
- ต่ากว่ าร้ อยละ 60
- ต่ากว่ าร้ อยละ 40
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบก่ อสร้ าง และรายการค านวณ
OTTVโดยวิธีคานวณให้ เป็ นไปตามแนวทางที่กาหนดไว้ ใน
กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ก าร
ส่ งเสริ ม การอนุ รั กษ์ พลั ง งาน พ.ศ.2535 ฉบั บ แก้ ไข
เพิ่มเติม พ.ศ.2550
- ตรวจสอบการก่ อสร้ างจริง
98
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
4.6.3 ค่ าการถ่ ายเทความร้ อนของผนังภายนอก
การประเมินราคา
คะแนนที่ 1 ต่ากว่ าร้ อยละ 20 (ค่ า OTTV ลดลง 10 W/m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกเปลี่ยนใช้ กระจกสี Tinted Glass หนา 6 mm. ราคาโดยเฉลี่ย 46 บาท/ตร.ม
ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 46 (บาท/m2) x พืน้ กระจกที่ผนังอาคารที่คดิ OTTV (m2)
คะแนนที่ 2 ต่ากว่ าร้ อยละ 30 (ค่ า OTTV ลดลง 15 W/m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกเปลี่ยนใช้ กระจกตัดแสง (Heat Absorbing Glass) หนา 6 mm. ราคาโดย
เฉลี่ย 78 บาท/ตร.ม ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 78 (บาท/m2) x พืน้ กระจกที่ผนังอาคารที่คิด OTTV (m2)
คะแนนที่ 3 ต่ากว่ าร้ อยละ 40 (ค่ า OTTV ลดลง 20 W/ m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกเปลี่ยนใช้ กระจกสะท้ อนแสง (Reflective Metallic Coating Glass) หนา 6 mm.
ราคาโดยเฉลี่ย 98 บาท/ตร.ม.ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 98 (บาท/m2) x พืน้ กระจกที่ผนังอาคารที่ คิด
OTTV (m2)
คะแนนที่ 4 ต่ากว่ าร้ อยละ 50 (ค่ า OTTV ลดลง 25 W/ m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกเปลี่ยนใช้ กระจกกันความร้ อน (Insulating Glass) หนา 6 mm. ราคาโดยเฉลี่ย
228 บาท/ตร.ม.ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 228 (บาท/m2) x พืน้ กระจกที่ผนังอาคารที่คดิ OTTV (m2)
คะแนนที่ 5 ต่ากว่ าร้ อยละ 60 (ค่ า OTTV ลดลง 30 W/ m2)
ในที่นีป้ ระเมินราคาโดยเลือกติด Film ลดความร้ อนที่กระจก ที่มีค่า SC อยู่ระหว่ าง 0.2-0.6, ค่ าการสะท้ อน
ความร้ อนรวม ไม่ น้อยกว่ า 70% ที่กระจกใส (Clear Glass) หนา 6 mm. ราคาโดยเฉลี่ย 1,000 บาท/ตร.ม
ค่ าใช้ จ่ายรวม พิจารณาที่ = 1,000 (บาท/m2) x พืน้ กระจกที่ผนังอาคารที่คดิ OTTV (m2)
99
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.7 ปริมาณการใช้ พลังงาน
4.7.1 มีปริ มาณการใช้ พลังงานของอาคารต่ากว่ า
ค่ ามาตรฐานการจัดการใช้ พลังงานสาหรั บหน่ วย
ราชการของสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
(สนพ.)
- ต่ากว่ าร้ อยละ 10
- ต่ากว่ าร้ อยละ 20
- ต่ากว่ าร้ อยละ 30
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบรายการคานวณปริมาณการใช้ ไฟฟ้าเทียบกับค่ ามาตรฐาน
- ตรวจสอบใบเสร็จค่ าไฟฟ้าย้ อนหลังจนถึงวันที่รับการตรวจประเมินแล้ วคานวณเปรี ยบเทียบ
กับค่ ามาตรฐาน
100
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 1
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.7 ปริมาณการใช้ พลังงาน
4.7.1 มีปริมาณการใช้ พลังงานของอาคารต่ากว่ าค่ ามาตรฐาน...
การประเมินราคา
คะแนนที่ 1 ต่ากว่าร้ อยละ 10
ค่าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.1 x 3.55 x ปริ มาณการใช้ ไฟฟ้ามาตรฐานของ (สนพ.) (kWh/ปี )
คะแนนที่ 2 ต่ากว่าร้ อยละ 20
ค่าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.2 x 3.55 x ปริ มาณการใช้ ไฟฟ้ามาตรฐานของ (สนพ.) (kWh/ปี )
คะแนนที่ 3 ต่ากว่าร้ อยละ 30
ค่าใช้ จ่ายในการลงทุน = 2 x 0.3 x 3.55 x ปริ มาณการใช้ ไฟฟ้ามาตรฐานของ (สนพ.) (kWh/ปี )
101
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4
พลังงาน
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
ทางเลือกที่ 2 การใช้ พลังงานรวม
Whole Building Consumption
102
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
4.1 การดาเนินงานด้ านการจัดการพลังงาน
4.1.1 มี การรณรงค์ และสร้ างจิ ตสานึ กต่อความสาคัญของการอนุรักษ์ พลังงานให้กับ
บุคลากรผูใ้ ช้อาคาร
4.2 การจัดสรรบุคลากรรั บผิดชอบด้ านการอนุรักษ์ พลังงาน
4.2.1 มีบคุ ลากรทีท่ าหน้าทีร่ บั ผิ ดชอบด้านการอนุรกั ษ์ พลังงาน
4.3 การติดตามข้ อมูลการใช้ พลังงาน
4.3.1 มี บนั ทึกการใช้พลังงานในอาคาร ที ส่ ามารถจาแนกการใช้พลังงานในส่ว นระบบ
ปรับอากาศและไฟฟ้ าแสงสว่าง
คะแนน
1
ต้องผ่าน
1
103
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
4.4 การใช้ พลังงานรวม (Whole Building Consumption)
(ในกรณีทอี่ าคารไม่ มีการใช้ เครื่องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี้)
4.4.1 ประหยัดพลังงานกว่าค่ามาตรฐานตามเกณฑ์การใช้พลังงานรวม
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 5%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 10%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 15%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 20%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 25%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 30%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 35%
- ประหยัดกว่าค่ามาตรฐาน 40%
คะแนน
2
2
2
2
2
2
2
2
104
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
4.4.2 แยกโซนการควบคุมอุณหภูมิอากาศภายในเป็ นโซนย่อย โซนละไม่เกิ น 200 ตาราง
เมตร
4.4.3 แยกโซนการควบคุมอุณหภู มิระหว่างบริ เวณริ มนอกอาคาร (ที ่มีระยะห่างจากผนัง
ภายนอกอาคารเข้ามา 4.5 - 6 เมตร) ออกจากบริ เวณภายในอาคาร และแยกโซนการ
ควบคุมอุณหภูมิบริ เวณริ มนอกอาคารออกตามทิ ศ
4.4.4 มีกาหนดการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศเป็ นประจา
4.5 พลังงานหมุนเวียน
4.5.1 มีการผลิ ตพลังงานหมุนเวียนภายในอาคาร หรื อในบริ เวณโครงการ
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 0.5 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
- ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 1 ของปริ มาณการใช้พลังงานทัง้ หมดของอาคาร
รวมคะแนนหมวดที่ 4
คะแนน
1
1
1
1
1
23
105
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.3 การติดตามข้ อมูลการใช้ พลังงาน
4.3.1 มี บั น ทึ ก การใช้ พลั ง งานในอาคาร ที่ ส ามารถ
จ าแนกการใช้ พ ลั ง งานในส่ ว นระบบปรั บ อากาศและ
ไฟฟ้าแสงสว่ าง
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการติด ตัง้ มาตรวั ด ปริ มาณการใช้ พลั งงาน
ของระบบปรับอากาศและไฟฟ้าแสงสว่ าง
- ตรวจสอบบันทึกข้ อมูล ปริ มาณการใช้ พลั งงานแต่ ล ะ
ระบบที่ต้องบันทึกโดยต่ อเนื่องทุกเดือน
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนี ้ คานวณจากค่ าใช้ จ่ายในการติดตัง้ มาตรย่ อยวัดการใช้
พลังงานไฟฟ้าของระบบเครื่องปรับอากาศและไฟฟ้าแสงสว่ างย่ อย อย่ างน้ อยชัน้ ละ 2 ชุด
ชุดละ 10,000 บาท คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 20,000 บาทต่ อจานวนชัน้ ของอาคาร
106
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 การใช้ พลังงานรวม (Whole Building Consumption)
(ในกรณีท่ ีอาคารไม่ มีการใช้ เครื่ องปรั บอากาศไม่ ต้องประเมินในหมวดนี )้
4.4.1 ประหยัดพลังงานกว่ าค่ ามาตรฐานตามเกณฑ์ การใช้ พลังงานรวม
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 5%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 10%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 15%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 20%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 25%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 30%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 35%
- ประหยัดกว่ าค่ ามาตรฐาน 40%
107
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ ) ทางเลือกที่ 2
หมวดที่ 4 พลังงาน
4.4 การใช้ พลังงานรวม (Whole Building Consumption)
4.4.1 ประหยัดพลังงานกว่ าค่ ามาตรฐานตามเกณฑ์ การใช้ พลังงานรวม...
