สถิติเพื่อการวิจัยทางสัง

Download Report

Transcript สถิติเพื่อการวิจัยทางสัง

ประเภทของการวิจยั
และ
องค์ประกอบเบื้องต้นของการวิจยั
ประเภทของการทาวิจยั (1)
การทาวิจยั เบื้องต้น (Basic Research) คือ การมุ่งแสวงหาข้อเท็จจริ ง
พื้นฐาน หาความรู ้ความเข้าใจ หรื อ เพื่อสร้างทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเกิดขึ้น
ของปรากฏการณ์ที่ศึกษา ความรู ้ที่ได้จะเป็ นพื้นฐานของการวิจยั ในขั้น
ต่อไป
การทาวิจยั ประยุกต์ (Applied Research) คือ การวิจยั ที่มีวตั ถุประสงค์ที่
จะนาผลการวิจยั ไปใช้ในทางปฏิบตั ิจริ ง เช่น เพื่อนาไปแก้ปัญหา หรื อ
เพื่อประกอบการตัดสิ นใจ
ประเภทของการทาวิจยั (2)
การวิจยั ทดลอง (Experimental Method) หมายถึง การวิจยั ที่อาศัยการ
ทดลองเป็ นหลัก ซึ่งต้องมีการวางแผนการทดลองภายใต้การ
ควบคุมดูแลอย่างรอบคอบและมีการเฝ้ าสังเกตผลที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบ
การวิจยั แบบไม่อาศัยการทดลอง (Nonexperimental Method) เป็ นการ
วิจยั ที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทาตามสภาพความเป็ นจริ งที่เป็ นอยู่
ไม่มีการควบคุมหรื อกระตุน้ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งสิ้ น
ประเภทของการทาวิจยั (3)
การวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantative Research) หมายถึง การวิจยั ที่เน้นการ
ใช้ขอ้ มูลที่เป็ นตัวเลขเป็ นสิ่ งยืนยันความถูกต้องของทฤษฎี
การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) หมายถึง การวิจยั ที่ไม่เน้น
ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขเป็ นหลัก แต่เน้นการหารายละเอียดต่าง ๆที่จะ
ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
องค์ประกอบเบื้องต้นของการทาวิจยั
การกาหนดหัวข้อสาหรับการวิจยั
การทบทวนวรรณกรรม
การตั้งสมมติฐานในงานวิจยั
การออกแบบการวิจยั
การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย
การสร้างเครื่ องมือสาหรับการเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การตีความผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล และรายงานผล
การกาหนดหัวข้อสาหรับการวิจยั
การกาหนดหัวข้อสาหรับการวิจยั
ที่มาของหัวข้อปัญหาสาหรับงานวิจยั
ผูว้ ิจยั มีความสนใจในหัวข้อนี้จากประสบการณ์ของตน
ได้จากการอ่านเอกสารงานวิจยั ต่าง ๆ
แหล่งอุดหนุนทุนวิจยั เป็ นผูก้ าหนด
ฯลฯ
หลักเกณฑ์ในการเลือกหัวข้อปัญหา
ความสาคัญของปัญหา
ความสนใจของผูว้ ิจยั
การเสริ มสร้างความรู ้ใหม่
ความเป็ นไปได้ในการดาเนินการวิจยั ให้สาเร็ จลุล่วง
วิธีช่วยกาหนดหัวข้อปัญหาให้ชดั เจน
กาหนดเป็ นแนวคิด (concept)
ตั้งเป็ นคาถามหรื อข้อความ (statement)
ตั้งวัตถุประสงค์ของงานวิจยั (research objective)
ข้อผิดพลาดในการเลือกหัวข้อปัญหาสาหรับการวิจยั
ขาดการรวบรวมข้อมูลก่อน
ข้อปัญหาและความมุ่งหมายของการวิจยั ไม่ชดั เจน หัวข้อปัญหาใหญ่โต
ไม่จากัดขอบเขต
ข้อปัญหาและความมุ่งหมายของการวิจยั ไม่ชดั เจน หัวข้อปัญหาใหญ่โต
ไม่จากัดขอบเขต
ข้อตกลงเบื้องต้นไม่ชดั เจนไม่น่าเชื่อถือ
ไม่คานึงถึงทรัพยากร เช่น เวลา ทรัพย์ และกาลัง
การวิเคราะห์การเลือกหัวข้อปัญหาสาหรับการวิจยั
ผูว้ ิจยั มีความสนใจหัวข้อปัญหาและอยากหาคาตอบจริ งหรื อไม่