แนวทางการตรวจประเมิน
ตรวจสอบรายการคานวณ Whole Building Consumption ตามกฎกระทรวง 2552
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายเพื่อใช้ ในการลงทุนปรั บปรุ งเพิ่มเติม เพื่อลดการใช้ พลังงาน
ให้ ได้ น้อยกว่ าค่ าการใช้ พลังงานรายปี Epa จะแปรเปลี่ยนไปตามปั จจัยต่ างๆ ได้ แก่ ค่ า OTTV ค่ า
RTTV ค่ าประสิทธิภาพของระบบปรั บอากาศ (COP) ค่ าปริ มาณการใช้ ไฟฟ้าแสงสว่ างต่ อพื น้ ที่
(LPD – Lighting Power Density) และค่ าปริมาณการใช้ อุปกรณ์ ไฟฟ้าต่ อพืน้ ที (EPD – Equipment
Power Density) ในหน่ วยวัตต์ ต่อตารางเมตร โดยทัง้ นี ้ ยังได้ คานึงถึงปริ มาณคนทางาน และ
จานวนชั่วโมงที่ใช้ งานอาคารในหนึ่งปี ตามกฎกระทรวง 2552
108
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
(กรณีอาคารเดิม)
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
109
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
5.1
ความส่ องสว่ างขั้นตา่
5.1.1 ค่าความส่องสว่างจากแสงประดิ ษฐ์ (ไม่รวมแสงธรรมชาติ ) ในพืน้ ที ่ใช้สอยของอาคาร ผ่านเกณฑ์ ที่
ก าหนดในกฎกระทรวงแรงงาน เรื ่ อ งก าหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้านความ
ปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี ่ยวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสี ยง
พ.ศ.2549
5.2
คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.1 อัตราการะบายอากาศในพื ้นที ่ปรับอากาศและไม่ปรับอากาศผ่านเกณฑ์ ที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฉบับที ่ 39 พ.ศ.2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522
5.2.2 เครื ่องส่งลมเย็นที ่มีอตั ราการส่งลมเย็นตัง้ แต่ 1,000 ลิ ตรต่อวิ นาที ขึ้ นไป ต้อ งมี แผงกรองอากาศที ่มี
ประสิ ทธิ ภาพอย่างน้อย MERV 7 (Minimum Efficiency Reporting Value ระดับที ่ 7)
ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2 หรื อร้อยละ 25-30 ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard
52.1 Dust Spot หรื อมาตรฐานอืน่ ทีม่ ีความน่าเชือ่ ถือเทียบเท่า
5.2.3 ช่องนาอากาศเข้าไม่อยู่ในตาแหน่งทีร่ บั มลพิษจากภายนอกอาคาร
5.2.4 ห้องเครื ่องปรับอากาศต้องไม่มีการเก็บของ และมีการทาความสะอาดอยู่เสมอ
คะแนน
ต้ องผ่ าน
ต้ องผ่ าน
ต้ องผ่ าน
1
1
110
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.3
การป้องกันควันบุหรี่ ภายในพื้นที่อาคาร
5.3.1
พืน้ ทีส่ ูบบุหรี ่อยู่ในตาแหน่งทีห่ ่างจากประตู หน้าต่าง หรื อช่องนาอากาศเข้าไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
5.4
ระดับเสียงภายในอาคาร
5.4.1
ระดับเสียงในส่วนพืน้ ทีท่ างานไม่เกิ นเกณฑ์ทีท่ างราชการกาหนด
5.5
ความปลอดภัยของอาคาร
5.5.1
มีการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารตามทีก่ าหนดไว้ใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ฉบับที ่ 3 พ.ศ.2543
5.6
การใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ที่ปลดปล่ อยมลพิษน้ อย
1
5.6.1
ใช้ วัส ดุแ ละครุ ภัณ ฑ์ ที่ ผ่ า นการรั บ รองฉลากสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น ฉลากเขี ย ว หรื อ สิ น ค้ า ที ่ เป็ นมิ ต รต่ อ
สิ่ งแวดล้อม หรื อเที ยบเท่า เฉลี ่ยรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ของจานวนที ่จดั ซื ้อจัดจ้ าง ย้อนหลัง 1 ปี นับ
จากวันทีร่ บั การประเมิ น
คะแนนรวมหมวดที่ 5
5
1
1
ต้ องผ่ าน
111
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.1 ความส่ องสว่ างขัน้ ต่า
5.1.1 ค่ าความส่ องสว่ างจากแสงประดิ ษ ฐ์ (ไม่ รวมแสง
ธรรมชาติ) ในพืน้ ที่ใช้ สอยของอาคาร ผ่ านเกณฑ์ ท่ กี าหนดใน
กฎกระทรวงแรงงาน เรื่องกาหนดมาตรฐานในการบริหารและ
ก า ร จั ด ก า ร ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ
สภาพแวดล้ อมในการทางานเกี่ยวกับ ความร้ อน แสงสว่ าง
และเสียง พ.ศ.2549
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบแบบระบบไฟฟ้าส่ องสว่ าง และรายการคานวณระบบไฟฟ้าส่ องสว่ าง
การประเมินราคา
ค่ าใช้ จ่ายในการจัดหาค่ าความส่ องสว่ าง ราคาต่ อหน่ วย 2,800 บาทต่ อเครื่ อง โดยค่ าใช้ จ่าย
อื่นๆ จัดเป็ นค่ าใช้ จ่ายที่จาเป็ นเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ ท่ กี าหนดในกฎกระทรวงแรงงาน ซึ่งไม่ รวมอยู่
ในราคาต่ อหน่ วยของเกณฑ์ ย่อยในข้ อนี ้
112
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.1 อัตราการระบายอากาศในพืน้ ที่ปรั บอากาศและไม่ ปรั บ
อากาศผ่ านเกณฑ์ ที่ ก าหนดในกฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 39
พ.ศ.2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุ มอาคาร
พ.ศ.2522
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบการติดตัง้ และสภาพการใช้ งานจริงของพัดลม
ระบายอากาศ เทียบกับแบบระบบระบายอากาศว่ าตรงกัน
หรือไม่
- จัดทารายงานประเมินผล โดยมีรายการที่ต้องระบุ ได้ แก่
1) ประเภทการใช้ งานของห้ อง
2) อัตราการระบายอากาศตามกฎหมาย
3) อัตราการระบายอากาศที่ตดิ ตัง้ จริง
113
113
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.1 อัตราการระบายอากาศในพืน้ ที่ปรั บอากาศ...
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายในการทารายงานประเมินผลอัตราระบายอากาศ
เพื่อน ามาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ ขัน้ ต่ า คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 6,000 บาทต่ อครั ้ง โดย
ค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ จัดเป็ นค่ าใช้ จ่ายที่จาเป็ นเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ ท่ กี าหนดในกฎกระทรวงฉบับที่
39 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ซึ่งไม่ รวมอยู่ใน
ราคาต่ อหน่ วยของเกณฑ์ ย่อยในข้ อนี ้
114
114
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.2 เครื่ องส่ ง ลมเย็น ที่มี อั ต ราการส่ ง ลมเย็น ตั ง้ แต่ 1,000
ลิตรต่ อวินาที ขึน้ ไป ต้ องมีแผงกรองอากาศที่มีประสิทธิภาพ
อย่ างน้ อย MERV 7 (Minimum Efficiency Reporting Value
ระดับที่ 7) ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2 หรื อร้ อย
ละ 25-30 ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.1 Dust Spot
หรือมาตรฐานอื่นที่มีความน่ าเชื่อถือเทียบเท่ า
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบระบบปรับอากาศ และระบบระบายอากาศ
- ตรวจสอบเอกสารแสดงชนิดของแผงกรองอากาศที่ใช้ ในโครงการ
เช่ น เอกสารวัสดุหรืออุปกรณ์ ท่ ไี ด้ รับอนุมัตใิ ห้ ใช้ ในโครงการ เป็ นต้ น
- ตรวจสอบการติดตัง้ และใช้ งานจริง
http://www.aafintl.com
115
115
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.2 เครื่ องส่ งลมเย็นที่มีอัตราการส่ งลมเย็น...
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายในการติดตัง้ แผงกรองอากาศที่มีประสิทธิ ภาพตาม
มาตรฐาน คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 5,000 บาทต่ อชิน้ ดังนั น้ ราคาสาหรั บการปรั บปรุ งจะ
สามารถคานวณได้ จากจานวนห้ องของเครื่ องส่ งลมเย็น คูณด้ วย 5,000 บาท
116
116
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.3 ช่ องนาอากาศเข้ าไม่ อยู่ในตาแหน่ งที่รับมลพิษจากภายนอกอาคาร...
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบระบบปรับอากาศ ในส่ วนระบบระบาย อากาศ
- ตรวจสอบการติดตัง้ จริงและสภาพแวดล้ อมรอบๆ ช่ องนา
อากาศเข้ าทัง้ หมด โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ ท่ กี าหนดโดย
กฎกระทรวงฉบับที่ 39 ดังนี ้
(1) ห่ างจากแหล่ งที่เกิดอากาศเสีย ช่ องระบายอากาศทิง้
ไม่ น้อยกว่ า 5-10 เมตร
(2) สูงจากพืน้ ดินไม่ น้อยกว่ า 1.5 เมตร
(3) ห่ างจากหอระบายความร้ อนไม่ ต่ากว่ า 10 เมตร
117
117
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.3 ช่ องนาอากาศเข้ าไม่ อยู่ในตาแหน่ งที่รับมลพิษจากภายนอกอาคาร
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายในการปรั บเปลี่ยนตาแหน่ งช่ องนาอากาศเข้ า
อาคาร ให้ หลีกเลี่ยงจากการรั บมลพิษ และให้ อยู่ในพืน้ ที่เหมาะสม คิดเป็ นราคาต่ อ
หน่ วย 10,000 บาทต่ อตาแหน่ งช่ องอากาศ ดังนัน้ ราคาสาหรับการปรับปรุ งจะเท่ ากับ
ตาแหน่ งช่ องอากาศที่ต้องทาการปรับเปลี่ยนคูณด้ วย 10,000 บาท
118
118
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.4 ห้ องเครื่ องปรั บอากาศต้ องไม่ มีการเก็บ
ของ และมีการทาความสะอาดอยู่เสมอ
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบการดูแลรักษาห้ องเครื่ องปรั บอากาศ
ไม่ ให้ มี ก ารเก็ บ ของและมี ก ารท าความสะอาดอย่ าง
สม่าเสมอ
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากค่ าใช้ จ่ายในการทาความ
สะอาดห้ องเครื่ องปรั บอากาศ คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 300
บาทต่ อห้ อง ดัง นั น้ ราคาสาหรั บการปรั บปรุ ง จะเท่ ากับ
จานวนห้ องเครื่ องปรับอากาศคูณด้ วย 300 บาท
119
119
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.3 การป้องกันควันบุหรี่ ภายในพืน้ ที่อาคาร
5.3.1 พื น้ ที่ สู บ บุ ห รี่ อยู่ ในต าแหน่ งที่ ห่ างจากประตู
หน้ าต่ าง หรือช่ องนาอากาศเข้ าไม่ น้อยกว่ า 10 เมตร
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบลักษณะพืน้ ที่สูบบุหรี่ ท่ จี ัดไว้ เปรี ยบเทียบ
กับที่ระบุไว้ ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 9)
พ.ศ. 2540
ตรวจสอบระยะห่ างและเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์
แสดงเขตห้ ามสูบบุหรี่ หน้ าช่ องทางที่ควันบุหรี่ จะเข้ าไป
ในอาคารได้
120
120
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.3 การป้องกันควันบุหรี่ ภายในพืน้ ที่อาคาร
5.3.1 พืน้ ที่สูบบุหรี่ อยู่ในตาแหน่ งที่ห่างจากประตู หน้ าต่ าง...
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคิดจากราคาในการจัดทาป้ายห้ ามสูบบุหรี่ และป้ายแสดงเขตพืน้ ที่สูบ
บุหรี่ ซึ่งแบ่ งตามขนาดของอาคาร ดังนี ้
อาคารขนาดต่ากว่ า
2,000
ตร.ม.
500 บาท
อาคารขนาด
2,000 - 10,000 ตร.ม.
1,000 บาท
อาคารขนาด
10,000
ตร.ม. ขึน้ ไป
1,500 บาท
121
121
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.4 ระดับเสียงภายในอาคาร
5.4.1 ระดับเสียงในส่ วนพืน้ ที่ทางานไม่ เกิน
เกณฑ์ ท่ ที างราชการกาหนด
แนวทางในการตรวจประเมิน
สารวจสภาพพืน้ ที่จริ ง แล้ วทาการตรวจวัด
และค านวณค่ าระดั บ เสี ย งเปรี ย บเที ย บกั บ
เกณฑ์ ท่ กี าหนด
122
122
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.4 ระดับเสียงภายในอาคาร
5.4.1 ระดับเสียงในส่ วนพืน้ ที่ทางานไม่ เกินเกณฑ์ ท่ ีทางราชการกาหนด...
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ คานวณจากค่ าใช้ จ่ายในการจัดเตรี ย มเครื่ องวัด
เสียงเพื่อใช้ ในการตรวจวัด คิดเป็ นราคาต่ อหน่ วย 5,310 บาท โดยค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ จัดเป็ น
ค่ าใช้ จ่ายที่จาเป็ นเพื่อให้ ผ่านเกณฑ์ ท่ ที างราชการกาหนด ซึ่งไม่ รวมอยู่ในราคาต่ อหน่ วยของ
เกณฑ์ ย่อยในข้ อนี ้
123
123
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.5 ความปลอดภัยของอาคาร
5.5.1 มีการตรวจสอบความปลอดภัย
ของอาคารตามที่กาหนดไว้ ใน พ.ร.บ.
ควบคุมอาคาร ฉบับที่ 3 พ.ศ.2543
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจรายงานการตรวจสอบอาคาร
http://www.jobthai.com
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ คานวณจากค่ าตรวจสอบอาคาร คิดเป็ น
ราคาต่ อหน่ วย 5 บาทต่ อตารางเมตร ราคาในการปรั บปรุ งสามารถคานวนได้ จากพืน้ ที่
ใช้ สอยอาคารคูณด้ วย 5 บาทต่ อตารางเมตร
124
124
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.6 การใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ท่ ีปลดปล่ อยมลพิษน้ อย
5.6.1 ใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ท่ ีผ่านการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม
เช่ น ฉลากเขี ยว หรื อ สิน ค้ า ที่เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อม หรื อ
เทียบเท่ า เฉลี่ยรวมไม่ ต่ ากว่ าร้ อยละ 60 ของจานวนที่จัดซือ้
จัดจ้ าง ย้ อนหลัง 1 ปี นับจากวันที่รับการประเมิน
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบเอกสารหลั ก ฐานการจั ด ซื อ้ จั ด จ้ า งวั ส ดุ แ ละ
ครุ ภัณฑ์ ผ่านการรั บรองฉลากเขียว หรื อสินค้ าและบริ การที่
เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมเปรี ยบเทียบกับปริ มาณการจั ดซือ้ จัด
จ้ างวัสดุหรือครุ ภณ
ั ฑ์ ประเภทนัน้ ๆ ทัง้ หมด
125
125
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 5
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.6 การใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ท่ ีปลดปล่ อยมลพิษน้ อย
5.6.1 ใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ท่ ีผ่านการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยส าหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้
คานวณจากค่ าใช้ จ่ายที่เพิ่มขึน้ จากการเลือกใช้
วั ส ดุ แ ละครุ ภั ณ ฑ์ ที่ ผ่ านการ รั บรองฉลาก
สิ่งแวดล้ อมประมาณ 31% จากราคาสินค้ าปกติ
ทั่ว ไป ดั ง นั น้ ราคาจากการปรั บปรุ ง จะเท่ า กั บ
ค่ าใช้ จ่ายจากการจัดซือ้ วัสดุท่ วั ไป เพิ่มขึน้ 31%
126
126
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 5
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
127
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
5.1 ค่ าความส่ องสว่ าง
5.1.1 ค่าความส่องสว่างจากแสงประดิ ษฐ์ (ไม่รวมแสงธรรมชาติ ) ในพืน้ ทีใ่ ช้สอยของอาคาร ผ่านเกณฑ์ ทีก่ าหนดใน
กฎกระทรวงแรงงาน กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง (พ.ศ.2549)
5.2 คุณภาพอากาศในอาคาร
5.2.1 อัตราการระบายอากาศในพืน้ ทีป่ รับอากาศและไม่ปรับอากาศผ่านเกณฑ์ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ฉบับที ่ 39 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
5.2.2 เครื ่องส่งลมเย็นทีม่ ีอตั ราการส่งลมเย็นตัง้ แต่ 1,000 ลิ ตรต่อวิ นาที ขึ้นไป ต้องมีแผงกรองอากาศทีม่ ี
ประสิ ทธิ ภาพอย่างน้อย MERV 7 ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard 52.2 หรื อร้อยละ 25-30 ตาม
มาตรฐาน ASHRAE Standard 52.1 Dust Spot หรื อมาตรฐานอืน่ ทีม่ ีความน่าเชือ่ ถือเทียบเท่า
5.2.3 ช่องนาอากาศเข้าไม่อยู่ในตาแหน่งทีร่ บั มลพิษจากภายนอกอาคาร
5.2.4 ห้องเครื ่องปรับอากาศต้องไม่มีการเก็บของ และมีการทาความสะอาดอยู่เสมอ
คะแนน
ต้องผ่าน
ต้องผ่าน
ต้องผ่าน
ต้องผ่าน
1
128
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
่
ลาดับที
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
5.3 สภาวะน่ าสบายของผู้ใช้ อาคาร (thermal comfort)
5.3.1 ออกแบบอาคารในส่ ว นที ่มี ก ารปรับ อากาศให้มี อุณ หภู มิ แ ละความชื ้น สัม พัท ธ์ เ ป็ นไปตามมาตรฐานของ 1
วิ ศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
5.4 การป้องกันควันบุหรี่ ภายในพื้นที่อาคาร
5.4.1 พืน้ ทีส่ ูบบุหรี ่อยู่ในตาแหน่งทีห่ ่างจากประตู หน้าต่าง หรื อช่องนาอากาศเข้า ไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
1
5.5 ระดับเสียงภายในอาคาร
5.5.1 ระดับเสียงในส่วนพืน้ ทีท่ างานไม่เกิ นเกณฑ์ทีท่ างราชการกาหนด
1
5.6 ความปลอดภัยของอาคาร
5.6.1 มีการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารตามทีก่ าหนดไว้ใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร (ฉบับที ่ 3) พ.ศ.2543
ต้องผ่าน
5.7 การใช้ วัสดุและครุ ภัณฑ์ ที่ปลดปล่ อยมลพิษน้ อย
5.7.1 ใช้วสั ดุและครุภณ
ั ฑ์ทีผ่ ่านการรับรองฉลากสิ่ งแวดล้อม เช่น ฉลากเขี ยว หรื อสิ นค้าทีเ่ ป็ นมิ ตhttp://www.bloggang.com/
รต่อสิ่ งแวดล้อม
1
หรื อเทียบเท่าในสัดส่วนร้อยละ 100 ของจานวนทีจ่ ดั ซื ้อจัดจ้างแต่ละประเภทย้อนหลัง 1 ปี นับจากวันทีร่ บั การ
ประเมิ น
รวมคะแนนหมวดที่ 5
5
129
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 5 สภาวะแวดล้ อมภายในอาคาร
5.3 สภาวะน่ าสบายของผู้ใช้ อาคาร (thermal comfort)
5.3.1 ออกแบบอาคารในส่ วนที่มีการปรั บอากาศให้ มี อุณหภูมิและความชืน้ สัมพัทธ์ เป็ นไป
ตามมาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
แนวทางการตรวจประเมิน
ใช้ มาตรฐานระบบปรั บอากาศและระบายอากาศ
ของ วสท. ร่ วมกับ สมาคมวิ ศวกรรมปรั บอากาศ
แห่ ง ประเทศไทย ที่ก าหนดสภาวะการออกแบบ
(Design Condition) เพื่อความสบายโดยทั่วไปของ
สานักงาน
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บ เกณฑ์
ในข้ อ นี ้ เนื่ องจากอยู่ ใ นขั น้ ตอนการวางแผนหรื อ
http://www.bloggang.com/
ออกแบบให้ เ ป็ นไปตามมาตรฐานของวิ ศ วกรรม
สถานแห่ งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
130
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
(กรณีอาคารเดิม)
การป้องกันผลกระทบต่ อ
สิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
131
131
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.1 ปฏิ บตั ิ ตามประกาศของกรมอนามัย เรื ่องข้อปฏิ บตั ิ การควบคุมเชื อ้ ลี จิโอเนลลา ในหอผึ่ง ต้ องผ่ าน
เย็นของอาคารในประเทศไทย (หากอาคารไม่มีหอผึ่งเย็น ไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์ข้อนี)้
6.1.2 ใช้สารทาความเย็นทีส่ ่งผลต่อสภาวะเรื อนกระจกน้อย เช่น R134a (ระบบปรับอากาศ
1
อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจานวนตันความเย็นทัง้ หมดในระบบปรับอากาศ)
6.1.3 กรณี ที่มีห้องประกอบอาหาร ต้องมี ระบบบาบัดกลิ่ น ควัน ก่อนปล่อยออกจากอาคาร
1
หากอาคารไม่มีหอ้ งประกอบอาหาร ไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์นี้
6.1.4 กรณีมีแหล่งกาเนิ ดมลพิ ษทางอากาศประเภทอืน่ ๆ เช่น ห้องปฏิ บตั ิ การ ห้องเก็บสารเคมี
1
ซึ่ งมี ไอระเหยที ่เป็ นพิ ษ เป็ นต้น ต้องมี ระบบบาบัดมลพิ ษทางอากาศ ก่อ นปล่อยออก
จากอาคาร หากอาคารไม่มีแหล่งกาเนิ ดมลพิ ษดังกล่าว ไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์ นี้
132
132
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.2
น้าเสีย
6.2.1 ผลการวิ เคราะห์น้าทิ้ งซึ่งกฎหมายกาหนดไว้จะต้องอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน น้าทิ้ งตามทีท่ าง
ราชการกาหนดทุกพารามิ เตอร์ หากอาคารใช้ระบบบาบัดน้าเสี ยรวมของกลุ่มอาคารหรื อของ
ต้ องผ่ าน
ท้องถิ่ น หรื อผูไ้ ด้รับอนุญาตให้รับน้าเสียมารวมบาบัดไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์ นี้
6.2.2 มี การรวบรวมน้าเสียจากทุกแหล่งกาเนิ ดน้าเสียทัง้ ภายในและภายนอกอาคารได้ทงั้ หมด ไปยัง
1
ระบบบาบัดน้าเสียของอาคาร
6.2.3 มี การแยกระบบระบายน้าฝนและระบบรวบรวมน้าเสียออกจากกันอย่างชัดเจนหรื อมี การจัดทา
1
ระบบในการแยกน้าฝน เช่น บ่อผันน้าเสีย (Combined Sewer Overflow : CSO)
6.2.4 มี ระบบบาบัดน้าเสีย โดยระบบฯ จะต้องถูกออกแบบให้มีความสามารถบาบัดน้าเสี ย ซึ่งถูก
1
รวบรวมมาได้และมี ประสิ ทธิ ภาพในการบาบัดน้าเสี ยให้ได้ตามทีก่ ฎหมายกาหนดไว้
6.2.5 กรณี น้าเสียทีม่ ี คณ
ุ สมบัติแตกต่างจากน้าเสียชุมชนทัว่ ไป เช่น น้าเสียจาก ห้องปฏิ บตั ิ การ
จะต้องมี การรวบรวมน้าเสียไปบาบัดแยกจากระบบบาบัดน้าเสี ยของ อาคาร หรื อมี ระบบบาบัด
1
น้าเสียรวม ซึ่งถูกออกแบบให้สามารถบาบัดน้าเสียดังกล่าวได้
133
133
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
6.3 ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
6.3.1
6.3.2
6.3.3
6.3.4
6.3.5
คะแนน
มี การคัดแยกขยะ ได้แก่ ขยะทัว่ ไป ขยะรี ไซเคิ ล และขยะอันตราย ตัง้ แต่ แหล่งกาเนิ ด
1
มี การส่งเสริ มและประเมิ นผลตามหลักของ 4 Rs ได้แก่ “ลดการใช้” (Reduce) “การนา
1
กลับคื น” (Recovery) “การใช้ซ้ า” (Reuse) และ “การนากลับมาใช้ใหม่ ” (Recycle) โดย
จัดเก็บข้อมูลตามหลักการทางสถิ ติ
มี จุ ด รวบรวมและจัด เก็ บ ขยะ (Storage) โดยแบ่ ง เป็ น ขยะทั่ว ไป ขยะรี ไ ซเคิ ล และขยะ ต้ องผ่ าน
อันตราย เพือ่ รอการกาจัด
จัดเก็บ รวบรวม และการจัดของเสี ยและขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิ บาล รวมทัง้ การนาของ
เสียและขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์
ไม่มีการแพร่ กระจายของขยะมูลฝอย น้าเสีย และกลิ่ นจากขยะมูลฝอยก่อนนาไปกาจัด
1
1
134
134
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
6.4 ความร้ อน
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.4.1
เครื ่ องท าความเย็ น ชนิ ด ระบายความร้ อนด้ว ยอากาศอยู่ ใ นต าแหน่ งที ่ไ ม่ ก่อให้เ กิ ด ความ
เดื อดร้ อนราคาญต่อสภาพแวดล้อมใกล้เคี ยงอาคาร หากอาคารไม่ ใช้เครื ่ องปรับอากาศไม่
ต้องประเมิ นเกณฑ์ นี้
1
6.5
การลดแสงสะท้ อนจากอาคาร
6.5.1
ใช้วสั ดุทีเ่ ป็ นผิ วของผนังอาคารหรื อที ใ่ ช้ตกแต่งผิ วภายนอกอาคารที ม่ ี ปริ มาณการสะท้อนแสง ต้ องผ่ าน
ได้ไม่เกิ นร้อยละ 30
คะแนนรวมหมวดที่ 6
12
135
135
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.1 ปฏิบัติตามประกาศของกรมอนามัย เรื่ อง
ข้ อปฏิบัติการควบคุมเชือ้ ลีจิโอเนลลา ในหอผึ่ง
เย็นของอาคารในประเทศไทย (หากอาคารไม่ มี
หอผึ่งเย็น ไม่ ต้องประเมินเกณฑ์ ข้อนี)้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบก่อสร้ าง และเอกสารแสดงรายละเอียด
ทางเทคนิคของหอผึ่งเย็น ซึ่งสอดคล้ องกับที่ร ะบุไว้ ใน
ประกาศกรมอนามัย เรื่ องการควบคุมเชื ้อลีจิโอเนลลา
- ตรวจสอบการติ ด ตัง้ จริ ง และวิ ธี ก ารบ ารุ ง รั ก ษาเพื่ อ
ป้องกันเชื ้อลีจิโอเนลลาในหอผึง่ เย็น
136
136
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.1 ปฏิบัตติ ามประกาศของกรมอนามัย เรื่ องข้ อปฏิบัตกิ ารควบคุมเชือ้ ลีจิ
โอเนลลา...