ผูว้ ิจยั มีความรู ้พ้นื ฐานในหัวข้อปัญหาดีพอหรื อไม่
หัวข้อปัญหามีเครื่ องมือที่จะทาการวิจยั ได้หรื อไม่
สมมติฐานชัดเจนและมีขอ้ มูลมาทดสอบได้หรื อไม่
หัวข้อปัญหามีความสาคัญ และเป็ นประโยชน์หรื อไม่
หัวข้อปัญหาซ้ าซ้อนหรื อไม่
การตั้งชื่อหัวข้อวิจยั
การตั้งชื่อหัวข้อวิจยั ควรประกอบด้วยมิติดงั นี้
สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะการเก็บวิเคราะห์ขอ้ มูล
ประชากรเป้ าหมาย
ประเด็นสาคัญของการวิจยั
การกาหนดประเด็นเป็ นการชี้แนวทางในการทาการวิจยั ซึ่ งสัมพันธ์กบั การทบทวน
วรรณกรรม
ตัวอย่างหัวข้อวิจยั
「日本語の起源について」
「日本語起源論における南方説の系譜」
「日本語の平叙文における主語の有無-機能的
分析」
「現代日本語における非標準的語順の機能
-談話機能観点から」
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การค้นคว้า ศึกษา รวบรวมและ
ประมวลผลงานทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ทาวิจยั เพื่อศึกษา
เนื้อหา รู ปแบบและเครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั ทาให้ทราบถึง
ระเบียบวิธีการวิจยั
ประเด็น แนวความคิด
ผลการวิเคราะห์
ข้อสรุ ปข้อเสนอแนะจากผลงานวิจยั
ควรทบทวนวรรณกรรมเมื่อใด
การทบทวนวรรณกรรมต้องทาก่อนลงมือทาการวิจยั ก่อนกาหนด
ประเด็นปัญหา หลังจากผูว้ ิจยั ได้เลือกหัวข้ออย่างคร่ าว ๆ แล้ว
การทบทวนวรรณกรรมช่วยทาให้ผวู ้ ิจยั สามารถกาหนดประเด็น
ปัญหาก่อนกาหนดหัวข้อวิจยั
เนื่องจากมีงานวิจยั ออกมาอยูต่ ลอดเวลา ดังนั้นจึงควรทาการ
ทบทวนวรรณกรรมเพิม่ เติมไปในระหว่างที่ทาการวิจยั และหลังจากทา
การวิจยั ด้วย
ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม
ช่วยมิให้ทาวิจยั ในเรื่ องที่มีผไู ้ ด้ทาการศึกษาวิจยั มาอย่างเพียงพอแล้ว
ช่วยให้กาหนดปั ญหาและสมมติฐานในการวิจยั ได้ถกู ต้องเหมาะสม
ทราบถึงวิธีการศึกษาที่ทามาในอดีตและช่วยให้ออกแบบงานวิจยั ได้เหมาะสม
ทาให้ทราบถึงปั ญหาความยุง่ ยากของการวิจยั
ทาให้ทราบว่าแหล่งความรู ้อยูท่ ี่ไหนบ้าง
ช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อค้นพบในอดีตและเชื่อมโยงทฤษฎีแนว
ความคิดในอดีตกับข้อมูลปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการสะสมความรู้
หลักการเลือกสารวจเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
ภาพรวมอย่างกว้าง ๆ
หัวข้อเฉพาะ
หัวข้อที่เกี่ยวข้องโดยตรง
สารวจเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
- หนังสื อทัว่ ไป
- หนังสื ออ้างอิง
- หนังสื อรายปี
- วารสาร
- หนังสื ออ้างอิงอื่น ๆ
- เวบไซต์ต่าง ๆ
ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม
กาหนดแผนการรวบรวมข้อมูล
อ่านพร้อมจดบันทึก
- ทาบรรณนานุกรมหนังสื อที่เราได้อ่านไปแล้วทั้งหมด
- ทาการ์ดเดต้าเบสแล้วต้องจัดเก็บเอกสารที่ซีรอกซ์มาให้เป็ นระบบเพื่อ
สะดวกในการค้นหา ต้องบันทึกข้อมูลเบื้องต้น คือ ชื่อผูเ้ ขียน, ชื่อ
หนังสื อ(ชื่อบทความ ชื่อวารสาร), ปี ที่ตีพิมพ์, ครั้งที่ตีพิมพ์, ชื่อ
สานักพิมพ์และสถานที่ต้ งั เนื้อหา, เลขที่ฉบับและเลขหน้า เก็บไว้ทุกครั้ง
ตัวอย่างการ์ดข้อมูล
หัวข้อ เนื้อเรื่ อง
ชื่อผูแ้ ต่ง ปี
ชื่อบทความหรื อหนังสื อ
พิมพ์ที่ : ชื่อสานักพิมพ์
ชื่อวารสาร ฉบับที่ หน้าที่
Comment :
มีบทความนี้อยูใ่ นมือหรื อไม่
ประธาน โครงสร้างประโยค มี
Kuno,S. 1973
The Structure of the Japanese Language.