อาคารใดไม่มีหอผึ่งเย็นไม่ต้องประเมินในหมวดนี ้ หากอาคารมีหอผึ่ งเย็นแล้ ว
ต้ อ งการผ่ า นเกณฑ์ ใ นหมวดนี ้ จะต้ อ งป้ องกัน และบ ารุ ง รั ก ษาหอผึ่ ง เย็ น ให้
ปราศจากเชือ้ ลีจิโอเนลลา ตามประกาศของกรมอนามัย หากอาคารต้ องการ
ปรั บ ปรุ ง มี ค่ า ใช้ จ่ า ยเท่ า กั บ 15 บาทต่ อ ตัน ความเย็ น โดยค านวณได้ จาก
“จานวนตันความเย็นหอผึง่ เย็น” คูณด้ วย 15 บาท
137
137
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.2 ใช้ สารทาความเย็น ที่ส่งผลต่ อสภาวะเรื อนกระจกน้ อย เช่ น R134a (ระบบปรั บ
อากาศ อย่ างน้ อยร้ อยละ 50 ของจานวนตันความเย็นทัง้ หมดในระบบปรับอากาศ)
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบแบบระบบปรับอากาศของอาคาร และเอกสารแสดงรายละเอียดทาง
เทคนิคของเครื่ องปรับอากาศ/เครื่ องทาน ้าเย็น
138
138
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ (ต่ อ)
6.1.2 ใช้ สารทาความเย็นที่ส่งผลต่ อสภาวะเรื อนกระจกน้ อย…
ราคาต่ อหน่ ว ยคานวณได้ จ ากราคาของสารทาความเย็ น ที่ ส่ง ผลต่ อ สภาวะเรื อ นกระจกน้ อ ยมี ร า คา
21,600 บาทต่อตันความเย็น ดังนัน้ ในการประเมินหากอาคารมีสารทาความเย็นที่ส่งผลกระทบต่อ
สภาวะเรื อนกระจกมาก เช่น สาร R-22, สารแอมโมเนีย (Ammonia) และ Felon จะต้ องเสียค่าใช้ จ่ายใน
การเปลี่ยนสารทาความเย็น ดังนี ้
• ถ้ าทังอาคารใช้
้
สารทาความเย็นที่ส่งผลกระทบต่อสภาวะเรื อนกระจกมาก มี ค่าใช้ จ่ายในการปรับปรุ ง
เท่ากับตันความเย็นทังหมด
้
คูณด้ วย 50% คูณด้ วย 21,600 (เมื่อ 1 ตันความเย็น = 12,000/Btu/hr)
• ถ้ าอาคารมีสารทาความเย็นที่ส่งผลกระทบต่อสภาวะเรื อนกระจกมาก ปะปนกับสารทาความเย็ นที่
ส่งผลกระทบต่อสภาวะเรื อนกระจกน้ อย มี ค่าใช้ จ่ายในการปรับปรุงเท่ากับตันความเย็นทัง้ หมด คูณด้ วย
50% แล้ วลบด้ วยตันความเย็นกลุม่ Non-CFC ที่มีในปั จจุบนั แล้ วคูณด้ วย 21,600
139139
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.3 กรณีท่ ีมีห้องประกอบอาหาร ต้ องมีระบบ
บาบัดกลิ่น ควัน ก่ อนปล่ อยออกจากอาคาร (หาก
อาคารไม่ มีห้องประกอบอาหาร ไม่ ต้องประเมิน
เกณฑ์ นี)้
ราคาต่อหน่วยคานวณจาก ราคาเครื่ องบาบัดอากาศเสีย มีราคา 72,760
บาทต่อเครื่ อง (ขนาดห้ องประกอบอาหารไม่เกิน 30 ตร.ม.)
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบเอกสารการออกแบบระบบบาบัดมลพิษอากาศจาก
ห้ องดังกล่าว
- ตรวจสอบการติดตังจริ
้ งเทียบกับที่ระบุในแบบ
- สารวจสภาพการใช้ งานจริ ง และตรวจสอบแผนบารุงรักษาระบบ
บาบัดมลพิษและการปฏิบตั ิจริ งจากบันทึกการบารุงรักษา
140
140
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.4 กรณี มี แ หล่ งก าเนิ ด มลพิ ษ ทางอากาศ
ประเภทอื่ นๆ เช่ น ห้ องปฏิ บั ติ ก าร ห้ องเก็ บ
สารเคมี ซึ่ง มี ไ อระเหยที่เป็ นพิษ เป็ นต้ น ต้ องมี
ระบบบ าบั ด มลพิษ ทางอากาศ ก่ อ นปล่ อ ยออก
จากอาคาร (หากอาคารไม่ มีแหล่ งกาเนิ ดมลพิษ
ดังกล่ าว ไม่ ต้องประเมินเกณฑ์ นี)้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบเอกสารการออกแบบระบบบาบัดมลพิษอากาศ หรื อวิธีการดักจับ
สารพิษจากห้ องดังกล่าว
- ตรวจสอบการติดตังจริ
้ งเทียบกับที่ระบุในแบบ
- สารวจสภาพการใช้ งานจริ งและตรวจสอบแผนบารุงรักษาระบบบาบัดมลพิษ
และการปฏิบตั ิจริ งจากบันทึกการดูแลรักษา
141
141
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 มลพิษทางอากาศ
6.1.4 กรณี มี แ หล่ งก าเนิ ด มลพิ ษ ทางอากาศ
ประเภทอื่ นๆ เช่ น ห้ องปฏิ บั ติ ก าร ห้ องเก็ บ
สารเคมี ซึ่ง มี ไ อระเหยที่เป็ นพิษ เป็ นต้ น ต้ องมี
ระบบบ าบั ด มลพิษ ทางอากาศ ก่ อ นปล่ อ ยออก
จากอาคาร (หากอาคารไม่ มีแหล่ งกาเนิดมลพิษ
ดังกล่ าว ไม่ ต้องประเมินเกณฑ์ นี)้
ราคาต่อหน่วยคานวณจาก ราคาเครื่ องบาบัดอากาศเสียชนิ ด Wet
Scrubber มีราคา 128,400 บาทต่อเครื่ องต่อห้ องปฏิบตั ิการ หาก
อาคารมีห้องปฏิบตั ิการหลายห้ องสามารถเดินท่อดูดอากาศจาก
ห้ องต่างๆ มาเข้ าบาบัดยังเครื่ องบาบัดอากาศเสียดังกล่าวได้ ก่อน
ปล่อยออกจากอาคาร
142
142
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1.4 กรณีมีแหล่ งกาเนิดมลพิษทางอากาศ
(ก) ตู้ดดู ไอสารเคมี
(ข) ตู้บาบัดดูดไอสารเคมี
(ค) ปล่องตู้ดดู ไอสารเคมี
ระบบบาบัดมลพิษทางอากาศจากห้ องปฏิบัตกิ าร
143
143
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.1 ผลการวิเคราะห์ นา้ ทิง้ ซึ่งกฎหมายกาหนดไว้
จะต้ อ งอยู่ ใ นเกณฑ์ ม าตรฐาน น า้ ทิง้ ตามที่ ท าง
ราชการก าหนดทุ ก พารามิ เ ตอร์ หากอาคารใช้
ระบบบาบัดนา้ เสียรวมของกลุ่ มอาคารหรื อ ของ
ท้ องถิ่น หรื อผู้ได้ รับอนุ ญาตให้ รับนา้ เสียมารวม
บาบัดไม่ ต้องประเมินเกณฑ์ นี ้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบผลการวิ เ คราะห์ น า้ ทิ ง้ ครั ง้ ล่า สุด (ส าหรั บ อาคาร
ควบคุมต้ อ งไม่ เกิ น ระยะเวลา 6 เดือน และสาหรั บอาคารไม่
ควบคุมต้ องไม่เกินระยะเวลา 12 เดือน) แล้ วเปรี ยบเทียบกับ
มาตรฐานน ้าทิ ้งที่ทางราชการกาหนด
144
144
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.1 ผลการวิเคราะห์ นา้ ทิง้ ซึ่งกฎหมายกาหนดไว้ จะต้ องอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน นา้
ทิง้ ตามที่ทางราชการกาหนดทุกพารามิเตอร์ หากอาคารใช้ ระบบบาบัดนา้ เสียรวม
ของกลุ่มอาคารหรื อของท้ องถิ่น หรื อผู้ได้ รับอนุ ญาตให้ รับนา้ เสี ยมารวมบาบัดไม่
ต้ องประเมินเกณฑ์ นี ้
ในกรณีที่อาคารมีระบบบาบัดน ้าเสียของอาคารเอง จาเป็ นจะต้ อง
มีการวิเคราะห์ นา้ ทิง้ อย่างสม่าเสมอ โดยหน่วยงานภายนอกที่
ได้ รับอนุญาต โดยราคาต่อหน่วยในการวิเคราะห์นา้ ทิง้ ประมาณ
5,780 บาทต่อครัง้ (ครบทุกพารามิเตอร์ ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร
พ.ศ.2522)
145
145
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.2 มีการรวบรวมนา้ เสียจากทุกแหล่ งกาเนิด นา้ เสียทัง้ ภายในและภายนอกอาคารได้
ทัง้ หมด ไปยังระบบบาบัดนา้ เสียของอาคาร
(ก) แบบผังระบบรวบรวมน ้าเสีย
แนวทางในการตรวจประเมิน
(ข) บ่อสูบน ้าเสียเข้ าระบบบาบัด
(ค) ท่อรวบรวมน ้าเสีย
- ตรวจสอบเอกสารการออกแบบระบบระบายน ้าฝนและระบบรวบรวมน ้าเสีย
- ตรวจสอบการติดตังจริ
้ งเทียบกับที่ระบุในแบบ - สารวจสภาพการใช้ งานจริ ง
146
146
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.2 มีการรวบรวมนา้ เสียจากทุกแหล่ งกาเนิด นา้ เสียทัง้ ภายในและภายนอกอาคารได้
ทัง้ หมด ไปยังระบบบาบัดนา้ เสียของอาคาร
ราคาต่อหน่วยคานวณจากราคาของท่อชนิด PVC ชัน้ 13.5 ขนาดเส้ นผ่าน
ศูนย์กลาง 4 นิ ้ว ตลอดความสูงของอาคาร มีราคา 227 บาทต่อเมตร ถ้ า
อาคารมีความสูงชันละ
้ 3 เมตร ยังไม่มีระบบรวบรวมน ้าเสีย มีราคาต่อ
หน่วยในการติดตังท่
้ อรวบรวมน ้าเสีย เท่ากับ 227 บาทต่อเมตร x 3 เมตร
ต่อชัน้ = 681 บาทต่อชัน้
147
147
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.3 มีการแยกระบบระบายนา้ ฝนและระบบรวบรวมนา้ เสียออกจากกัน อย่ างชัดเจนหรื อมี
การจัดทาระบบในการแยกนา้ ฝน เช่ น บ่ อผันนา้ เสีย (Combined Sewer Overflow : CSO)
(ก) แบบผังระบบระบายน้ าฝน
แนวทางในการตรวจประเมิน
(ข) ระบบรวบรวมน้ าฝนจากอาคาร
(ค) Manhole
- ตรวจสอบเอกสำรกำรออกแบบระบบบำบัดน ้ำเสีย
- ตรวจสอบกำรติดตังจริ
้ งเทียบกับที่ระบุในแบบ
- สำรวจสภำพกำรใช้ งำนจริ ง และประเมินควำมสำมำรถของระบบบำบัดน ้ำเสีย โดยใช้ ข้อมูลจำกน ้ำเสียที่เข้ ำระบบ
ในปั จจุบนั
148148
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.3 มีการแยกระบบระบายนา้ ฝนและระบบรวบรวมนา้ เสียออกจากกัน อย่ างชัดเจนหรื อ มี
การจัดทาระบบในการแยกนา้ ฝน เช่ น บ่ อผันนา้ เสีย (Combined Sewer Overflow : CSO)
ระบบรวบรวมน ้ำเสียภำยนอกอำคำรที่แยกจำกท่อระบำยน ้ำฝน เพื่ อนำน ้ำ
เสียไปเข้ ำระบบบำบัดน ำ้ เสียของอำคำร ในที่ นี ก้ ำหนดให้ ใ ช้ ท่ อ HDPE
PN.6.3 ขนำดเส้ นผ่ำศูนย์กลำง 315 มิลลิเมตร ตลอดระยะทำงจำกอำคำร
ไปยังระบบบำบัดนำ้ เสียของอำคำร มีรำคำ 1,646 บำทต่อเมตร ดังนัน้
รำคำต่ อ หน่ ว ยส ำหรั บ เกณฑ์ ใ นข้ อ นี ้ คื อ 1,646 บำทต่ อ ระยะห่ ำ งของ
อำคำรถึงบ่อบำบัด (เมตร)
149
149
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.4 มีระบบบาบัดนา้ เสีย โดยระบบฯ จะต้ องถูกออกแบบให้ มีความสามารถบาบัดนา้
เสี ย ซึ่ง ถูกรวบรวมมาได้ แ ละมีประสิ ท ธิ ภ าพในการบาบัด นา้ เสี ยให้ ได้ ต ามที่กฎหมาย
ระบบบาบัดนา้ เสียของอาคาร
กาหนดไว้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบเอกสารการออกแบบระบบบาบัดน ้าเสีย
- ตรวจสอบการติดตังจริ
้ งเทียบกับที่ระบุในแบบ
- สารวจสภาพการใช้ งานจริ ง และประเมินความสามารถของระบบ
บาบัดน ้าเสีย โดยใช้ ข้อมูลจากน ้าเสียที่เข้ าระบบในปั จจุบนั
150
150
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.4 มีระบบบาบัดนา้ เสีย โดยระบบฯ จะต้ องถูกออกแบบให้ มีความสามารถบาบัดนา้
เสี ย ซึ่ง ถูกรวบรวมมาได้ แ ละมีประสิ ท ธิ ภ าพในการบาบัด นา้ เสี ยให้ ได้ ต ามที่กฎหมาย
กาหนดไว้
ราคาต่ อ หน่ ว ยค านวณจากหลัก การประเมิ น ราคาระบบบ าบัด น า้ เสี ย แบบใช้ อ ากาศ (Aerobic
Treatment) มีราคาติดตังประมาณ
้
30 บาทต่อปริ มาณน ้าเสีย 1 ลิตร
โดยการประเมินราคาการติดตังระบบบ
้
าบัดน ้าเสียของอาคาร สามารถคานวณได้ ดงั นี ้
ราคาติดตังระบบบ
้
าบัดแบบไม่ใช้ อากาศเท่ากับ จานวนพนักงาน x 70 ลิตร/คน/วัน x 30 บาท/ลิตร
ดังนัน้ หากใช้ ระบบบาบัดแบบไม่ใช้ อากาศจะมีราคาต่อหน่วยเท่ากับ
จานวนพนักงาน x 2,100 บาท/คน/วัน
151
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.5 กรณีนา้ เสียที่มีคุณสมบัติแตกต่ างจากนา้ เสียชุมชน
ทั่ ว ไป เช่ น น า้ เสี ย จาก ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร จะต้ อ งมี ก าร
รวบรวมนา้ เสียไปบาบัดแยกจากระบบบาบัดนา้ เสี ยของ
อาคาร หรื อมีระบบบาบัดนา้ เสียรวม ซึ่งถูกออกแบบให้
สามารถบาบัดนา้ เสียดังกล่ าวได้
แนวทางในการตรวจประเมิน
- กรณี บาบัดเอง ให้ ตรวจสอบระบบเก็บรวบรวม ระบบบาบัด และผลการตรวจ
วิเคราะห์น ้าทิ ้งเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานที่ทางราชการกาหนด
- กรณีที่ส่งออกไปบาบัด ให้ ตรวจสอบวิธีการเก็บรวบรวมน ้าเสียที่ เห็นได้ ชดั เจน ว่า
แยกจากระบบบาบัดนา้ เสียของอาคาร พร้ อมทัง้ ตรวจสอบการป้องกันการหก
รั่วไหลออกสูส่ ิ่งแวดล้ อม เอกสารนาส่งและผู้รับไปกาจัดซึง่ ต้ องได้ รับอนุญาตตาม
กฎหมาย
152
152
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 นา้ เสีย
6.2.5 กรณีนา้ เสียที่มีคุณสมบัติแตกต่ างจากนา้ เสียชุมชน
ทั่ ว ไป เช่ น น า้ เสี ย จาก ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร จะต้ อ งมี ก าร
รวบรวมนา้ เสียไปบาบัดแยกจากระบบบาบัดนา้ เสี ยของ
อาคาร หรื อมีระบบบาบัดนา้ เสียรวม ซึ่งถูกออกแบบให้
สามารถบาบัดนา้ เสียดังกล่ าวได้
ราคาต่อหน่วยสาหรับเกณฑ์ในข้ อนี ้ คานวณได้ จากราคาในการรวบรวม
น ้าเสียจากห้ องปฏิบตั ิการไปบาบัด คิดเป็ นราคาต่อหน่วย 1,500 บาทต่อ
น ้าเสียจากห้ องปฏิบตั ิการ 1 ลูกบาศก์เมตร
153
153
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.1 มีการคัดแยกขยะ ได้ แก่ ขยะทั่วไป ขยะรี ไซเคิล
และขยะอันตราย ตัง้ แต่ แหล่ งกาเนิด
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบภาชนะในการรองรับขยะมูลฝอยแต่ละประเภท
- ตรวจสอบความถูกต้ องเหมาะสมของลักษณะการจัดวางหรื อ
ติดตังภาชนะรองรั
้
บขยะมูลฝอย เช่น ไม่ควรวางกีดขวางทางหนีไฟ
เป็ นต้ น
154
154
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.1 มีการคัดแยกขยะ ได้ แก่ ขยะทั่วไป ขยะรี ไซเคิล
และขยะอันตราย ตัง้ แต่ แหล่ งกาเนิด
ราคาต่อหน่วยคานวณจากราคาในการซือ้ ถังขยะ
มาติดตังเพื
้ ่อแยกประเภทขยะ ซึ่งมีราคารวมทังสิ
้ ้น
3,166 บาทต่อชุด ซึ่งจะวางประจาในแต่ละชัน้ ของ
อาคาร ดังนัน้ ราคาต่อหน่วยเท่ากับ จานวนชันของ
้
อาคาร คูณด้ วย 3,166 บาท
155
155
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
6.3 ขยะมูลฝอย
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3.2 มีการส่ งเสริมและประเมินผลตามหลักของ 4Rs ได้ แก่ “ลดการใช้ ” (Reduce) “การนา
กลับคืน” (Recovery) “การใช้ ซา้ ” (Reuse) และ “การนากลับมาใช้ ใหม่ ” (Recycle) โดยจัดเก็บ
ข้ อมูลตามหลักการทางสถิติ
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบรายงาน/เอกสารเกี่ยวกับการส่งเสริ ม
และประเมินผล 4Rs โดยหลักการทางสถิติ
ย้ อนหลัง 1 ปี ก่อนที่ได้ รับการตรวจประเมิน
ราคาต่อหน่วยคานวณจากตรวจสอบรายงาน
การจัดเก็บเอกสาร จัดเก็บข้ อมูล เป็ นราคาต่อ
หน่วย 2,500 บาทต่อครัง้
156
156
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.3 มีจุดรวบรวมและจัดเก็บขยะ (Storage) โดย
แบ่ งเป็ น ขยะทั่วไป ขยะรี ไซเคิล และขยะอันตราย เพื่อ
รอการกาจัด
แนวทางในการตรวจประเมิน
- สารวจจุดรวบรวมและจัดเก็บขยะ (Storage) แต่ละประเภท
157
157
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.3 มีจุดรวบรวมและจัดเก็บขยะ (Storage) โดยแบ่ งเป็ น ขยะทั่วไป ขยะรี ไซเคิล และ
ขยะอันตราย เพื่อรอการกาจัด
ราคาต่อหน่วยของจุดรวบรวมและจัดเก็บขยะ (Storage) จะขึ ้นอยู่กบั ปริ มาณขยะที่เกิดขึ ้นของแต่
ละอาคาร ซึง่ ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ได้ กาหนดให้ ที่พกั ขยะสามารถรองรับขยะได้ อย่าง
น้ อย 3 เท่าของปริ มาณขยะที่เกิดขึ ้นในแต่ละวัน โดยราคาต่อหน่วยของอาคารเก็บขยะประมาณ
10,000 บาทต่อตารางเมตร ราคาต่อหน่วยสามารถประเมินได้ ดงั นี ้
“ขนาดอาคารพักขยะที่เหมาะสม” เท่ากับ จานวนพนักงานในอาคาร คูณด้ วย 0.35 (กิโลกรัมต่อคน
ต่อวัน) คูณด้ วย 3 (เท่า) หารด้ วย 150 (กิโลกรัมต่อลบ.ม. )
ราคาก่อสร้ างที่พกั เท่ากับ “ขนาดอาคารพักขยะที่เหมาะสม” คูณด้ วย 10,000
ดังนัน้ ราคาต่อหน่วยสาหรับเกณฑ์ในข้ อนี ้ คือ จานวนพนักงานในอาคาร x 70 บาทต่อตร.ม.