Cambridge, Mass.: MIT Press.
Language Vol.1,No.1,pp. 30-40.
Comment: สาคัญ หนังสื อเกี่ยวกับภาพรวมกว้างๆของโครงสร้าง
ประโยคในภาษาญี่ปุ่น มีประโยคตัวอย่างมาก น่าจะนาประโยค
ตัวอย่างมาใช้ได้ แต่ทฤษฎีเก่าและการอธิบายไม่ชดั เจน
การเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม
- ไม่ควรเสนอเป็ นรายชื่อบุคคล หรื อตามรายปี
- ไม่ควรกล่าวว่าใครเป็ นคนแรกที่ทางานวิจยั เรื่ องนี้
- ควรเรี ยบเรี ยงให้อยูใ่ นรู ปของประเด็นศึกษา แนวคิดหรื อสมมติฐานของ
งานวิจยั
- ควรชี้ให้เห็นว่ามีผใู ้ ดเสนอแนวความคิดหรื อข้อโต้แย้งอะไรบ้าง
- ควรชี้ให้เห็นว่าผูว้ ิจยั ค้นพบสิ่ งใดที่ควรทาวิจยั เพิม่ เติม
- ควรชี้ให้เห็นว่าแต่ละงานวิจยั ได้นาระเบียบวิธีวิจยั อะไรมาใช้ และตัว
ผูว้ ิจยั จะใช้วิธีการใด เพราะเหตุใด
สิ่ งที่ช่วยให้การทบทวนวรรณกรรมมีประสิ ทธิ ภาพและ
รวดเร็ วขึ้น
1. เพื่อนวิจยั
การสร้างกลุ่มเพื่อนวิจยั เพื่อการแลกเปลี่ยนความรู ้ ข้อมูลหนังสื อ
บทความต่างๆ
2. การเข้าร่ วมการสัมมนาทางวิชาการต่าง ๆ
การเข้าร่ วมการสัมมนาวิชาการต่าง ๆ บ่อย ๆ จะทาให้ผวู ้ ิจยั ได้รับ
ความรู ้ที่กว้างขวางและทันสมัยมากขึ้น
ประโยชน์ของการมีอา้ งอิง
เพื่อเป็ นการยอมรับงานของผูเ้ ขียนคนอื่น เป็ นการอ้างอิงโดยไม่ได้เป็ น
การขโมยความคิดของผูอ้ ื่น
เพื่อแสดงให้เห็นถึงองค์ความรู ้ที่ผอู ้ า้ งอิงได้ใช้เป็ นพื้นฐานในงานของ
ตน
เพื่อทาให้ผวู ้ ิจยั คนอื่นๆ สามารถหาร่ องรอยกลับไปยังแหล่งอ้างอิงและ
ทาให้เขาได้สารนิเทศเพิม่ เติม
ระบบการอ้างอิงที่มีมาตรฐานทาให้การกลับไปหาแหล่งความรูเ้ ป็ นเรื่ อง
ง่ายขึ้น สะดวกและมีประสิ ทธิภาพขึ้น
สมมติฐานในการวิจยั
ทฤษฎี / สมมติฐานในการวิจยั
ทฤษฎี หมายถึง คาอธิบายปรากฏการณ์ตามเหตุผลที่ผา่ นการ
ทดสอบแล้ว ในการวิจยั จะมีการใช้กรอบทฤษฎีหรื อกรอบแนวคิดกากับ
กระบวนการวิจยั
สมมติฐาน หมายถึง ข้อความที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
แนวคิดที่ผวู ้ ิจยั มุ่งจะนาไปทดสอบว่าเป็ นจริ งเช่นนั้นหรื อไม่
ความสาคัญของทฤษฎี
ในเรื่ องเดียวกันอาจมีทฤษฎีมากกว่าหนึ่ง
การเลือกทฤษฎีที่เหมาะสมเป็ นสิ่ งที่สาคัญมากเพราะจะมีผลต่อการเลือก
วิธีดาเนินการวิจยั การเลือกตัวแปร ฯลฯ
เพราะจะมีผลต่อการเลือกวิธีดาเนินการวิจยั การเลือกตัวแปร ฯลฯ
การตั้งสมมติฐานในการวิจยั (1)
สมมติฐานในการวิจยั มี 2 ประเภท
1. สมมติฐานการวิจยั เป็ นข้อความที่บอกว่าหรื อคาดคะเนว่าตัวแปรที่จะ
ศึกษานั้นมีความสัมพันธ์กนั อย่างไร
ตัวอย่าง เพศมีความสัมพันธ์กบั การตัดสิ นใจเลือกสาขาในการเรี ยน
1.1 สัมพันธ์กนั อย่างไม่มีทิศทาง
1.2 สัมพันธ์กนั อย่างมีทิศทาง