158
158
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.4 จัดเก็บ รวบรวม และการจัดของเสียและขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิบาล รวมทัง้ การ
นาของเสียและขยะมูลฝอยไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบและรวบรวมข้ อมูลเกี่ ยวกับวิธีการจัดเก็บ รวบรวม
และกาจัดของเสียและขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิบาล รวมทัง้
การนาของเสียและขยะมูลฝอยไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
- ตรวจสอบวิธีการขนส่งของเสียและขยะมูลฝอย
- ตรวจสอบผู้ที่จดั เก็บของเสียและขยะมูลฝอย
- ตรวจสอบวิธีการนาของเสียและขยะมูลฝอยไปกาจัดตามหลัก
สุขาภิบาล
ราคาต่อหน่วยคานวณจากค่าใช้ จ่ายในการกาจัดขยะ
ซึง่ มีราคา 500 บาทต่อตันขยะ
159
159
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.3 ขยะมูลฝอย
6.3.5 ไม่ มีการแพร่ กระจายของขยะมูลฝอย นา้ เสีย และกลิ่นจากขยะมูลฝอยก่ อนนาไปกาจัด
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบบริ เวณที่พกั ขยะมูลฝอยว่ามีการป้องกันสัตว์ค้ ยุ เขี่ย
มีการป้องกันน ้าเสียจากขยะมูลฝอยรั่วไหล หรื อมีการดักน ้าเสีย
จากที่พกั ขยะมูลฝอยเข้ าสู่ระบบบาบัดน ้าเสีย และมี ระบบบาบัด
หรื อป้องกันกลิ่นจากขยะที่อยู่ในสภาพเรี ยบร้ อยและใช้ งานได้
หรื อไม่
ราคาต่อหน่วยสาหรับเกณฑ์ในข้ อนี ้ เป็ นราคาของงานตรวจสอบแบบและ
บริเวณที่พกั ขยะ หรื อระบบบาบัดน ้าเสีย หรื อระบบบาบัดกลิน่ จากขยะว่า
อยู่ในสภาพเรี ยบร้ อยหรื อไม่ คิดเป็ นราคาต่อหน่วย 2,500 บาทต่อครัง้
ที่พักขยะมูลฝอย
มีการป้องกันสัตว์ ค้ ุยเขี่ย
160
160
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.4 ความร้ อน
6.4.1 เครื่ องท าความเย็ น ชนิ ด ระบายความร้ อนด้ ว ย
อากาศอยู่ ใ นต าแหน่ งที่ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเดื อ ดร้ อน
ราคาญต่ อสภาพแวดล้ อมใกล้ เคียงอาคาร (หากอาคาร
ไม่ ใช้ เครื่องปรับอากาศไม่ ต้องประเมินเกณฑ์ นี)้
แนวทางในการตรวจประเมิน
ตรวจสอบการติดตั ้งจริงและสภาพแวดล้ อมโดยรอบที่อาจได้ รับผลกระทบ เช่น
- เส้ นทางเดินเท้ าไม่อยู่ในทิศทางที่ระบายลมร้ อนออกมา
- เส้ นทางเดินเท้ าอยู่ไกลเกินกว่าที่จะได้ รับลมร้ อนที่ระบายออกมา
- มีการป้องกันมิให้ ลมร้ อนสร้ างความเดือดร้ อนราคาญกับผู้สญ
ั จร เช่น กาแพงป้องกัน
หรื อยก ชุดระบายความร้ อน (Condensing Unit) ให้ สงู
- ชุดระบายความร้ อน (Condensing Unit) อยู่ห่างจากช่องนาอากาศเข้ าไม่น้อยกว่า 5
เมตร และสูงไม่น้อยกว่า 3 เมตร
161
161
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.4 ความร้ อน
6.4.1 เครื่ องท าความเย็ น ชนิ ด ระบายความร้ อนด้ ว ยอากาศอยู่ ใ นต าแหน่ งที่ ไ ม่
ก่ อให้ เกิดความเดือดร้ อนราคาญ...
การประเมินราคา
ราคาต่อหน่วยสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เป็ นราคาของงานตรวจสอบการจัดวางเครื่ องทา
ความเย็นชนิดระบายความร้ อน ว่าอยู่ในเส้ นทางเดินเท้ าไม่อยู่ในทิศทางที่ระบายลมร้ อนออกมา
หรื อไม่ อยู่ไกลเกินกว่าที่จะได้ รับลมที่ระบายออกมาหรื อไม่ มีการป้องกันมิใ ห้ ลมร้ อนสร้ างความ
เดือดร้ อนราคาญแก่ผ้ สู ญ
ั จรหรื อไม่ หากมีการจัดวางที่ไม่เหมาะสม ก็จะไม่ได้ คะแนนในข้ อนี ้ ซึ่ง
หากจะต้ องปรับเปลี่ยนตาแหน่งการจัดวางใหม่จะมีค่าการปรับเปลี่ยนตาแหน่งคิ ดเป็ นราคาต่อ
หน่วย 2,000 บาทต่อเครื่ อง
162
162
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.5 การลดแสงสะท้ อนจากอาคาร
6.5.1 ใช้ วัสดุท่ เี ป็ นผิวของผนังอาคารหรือที่ใช้ ตกแต่ งผิว
ภายนอกอาคารที่มี ปริ มาณการสะท้ อนแสงได้ ไ ม่ เกิ น
ร้ อยละ30
แนวทางในการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบชนิดของวัสดุที่เป็ นผิวภายนอกของผนังอาคาร หรื อที่ใช้ ตกแต่ง
ผิวภายนอกอาคารจากแบบก่อสร้ าง เช่น กระจกและผนังผิวมัน และ
ข้ อมูลการสะท้ อนแสงของวัตถุ นันจากผู
้
้ ผลิต ตัวอย่างเช่น การระบุการ
สะท้ อนแสงของกระจก(Visible Rays Reflectance Out หรื อ Ref.Out)
ซึง่ ทาให้ สามารถเลือกใช้ กระจกได้ ตามเกณฑ์ประเมิน
- ตรวจสอบการติดตังจริ
้ งเทียบกับแบบ รวมทังสั
้ งเกตการสะท้ อนแสงจาก
อาคาร
163
163
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีอาคารเดิม)
หมวดที่ 6
การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.5 การลดแสงสะท้ อนจากอาคาร
6.5.1 ใช้ วัสดุท่ ีเป็ นผิวของผนังอาคารหรื อที่ใช้ ตกแต่ งผิวภายนอกอาคารที่มี
ปริมาณการสะท้ อนแสงได้ ไม่ เกินร้ อยละ30
ถ้ าอาคารใช้ วสั ดุที่เป็ นผิวของผนังอาคารหรื อที่ใช้ ตกแต่งผิวภายนอกอาคารที่มีปริ มาณการสะท้ อนแสง
มากเกินไป จะต้ องมีการปรับเปลี่ยนผนังชนิดใหม่ หากอาคารต้ องการผ่านเกณฑ์ในข้ อนี ้ จะต้ องปรับเปลี่ยน
วัสดุสะท้ อนแสงสูงถึง 70% ของพื ้นที่สะท้ อนทังหมด
้
เพื่อให้ เหลือการสะท้ อนแสงได้ ไม่ เกิน 30% ตาม
เกณฑ์ดงั กล่าว ราคาในการปรับเปลี่ยนวัสดุ เท่ากับ 70% คูณด้ วย พื ้นที่วสั ดุสะท้ อนแสง (ตร.ม.) คูณด้ วย
1,000 (บาทต่อ ตร.ม.) หรื อ คิดราคาต่อหน่วย พื ้นที่ผิวภายนอกที่สะท้ อนแสง x 700 บาทต่อ ตร.ม.
164
164
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
การป้องกันผลกระทบต่ อ
สิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
165
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.1 การป้องกันผลกระทบช่ วงก่ อสร้ างโครงการ
6.1.1 มี แ ผนและด าเนิ น การป้ องกัน มลพิ ษ การรบกวนจากการก่ อ สร้ า งครบ ต้ องผ่ าน
ดังต่อไปนี ้
1) มลภาวะทางอากาศ
2) มลภาวะทางเสียง
3) มลภาวะทางน้า
4) ขยะจากการก่อสร้างและจากคนงานก่อสร้าง
5) อุบตั ิ เหตุ เช่น ไฟไหม้ การพังถล่ม เป็ นต้น
6) ปั ญหาการจราจร
166
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอก
อาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.2 มลพิษทางอากาศ
6.2.1 ออกแบบและก่อสร้างหอผึ่งเย็นตามประกาศของกรมอนามัย เรื ่องข้อปฏิ บตั ิ การควบคุม ต้ องผ่ าน
เชื ้อลี จิโอเนลลาในหอผึ่งเย็นของอาคารในประเทศไทย (เฉพาะระบบปรับอากาศที ่มีการ
ติ ดตัง้ หอผึ่งเย็น)
6.2.2 ใช้สารทาความเย็นทีส่ ่งผลต่อสภาวะเรื อนกระจกน้อย เช่น R134 (ระบบปรับอากาศ อย่างน้อย
ร้อยละ 50 จานวนตันความเย็นติ ดตัง้ ทัง้ หมดในระบบปรับอากาศ)
6.2.3 กรณี มีแหล่งกาเนิ ดมลพิษทางอากาศประเภทอืน่ ๆ เช่น ห้องปฏิ บตั ิ การ ห้องเก็บสารเคมี ซึ่งมีไอ
ระเหยทีเ่ ป็ นพิษ เป็ นต้น ต้องมีระบบบาบัดมลพิษทางอากาศ ก่อนปล่อยออกจากอาคาร (หาก
อาคารไม่มีแหล่งกาเนิ ดมลพิษดังกล่าว ไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์ขอ้ นี ้)
6.2.4 กรณี ทีม่ ีหอ้ งประกอบอาหาร ต้องมีระบบบาบัดกลิ่ น ควัน ก่อนปล่อยออกจากอาคาร (หากอาคาร
ไม่มีหอ้ งประกอบอาหาร ไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์ข้อนี ้)
1
1
1
167
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอก
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
6.3 น้าเสีย
6.3.1 ผลการวิ เคราะห์น้าทิ้ ง ซึ่งกฎหมายกาหนดไว้จะต้องอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้าทิ้ งตามทีท่ างราชการกาหนดทุก
ต้องผ่าน
พารามิ เตอร์ (หากอาคารใช้ระบบบาบัดน้าเสียรวมของกลุ่มอาคารหรื อของท้องถิ่ นหรื อผูไ้ ด้รบั อนุญาตให้รบั น้าเสีย
มารวมบาบัดไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์นี)้
6.3.2 มีการรวบรวมน้าเสียจากทุกแหล่งกาเนิ ดน้าเสียทัง้ ภายในและภายนอกอาคารได้ทงั้ หมด ไปยังระบบบาบัดน้าเสีย
1
ของอาคาร
6.3.3 มีการแยกระบบระบายน้าฝนและระบบรวบรวมน้าเสียออกจากกันอย่างชัดเจน หรื อมีการจัดทาระบบในการแยก
1
น้าฝน เช่น บ่อผันน้าเสีย (Combined Sewer Overflow: CSO)
6.3.4 มีระบบบาบัดน้าเสีย โดยระบบฯจะต้องถูกออกแบบให้มีความสามารถบาบัดน้าเสีย ซึ่งถูกรวบรวมมาได้และมี
1
ประสิ ทธิ ภาพในการบาบัดน้าเสียให้ได้ตามทีก่ ฎหมายกาหนดไว้
6.3.5 กรณี น้าเสียทีม่ ีคณ
ุ สมบัติแตกต่างจากน้าเสียชุมชนทัว่ ไป เช่น น้าเสียจากห้องปฏิ บตั ิ การ จะต้องมีการรวบรวมน้า
1
เสียไปบาบัดแยกจากระบบบาบัดน้าเสียของอาคาร หรื อมีระบบบาบัดน้าเสียรวม ซึ่งถูกออกแบบให้สามารถ
บาบัดน้าเสียดังกล่าวได้
อาคาร
168
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
6.4
6.4.1
6.4.2
ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
มีการคัดแยกขยะ ได้แก่ ขยะทัว่ ไป ขยะรี ไซเคิ ล และขยะอันตราย ตัง้ แต่แหล่งกาเนิ ด
มีการส่งเสริ มและประเมิ นผลตามหลักของ 4 Rs ได้แก่ “ลดการใช้” (Reduce) “การนากลับคืน”
(Recovery) “การใช้ซ้ า” (Reuse) และ “การนากลับมาใช้ใหม่”(Recycle) โดยจัดเก็บข้อมูลตาม
หลักการทางสถิ ติ
มีจุดรวบรวมและจัดเก็บขยะ (storage) โดยแบ่งเป็ น ขยะทัว่ ไป ขยะรี ไซเคิ ล และขยะอันตราย
เพือ่ รอการกาจัด
จัดเก็บ รวบรวม และกาจัดของเสียและขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิ บาล รวมทัง้ การนาของเสีย
และขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์
ไม่มีการแพร่กระจายของขยะมูลฝอย น้าเสีย และกลิ่ นจากขยะมูลฝอยก่อนนาไปกาจัด
6.4.3
6.4.4
6.4.5
คะแนน
1
1
1
1
1
169
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
6.5
6.5.1
ความร้ อน
จัดวางเครื ่องทาความเย็นชนิ ดระบายความร้อนด้วยอากาศ ในตาแหน่งที ่ไม่ ก่อให้เกิ ด
ความเดื อ ดร้ อ นร าคาญต่ อ สภาพแวดล้ อ มใกล้ เ คี ย งอาคาร (หากอาคารไม่ ใ ช้
เครื ่องปรับอากาศไม่ตอ้ งประเมิ นเกณฑ์นี)้
การลดแสงสะท้ อนจากอาคาร
ใช้วัส ดุที่เ ป็ นผิ ว ของผนังอาคารหรื อ ที ่ใ ช้ต กแต่ งผิ ว ภายนอกอาคารที ่มี ปริ มาณการ
สะท้อนแสงได้ไม่เกิ นร้อยละ 30
6.6
6.6.1
รวมคะแนนหมวดที่ 6
คะแนน
1
ต้องผ่าน
13
170
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1 การป้องกันผลกระทบช่ วงก่ อสร้ างโครงการ
6.1.1 มี แ ผนและด าเนิ น การป้ องกั น มลพิษ การ
รบกวนจากการก่ อสร้ างครบดังต่ อไปนี ้
1) มลภาวะทางอากาศ เช่ น ฝุ่ น
2) มลภาวะทางเสียง
3) มลภาวะทางนา้
4) ขยะจากการก่ อสร้ างและจากคนงานก่ อสร้ าง
5) อุบัตเิ หตุ เช่ น ไฟไหม้ การพังถล่ ม เป็ นต้ น
6) ปั ญหาการจราจร
171
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.1.1 มีแผนและดาเนินการป้องกันมลพิษ…
แนวทางการตรวจประเมิน
1. ตรวจสอบแผนป้องกันและแก้ ไขมลพิษและเหตุก่อความเดือดร้ อนราคาญ
2. ตรวจสอบภาพถ่ ายแสดงการป้องกันและแก้ ไขมลพิษก่ อความเดือดร้ อนราคาญ ดังระบุในข้ อ 1.