2.สมมติฐานทางสถิติ เป็ นสัญลักษณ์และความหมายทางสถิติ เพื่อพร้อม
ที่จะนาไปพิสูจน์ทางสถิติ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
การตั้งสมมติฐานในการวิจยั (2)
2.1 สมมติฐานว่าง (Null Hypothesis) เป็ นสมมติฐานที่บอกว่าตัวแปรที่
จะศึกษานั้นไม่มีความแตกต่างกัน หรื อไม่มีความสัมพันธ์กบั สัญลักษณ์
ของสมมติฐานว่าง คือ H0
2.2 สมมติฐานทางเลือก(Alternative Hypothesis) เป็ นสมมติฐานที่บอก
ว่าตัวแปรที่กาลังจะศึกษานั้น มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร สัญลักษณ์ของ
สมมติฐานทางเลือกคือ H1
ตัวอย่าง H0 : µ1 = µ2
H1 : µ1 ≠ µ2
การทดสอบสมมติฐาน
วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
การเริ่ มการทดสอบจากการพยายามพิสูจน์วา่ ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์
กัน ถ้ายังคงพบว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์ ย่อมให้ผลที่น่าเชื่อถือได้
มากกว่าการทดสอบที่พยายามว่าตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กนั
การใช้สถิติทดสอบที่ถูกต้อง
ในการทดสอบสมมติฐานซึ่งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับการวิจยั เชิงปริ มาณที่
มุ่งหาคาอธิบาย จาเป็ นจะต้องใช้เทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติให้ถูกต้อง
ทั้งนี้เพราะสถิติวิเคราะห์แต่ละวิธีสร้างขึ้นมาอย่างมีเป้ าหมายโดยเฉพาะ
และเหมาะสมกับระดับการวัดตัวแปรบางระดับเท่านั้น
การออกแบบการวิจยั
การออกแบบการวิจยั (Research design)
หมายถึง การกาหนดกิจกรรมและรายละเอียดต่าง ๆ ที่จะต้องทา และ
วิธีการ แนวทางต่าง ๆ ที่จะใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลจากประชากร
เป้ าหมาย เพื่อสามารถตอบปัญหาของการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง (Validly) และแม่นยา (Accurately) เป็ นไป
ตามความเป็ นจริ งหรื ออย่างมีวตั ถุวิสยั (Objectively)
การออกแบบการวิจยั
ควรออกแบบการวิจยั ให้
ค่าตัวแปรผันแปรมากที่สุด
ลดอิทธิพลของตัวแปรอื่นที่นอกขอบเขตการวิจยั
ขจัดข้อบกพร่ องของการวัด
การกาหนดตัวแปร
การกาหนดแนวคิดและการกาหนดตัวแปร
แนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ จะช่วยให้ทราบว่ามีขอ้ มูลใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับ
ประเด็นที่ผวู ้ ิจยั ศึกษา และข้อมูลเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางใด
ซึ่งจะทาให้ผวู ้ ิจยั สามารถ กาหนดเป้ าหมายและขอบเขตการหา
ข้อเท็จจริ งเพื่อตอบปัญหาได้ชดั เจน และช่วยให้ผวู ้ ิจยั กาหนดตัวแปร
เลือกวิธีวิจยั และกาหนดหน่วยวิเคราะห์หรื อกลุ่มประชากรเป้ าได้อย่าง
ถูกต้อง
การกาหนดตัวแปร