3. ตรวจสอบบันทึกการแก้ ไขเหตุจากการร้ องเรียน ซึ่งอย่ างน้ อยต้ องมีรายละเอียดดังนี ้
- วันเดือนปี ที่เกิดเหตุหรื อรับเรื่ องร้ องเรี ยนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทุกครัง้ พร้ อมสาเหตุ ความเสียหาย
วิธีการแก้ ไขปั ญหา ระยะเวลาที่ใช้ แก้ ไขปั ญหา และความพึงพอใจของผู้ร้องเรี ยนหรื อผู้เสียหาย
- สถิตกิ ารเกิดเหตุซ ้า โดยการร้ องเรี ยนที่มีสาเหตุและผู้ร้องเรี ยนซ ้ากับที่เคยเกิ ดขึ ้นมาแล้ ว ต้ องมีได้ อีก
ไม่เกิน 1 ครัง้
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่องจากเป็ นการจัดทาแผน
ป้องกันและแก้ ไขมลพิษ เป็ นการจัดทาบันทึกต่ างๆ ภายในหน่ วยงาน
172
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 6 การป้องกันผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อมภายนอกอาคาร
6.2 มลพิษทางอากาศ
6.2.1 ออกแบบและก่ อสร้ างหอผึ่งเย็น ตามประกาศของ
กรมอนามัย เรื่ องข้ อปฏิบัติการควบคุมเชือ้ ลีจิ โอเนลลา
ในหอผึ่ง เย็น ของอาคารในประเทศไทย (เฉพาะระบบปรั บ
อากาศที่มีการติดตั ้งหอผึง่ เย็น)
แนวทางการตรวจประเมิน
ต ร ว จ ส อบแ บบก่ อส ร้ าง และเอกสาร แสด ง
รายละเอียดทางเทคนิคของหอผึ่งเย็น ซึ่งต้ องสอดคล้ อง
กับที่ระบุไว้ ในส่ วนที่ 2 หอผึ่งเย็นในประกาศกรมอนามัย
ตรวจสอบการติดตัง้ จริ งและวิธีการบารุ งรั กษาเพื่อ
ป้ องกั น เชื อ้ ลี จิโ อเนลลาในหอผึ่ ง เย็ น ต้ อ งเป็ นไปตาม
ประกาศของกรมอนามัยครบถ้ วน
การประเมินราคา
ราคาต่ อหน่ วยคานวณจาก
ค่ าใช้ จ่ายในการป้องกัน
เชือ้ ลีจโิ อเนลลาและบารุ งรักษาหอผึ่ง
เย็นราคา 15 บาทต่ อตันความเย็น
173
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
วัสดุและการก่ อสร้ าง
174
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
7.1 การเลือกใช้ วัสดุภายในประเทศ
มีการใช้วสั ดุทีผ่ ลิ ตภายในประเทศ (ไม่รวมอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้ า / เครื ่องกล) คิ ดเป็ น
1
7.1.1
มูลค่าไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าก่อสร้างทัง้ หมด
7.2 การใช้ วัสดุก่อสร้ างที่ได้ รับการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม
รายการวัสดุก่อสร้ างซึ่ งได้รับการรับรองฉลากสิ่ งแวดล้อมที ่เลื อกใช้ ทัง้ นี ้ จะต้องมี
ปริ มาณการใช้เฉลีย่ รวมแล้วไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 60
7.2.1 - มากกว่า ร้อยละ 80 ของรายการทัง้ หมดทีเ่ ลือกใช้ได้
1
- มากกว่า ร้อยละ 90 ของรายการทัง้ หมดทีเ่ ลือกใช้ได้
1
- ร้อยละ 100 ของรายการทัง้ หมดทีเ่ ลือกใช้ได้
1
7.3 การใช้ วัสดุทนี่ ามาใช้ ซา้ (Reuse)
มี การใช้วสั ดุใช้ซ้ าในโครงการ (ไม่รวมอุปกรณ์ ในระบบไฟฟ้ า / เครื ่ องกล เช่ น ปั๊ ม
ลิ ฟต์ เครื ่องปรับอากาศ) คิ ดเป็ นมูลค่าไม่นอ้ ยกว่า
7.3.1
- ร้อยละ 5 ของมูลค่าก่อสร้างทัง้ หมด
1
- ร้อยละ 10 ของมูลค่าก่อสร้างทัง้ หมด
1
175
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
คะแนน
7.4 การเลือกใช้ วัสดุทไ่ี ด้ จากวัสดุนากลับมาใช้ ใหม่ (Recycle)
7.4.1 มีการใช้วสั ดุทีผ่ ลิ ตจากวัสดุทีน่ ากลับมาใช้ใหม่ในโครงการ (ยกเว้น เหล็กก่อสร้าง)
คิ ดเป็ นมูลค่าไม่นอ้ ยกว่า
- ร้อยละ 10 ของมูลค่าก่อสร้างทัง้ หมด
1
- ร้อยละ 20 ของมูลค่าก่อสร้างทัง้ หมด
1
7.5 ใช้ เทคนิคก่ อสร้ างแบบหล่ อสาเร็จ (Prefabrication)
7.5.1 ใช้เทคนิ คก่อสร้างแบบหล่อสาเร็ จ
1
รวมคะแนนหมวดที่ 7
9
176
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.1 การเลือกใช้ วัสดุภายในประเทศ
7.1.1 มี ก ารใช้ วั ส ดุ ท่ ี ผ ลิ ต ภายในประเทศ (ไม่ รวม
อุ ปกรณ์ ใ นระบบไฟฟ้ า / เครื่ อ งกล) คิด เป็ นมู ล ค่ าไม่
น้ อยกว่ าร้ อยละ 90 ของมูลค่ าก่ อสร้ างทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบรายการวัสดุก่อสร้ างที่ผลิตในประเทศที่ ใช้ ใน
โครงการทัง้ หมดพร้ อมราคา
- รวมมู ล ค่ า วั ส ดุ ก่ อ สร้ างที่ผ ลิ ต ในประเทศทัง้ หมดแล้ ว
เปรียบเทียบกับมูลค่ าก่ อสร้ าง
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่องจากรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้
วัสดุท่ ผี ลิตภายในประเทศเป็ นการกาหนดตัง้ แต่ การออกแบบของอาคารที่จะก่ อสร้ างใหม่
177
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.2 การใช้ วัสดุก่อสร้ างที่ได้ รับการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม
7.2.1 รายการวัสดุก่อสร้ างซึ่งได้ รับการรั บรองฉลาก
สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ลื อ กใช้ ทั ง้ นี ้ จะต้ อ งมี ป ริ ม าณการใช้
เฉลี่ยรวมแล้ วไม่ น้อยกว่ า ร้ อยละ 60
- มากกว่ า ร้ อยละ 80 ของรายการทัง้ หมดที่เลือกใช้ ได้
- มากกว่ า ร้ อยละ 90 ของรายการทัง้ หมดที่เลือกใช้ ได้
- ร้ อยละ 100 ของรายการทัง้ หมดที่เลือกใช้ ได้
178
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.2 การใช้ วัสดุก่อสร้ างที่ได้ รับการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม
7.2.1 รายการวัสดุก่อสร้ างซึ่งได้ รับการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม...
แนวทางการตรวจประเมิน
- จัดทาเอกสารประกอบการประเมินจากแบบก่ อสร้ าง และรายการประมาณราคา (Bill of
Quantity) และรายการวัสดุท่ ใี ช้ จริงในการก่ อสร้ าง โดยระบุประเภทของวัสดุท่ ใี ช้ ในโครงการ ที่
มีรายการอยู่ในโครงการฉลากเขียว และ/หรื อ สินค้ าและบริ การที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมที่
กรมควบคุมมลพิษให้ การยอมรั บ
- สารวจประเภทของวัสดุ (หรื อสินค้ า ) ที่อยู่ในโครงการฉลากเขียวหรื อเป็ นมิตรกับ
สิ่งแวดล้ อมที่นามาใช้ จริง เปรียบเทียบกับจานวนประเภททัง้ หมดที่เลือกใช้ ได้
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่องจากรายละเอีย ดเกี่ยวกับการ
ใช้ วัสดุก่อสร้ างที่ได้ รับการรั บรองฉลากสิ่งแวดล้ อม เป็ นการกาหนดตัง้ แต่ การออกแบบของ
อาคารที่จะก่ อสร้ างใหม่
179
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.3 การใช้ วัสดุท่ ีนามาใช้ ซา้ (Reuse)
7.3.1 มีการใช้ วัสดุใช้ ซา้ ในโครงการ (ไม่ รวมอุปกรณ์ ใน
ระบบไฟฟ้ า / เครื่ องกล เช่ น ปั๊ ม ลิ ฟ ต์ เครื่ องปรั บ
อากาศ) คิดเป็ นมูลค่ าไม่ น้อยกว่ า
- ร้ อยละ 5 ของมูลค่ าก่ อสร้ างทัง้ หมด
- ร้ อยละ 10 ของมูลค่ าก่ อสร้ างทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบจากแบบก่ อสร้ าง รายการประมาณราคา (Bill of Quantity) และรายการวัสดุ
ที่ใช้ จริงในการก่ อสร้ าง
- ทาเอกสารประเมิน ระบุชนิด ปริมาณ และมูลค่ าของวัสดุท่ นี ามาใช้ ซา้ ในโครงการ
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรับเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่องจากรายละเอียดเกี่ยวกับการ
ใช้ วัสดุซา้ ในโครงการเป็ นการกาหนดตัง้ แต่ การออกแบบ
180
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.4 การเลือกใช้ วัสดุท่ ีได้ จากวัสดุนากลับมาใช้ ใหม่ (Recycle)
7.4.1 มีการใช้ วัสดุท่ ีผลิตจากวัสดุท่ นี ากลับมาใช้ ใหม่ ในโครงการ
(ยกเว้ น เหล็กก่ อสร้ าง) คิดเป็ นมูลค่ าไม่ น้อยกว่ า
- ร้ อยละ 10 ของมูลค่ าก่ อสร้ างทัง้ หมด
- ร้ อยละ 20 ของมูลค่ าก่ อสร้ างทัง้ หมด
แนวทางการตรวจประเมิน
- ตรวจสอบจากแบบก่ อสร้ าง รายการประมาณราคา (Bill of Quantity) และรายการวัสดุท่ ใี ช้
จริงในการก่ อสร้ าง ที่มีเอกสารหลักฐานแสดงว่ าเป็ นวัสดุท่ นี ากลับมาใช้ ใหม่ (Recycle)
- ทาเอกสารประเมิน ระบุชนิด ปริมาณและมูลค่ าของวัสดุท่ ไี ด้ จากวัสดุนากลับมาใช้ ใหม่ ใน
โครงการ แล้ วเปรียบเทียบกับมูลค่ าก่ อสร้ าง
การประเมินราคา
ไม่ มีราคาต่ อหน่ วยและค่ าใช้ จ่ายสาหรั บเกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่ องจากรายละเอียดเกี่ยวกับการ
เลือกใช้ วัสดุท่ ไี ด้ จากวัสดุท่ นี ากลับมาใช้ ใหม่ เป็ นการกาหนดตัง้ แต่ การออกแบบ
181
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ (กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
หมวดที่ 7 วัสดุและการก่ อสร้ าง
7.5 ใช้ เทคนิคก่ อสร้ างแบบหล่ อสาเร็จ (Prefabrication)
7.5.1 ใช้ เทคนิคก่ อสร้ างแบบหล่ อสาเร็จ
แนวทางการตรวจประเมิน
ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น โ ด ย จั ด ท า เ อ ก ส า ร
ประกอบการประเมินระบุการใช้ เทคนิคการก่ อสร้ าง
แบบชิน้ ส่ วนสาเร็จรูป (Prefabrication)
การประเมินราคา
ไม่ มี ร าคาต่ อ หน่ วยและค่ าใช้ จ่ า ยส าหรั บ
เกณฑ์ ในข้ อนี ้ เนื่ องจากรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การ
เลื อ กใช้ เทคนิ ค ก่ อสร้ างแบบหล่ อส าเร็ จ เป็ นการ
กาหนดตัง้ แต่ การออกแบบ
182
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
นวัตกรรม
หมวดที่ 7
หมวดที่ 8
(กรณีอาคารเดิม)
(กรณีท่ จี ะมีการก่ อสร้ างอาคารใหม่ )
183
183
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
นวัตกรรม
ลาดับที่
เกณฑ์ การประเมิน
1
พัฒนาการด้ านการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้ อมภายในและ
ภายนอกอาคาร (ทีไ่ ม่ มีระบุไว้ ในแบบประเมิน)
1.1
1.2
1.3
มี เทคโนโลยี กลยุทธ์ หรื อวิ ธีการทีเ่ ป็ นนวัตกรรม รู ปแบบที ่ 1
มี เทคโนโลยี กลยุทธ์ หรื อวิ ธีการทีเ่ ป็ นนวัตกรรม รู ปแบบที ่ 2
มี เทคโนโลยี กลยุทธ์ หรื อวิ ธีการทีเ่ ป็ นนวัตกรรม รู ปแบบที ่ 3
คะแนนรวมหมวด
คะแนน
1
1
1
3
184
184
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
นวัตกรรม
1 พัฒนาการด้ านการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้ อมภายในและภายนอกอาคาร
(ที่ไม่ มีระบุไว้ ในแบบประเมิน)
แต่ ละอาคารสามารถเสนอเทคโนโลยี กลยุทธ์ หรื อวิธีการที่เป็ นนวัตกรรม
ได้ 3 รู ปแบบ
185
185
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
แนวทางในการตรวจประเมิน
นวัตกรรมในที่นีแ้ ยกเป็ น 2 กรณี
กรณีท่ ีพัฒนาจากเกณฑ์ ประเมินจนทาให้ ได้ ผลที่ดีกว่ า
กรณีท่ เี ป็ นการดาเนินการที่ไม่ มีอยู่ในเกณฑ์ การประเมินที่กาหนดไว้
ซึ่ง ตรวจประเมินโดยตรวจสอบเอกสารการศึ กษา วิจั ย พัฒนาและออกแบบปรั บปรุ ง โดยมี
เอกสารยื น ยั น ผลการศึ ก ษาทดลองหรื อ ประมาณการจากการใช้ ง านจริ ง และต้ อ งเป็ นการ
ดาเนินงาน การออกแบบหรือวิธีการจัดการที่รับรองได้ ว่าเกิดจากการพัฒนาใหม่ ตามนิยามของ
“นวัตกรรม” ที่ระบุไว้ ข้างต้ น
186
186
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
มีการรวมกลุ่มผู้รณรงค์ การใช้ พลังงานอย่ างประหยัด
ซึ่ ง เป็ นเจ้ าหน้ าที่ แ ละพนั ก งานในองค์ กรในลั ก ษณะที่ เ ป็ นอาสาสมั ค ร โดยมี ก ารท า สื่ อ
ประชาสัมพันธ์ และการทากิจกรรมร่ วมกันเป็ นประจาของเจ้ าหน้ าที่
187187
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
มีการเพิ่มประสิทธิภาพระบบปรั บอากาศของอาคารด้ วยการใช้ กระดาษลูกฟูก
การใช้ กระดาษลูกฟูกในเครื่ องปรั บอากาศ
Split Type อาคาร สทท. ช่ อง 11
การใช้ กระดาษลูกฟูกในระบบปรั บ
อากาศ Chiller อาคาร NECTEC
มีการเพิ่มประสิทธิภาพระบบปรั บอากาศของอาคารด้ วยการใช้ กระดาษลูกฟูกที่มีการซึมนา้ ผ่ าน
ช่ วยระบายความร้ อนที่เกิดจากเครื่องระบายความร้ อนของระบบปรั บอากาศ
188188
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
มีการใช้ อุปกรณ์ ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า เช่ น motion sensor
Motion Sensor ในห้ องนา้ อาคาร NECTEC
Motion Sensor ชัน้ หนังสือ อาคาร
หอสมุดกลางจุฬา
มีการติดตัง้ อุปกรณ์ เปิ ด-ปิ ดดวงโคมอัตโนมัตดิ ้ วยอุปกรณ์ จับความเคลื่อนไหว (Motion Sensor)
189
189
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
มีการจัดทารายงานการศึกษาความสามารถในการย่ อยสลายขยะจากเศษอาหาร
และขยะทางการเกษตร โดยใช้ ไส้ เดือนดิน
โดยจุดประสงค์ หลักคือ เพื่อผลิตปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้ เศษอาหารและขยะอินทรี ย์ และเพื่อ
เปรียบเทียบการย่ อยสลายขยะอินทรีย์ของไส้ เดือนดินกับลักษณะของขยะอินทรีย์
190190
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
มีผลงานประดิษฐ์ คดิ ค้ น
ระบบควบคุมเครื่ องปรั บอากาศและเตือนภัยห้ องคอมพิวเตอร์
โดยทาการตรวจวัดอุณหภูมิภายในห้ องและนาอุณหภูมิท่ ีได้ ไปตัดสินใจในการเปิ ดหรื อปิ ดเครื่ องปรั บอากาศให้
เหมาะสม และสามารถเก็บข้ อมูลของอุณหภูมิท่ ีวัดได้ โดยสามารถดูข้อมูลย้ อนหลังได้ รวมถึงมีการส่ งคาเตือนสู่
ระบบโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ใ นกรณี อุ ณ หภู มิ สู ง เกิ น ที่ ก าหนด ผู้ ใ ช้ ส ามารถดู อุ ณ หภู มิ แ ละสถานะการท างานของ
เครื่ องปรั บอากาศจากที่ใดก็ได้ โดยผ่ านระบบอินเตอร์ เน็ต
191
191
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การจัดการดูแลและทาความสะอาดพืน้ ที่ภายนอกอาคาร
อย่ างเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
การใช้ เครื่ องตัดหญ้ าที่ไม่ ส่งเสียงดังรบกวนหรือไม่ ใช้ ระบบที่สนิ ้ เปลืองนา้ มันและก่ อให้ เกิดมลพิษ การใช้ นา้ ยาทา
ความสะอาดที่เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม รวมถึงการใช้ สีทาภายนอกอาคารที่ไม่ ผสมสารอินทรีย์ระเหยง่ ายหรื อ VOCs
192
192
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การจัดการดูแลภูมทิ ัศน์ ภายนอกอาคาร
การที่อาคารมีการบริหารจัดการอาคารในเรื่ อง การไม่ ใช้ สารเคมีในการกาจัดแมลงรบกวนภายนอกอาคาร มีการ
ดูแลเรื่ องการกร่ อนของหน้ าดินลงสู่ทางระบายนา้ รวมถึงการจัดการดูแลภูมิทัศน์ ภายนอกอาคาร
193
193
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การตรวจวัดปริมาณคาร์ บอนมอนนอกไซด์ ในพืน้ ที่จอดรถยนต์
(กรณีอยู่ภายในอาคาร)
CO Monitoring in carpark
194
194
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การใช้ ระบบ Parking Management
195
195
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การลดการเกิดมลภาวะทางแสงในเวลากลางคืน
การออกแบบให้ ไฟรั ว้ หรื อทางมีไฟที่ไม่ ส่องขึน้ ฟ้า ไปทาลายระบบนิเวศในเวลากลางคืน รวมถึงการมีระบบปิ ดไฟ
อัตโนมัตใิ นเวลากลางคืน หรื อหลังเลิกงาน
196
196
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
ตัวอย่ างนวัตกรรม
การประชาสัมพันธ์ หรื อถ่ ายทอดองค์ ความรู้ ทางด้ านการอนุรักษ์ ส่ งิ แวดล้ อมแก่
ประชาชนทั่วไป
สามารถทาได้ โดยการแจกแผ่ นพับ การทา website หรื อการจัดเข้ าดูงานภายในอาคาร รวมถึงการจัดห้ อง
นิทรรศการภายในพืน้ ที่อาคาร
197
197
โครงการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมของภาครัฐ (อาคารเขียว)
กรมควบคุมมลพิษ
Q&A
198