ตัวแปร (variable) คือ แนวความคิด หรื อข้อคิดเห็นซึ่ ง
หลากหลายในด้านประเภทและจานวน สาหรับงานวิจยั ตัวแปรต้องเป็ น
สิ่ งที่วดั ได้
การแปลงแนวคิดเป็ นตัวแปรที่วดั ค่าได้ในทางปฏิบตั ิ เช่น เวลาใน
การเรี ยนมีความสัมพันธ์กบั สัมฤทธิ์ผลด้านการเรี ยน ∴ ตัวแปรเรื่ องเวลา
ในการเรี ยนวัดเป็ นจานวนชัว่ โมง ส่ วนตัวแปรเรื่ องสัมฤทธิ์ผลด้านการ
เรี ยนวัดด้วยคะแนนสอบ
ความยากง่ายของตัวแปร
ตัวแปรในการวิจยั มีความยากง่ายไม่เท่ากัน เช่น ตัวแปรเพศ ตัวแปร
น้ าหนัก เป็ นตัวแปรที่เห็นได้ง่ายและชัดเจน มากกว่าตัวแปรที่เป็ น
นามธรรม เช่น ความพอใจในอาชีพปัจจุบนั ความคิดเห็นต่อระบบการ
ปกครองในปัจจุบนั ความสามัคคีของคนในชุมชม ซึ่งสิ่ งเหล่านี้เป็ นสิ่ งที่
มองไม่เห็น ไม่มีมาตรวัดที่ชดั เจน ผูว้ ิจยั ต้องออกแบบการวิจยั เพื่อให้
ได้มาซึ่งสิ่ งเหล่านี้
ประเภทของตัวแปร
1. ตัวแปรเชิงคุณภาพ เป็ นตัวแปรที่ได้จากการแยกประเภท เช่น เพศ อาชีพ
2. ตัวแปรเชิงปริ มาณ เป็ นตัวแปรที่ได้จากการวัด มีลกั ษณะที่ระบุเป็ น
ตัวเลขได้ เช่น น้ าหนัก ส่ วนสูง รายได้ต่อปี
การนิยามตัวแปร
เมื่อศึกษาจนเข้าใจเนื้อหาแนวคิดของหัวข้อ และตัวแปรต่าง ๆ แล้ว ต้อง
แปลงคาจากัดความหรื อนิยามทางทฤษฎีให้เป็ นนิยามเชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ง
เป็ นข้อความเชิงประจักษ์เพื่อให้สามารถทาการทดสอบเชิงสถิติได้
โดยนาแนวคิดมาพิจารณาว่ามีตวั ชี้ใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดและตัว
แปรนั้น ๆ แล้วนาตัวชี้เหล่านั้นมาตั้งเป็ นคาถามในแบบสอบถาม
คานิยามเชิงทฤษฎี
หมายถึง การกาหนดความหมายโดยทัว่ ไปของแนวคิดหรื อตัวแปรใน
การวิจยั เป็ นคาจากัดความที่มุ่งอธิบาย แนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับ
ปรากฏการณ์ในระดับทฤษฎีซ่ ึงมีความเป็ นนามธรรม ผูว้ ิจยั ต้องเขียน
คาจากัดความให้สามารถบอกเนื้อหาโดยใช้คาอธิบายที่ทาให้เกิดความ
กระจ่างชัด คาจากัดความประเภทนี้จะไม่อยูใ่ นลักษณะจานวน หรื อ
มวลที่คลุมเครื อ เช่น ความขัดแย้ง คือ ความไม่เห็นด้วยอย่างรุ นแรง
(เพราะความรุ นแรงสาหรับแต่ละคนไม่เท่ากัน)
คานิยามเชิงปฏิบตั ิการ
หมายถึง การกาหนดตัวชี้หรื อรายละเอียดที่สามารถสังเกตได้หรื อ
สัมภาษณ์ได้ภายในขอบข่ายของความหมายของคานิยามทัว่ ไป
เป็ นการลดระดับความเป็ นนามธรรมสู่ขอ้ ความเชิงประจักษ์ โดยการนา
แนวคิดมาพิจารณาว่ามีตวั ชี้ใดบ้างที่บอกหรื อแสดงแนวคิดนั้น และตัวชี้
เหล่านี้คือ ตัวแปรที่ผวู ้ ิจยั ต้องนามาให้คานิยามเชิงปฏิบตั ิการ ซึ่งนาไปสู่
การวัดตัวแปร
ตัวอย่างการแปลงนิยามเชิงทฤษฎีให้เป็ นนิยามเชิง
ปฏิบตั ิการ
ตัวแปร “น้ าใจ”
ความหมายทัว่ ไป “การกระทาซึ่งแสดงถึงการชอบให้และชอบช่วยเหลือ
ผูอ้ ื่น”
นิยามเชิงปฏิบตั ิการ
- ใครขอความช่วยเหลืออะไรก็ไม่เคยปฏิเสธ
- ใครเดือดร้อนก็จะยืน่ มือไปช่วยเหลือ
- ใฝ่ ถามทุกข์สุขของเพื่อนฝูงอยูเ่ ป็ นนิจ ฯลฯ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
1. เหตุผล คือ การระบุวา่ ตัวแปรใดมีความสัมพันธ์กบั ตัวแปรใดบ้าง
เพราะเหตุใด
2. รู ปแบบของความสัมพันธ์
2.1 ความสัมพันธ์ทางเดียว(ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร)
2.2 ความสัมพันธ์แบบตอบโต้(ความสัมพันธ์แบบสมมาตร)
3. ทิศทางของความสัมพันธ์
3.1 เชิงลบ
3.2 เชิงบวก
ความสัมพันธ์แบบอสมมาตรกับ ความสัมพันธ์แบบสมมาตร
ความสัมพันธ์แบบอสมมาตร หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสอง
ตัวที่มีทิศทางเดียวกัน
X
Y
ความสัมพันธ์แบบสมมาตร หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว
ที่มีผลต่อกันแต่ไม่มีตวั ใดเป็ นตัวแปรอิสระตลอดไป
X
Y
ความสัมพันธ์เชิงเส้นกับความสัมพันธ์เชิงเส้นโค้ง
ความสัมพันธ์เชิงเส้น หมายถึง สาระของความสัมพันธ์(รู ปแบบของการ
เปลี่ยนค่าของตัวแปร)มีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง
ความสัมพันธ์เชิงเส้นโค้ง หมายถึง ค่าของตัวแปรหนึ่งเปลีย่ นแปลงไป
ค่าของอีกตัวแปรหนึ่งก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย แต่ไม่ตลอดในบาง
ช่วงค่าของตัวแปร
ทิศทางของความสัมพันธ์เชิงบวกกับเชิงลบ
ทิศทางของความสัมพันธ์เชิงบวก หมายถึง เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งมีค่าสูงขึ้นตัว
แปรอีกตัวหนึ่งจะมีค่าสูงขึ้น หรื อ เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งมีค่าต่าลง ตัวแปร
อีกตัวหนึ่งก็จะมีค่าต่าลงด้วย
ทิศทางของความสัมพันธ์เชิงลบ หมายถึง เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งมีค่าสูงขึ้นตัว
แปรอีกตัวหนึ่งจะมีค่าต่าลง หรื อในทางกลับกัน
การควบคุมมิให้ตวั แปรอื่นมีผลต่อข้อสรุ ป
1. การคัดเลือกประชากรที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกด้านที่ผวู ้ ิจยั ต้องการ
ควบคุมอิทธิพล
2. การสุ่ มตัวอย่างแบบกระจาย
3. การจับคู่วิเคราะห์
4. การควบคุมทางสถิติ
ความถูกต้องของแบบการวิจยั
1. ความถูกต้องภายใน ความถูกต้องของข้อสรุ ปที่ได้จากตัวแบบการ
วิจยั ที่ใช้
2. ความถูกต้องภายนอก ความถูกต้องของการนาข้อสรุ ปที่ได้จากการวิจยั
นั้นไปใช้กบั ประชากรที่นอกเหนือไปจากกลุ่มตัวอย่างที่ทาการศึกษา
วิจยั
ระดับการวัดตัวแปร
1.ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงคุณภาพ
1.1 ระดับนามมาตราหรื อระดับกลุ่ม (Nominal scale)
1.2 ระดับอันดับมาตรา (Ordinal scale)
2. ระดับการวัดที่ใด้ตวั แปรเชิงปริ มาณ
2.1 ระดับช่วงมาตรฐาน (Interval scale)
2.2 ระดับอัตราส่ วนมาตรา (Ratio scale)
ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงคุณภาพ
ระดับนามมาตรา มาตรนามบัญญัติหรื อระดับกลุ่ม เป็ นการวัดเพื่อแบ่ง
ข้อมูลออกเป็ นกลุ่ม บอกลักษณะกลุ่มหรื อประเภทเท่านั้น ไม่แสดง
ปริ มาณ หรื ออันดับสูงต่า เช่น เพศ อาชีพ อาจกาหนดสัญลักษณ์ หรื อ
ตัวเลขแทน เช่น 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง ตัวเลขที่กาหนดแทนนี้
ไม่สามารถนามาบวก ลบ คูณ หารได้ สถิติที่นามาใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ เป็ นต้น
ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงคุณภาพ
ระดับอันดับมาตรา เป็ นการวัดอันดับ บอกลาดับว่าข้อมูลใดอยูใ่ นอันดับ
ที่เท่าไหร่ แต่ไม่ได้บอกว่าดีกว่า หรื อมากกว่าเท่าใด เช่น การประกวด
นางงาม คนที่ได้อนั ดับที่ 1 2 3 ตัวเลขนี้ไม่สามารถนามาบวก ลบ คูณ
หาร กันได้
สถิติที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ สหสัมพันธ์แบบอันดับ
ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงคุณภาพ
1. กลุ่ม (Nominal) ได้จากการวัดระดับแบ่งกลุ่ม บอกลักษณะของการกลุ่ม
หรื อประเภทเท่านั้น ไม่บอกปริ มาณ
2. อันดับ (Ordinal) ได้จากการวัดระดับอันดับ บอกลาดับว่าข้อมูลใดอยูใ่ น
อันดับที่เท่าไหร่
ระดับการวัดที่ได้ตวั แปรเชิงปริ มาณ
ระดับช่วงมาตรฐาน หมายถึงการแบ่งช่วงภายในแต่ละหน่วยต้องมีช่วงที่เท่ากัน อาจ
กาหนดค่าตัวเลขแทนสิ่ งของหรื อพฤติกรรมได้ ไม่มีค่าศูนย์แท้ แสดงปริ มาณมาก
น้อย สามารถนามาบวก หรื อลบได้ระดับช่วงมาตรฐาน ระดับช่วงนี้บอกปริ มาณ
ความมาก-น้อยกว่ากันเท่าใด เช่น การสอบวิชาภาษาญี่ปุ่น
นาย ก. 50 คะแนน
นาย ข. 25 คะแนน
นาย ค. 0 คะแนน
ไม่ได้หมายความว่านาย ค. ไม่มีความรู ้เลยแต่หมายความว่านาย ค. ตอบคาถามไม่ถกู
เลยจึงได้คะแนน 0 คะแนน 0 นี้เป็ นค่าที่กาหนดขึ้นเท่านั้น
ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงปริ มาณ
1. ช่วง (Interval) ได้จากการวัดระดับช่วง บอกปริ มาณความมาก-น้อยกว่า
กันเท่าใด
2.2 อัตราส่ วน(Ratio) ได้จากการวัดระดับอัตราส่ วน ได้จากการชัง่ วัด ตาม
ลักษณะกายภาพ
ระดับการวัดที่ได้ตวั แปรเชิงปริ มาณ
ระดับอัตราส่ วนมาตรา แบ่งเป็ นช่วงเหมือนกับการวัดช่วงมาตรฐาน แต่มีศนู ย์แท้ และ
สามารถเปรี ยบเทียบเชิงอัตราส่ วนได้ได้จากการชัง่ วัด ตามลักษณะกายภาพและมี
ค่า 0 จริ ง เช่นการวัดระยะทางรถยนต์ ถ้าวิง่ ได้ 0 กิโลเมตร หมายถึงรถยนต์หยุดอยู่
กับที่ ไม่ได้เคลื่อนที่ ในการวัดระดับนี้สามารถบอกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน
เปรี ยบเทียบเป็ นอัตราส่ วนได้ เช่น
นาย ก. หนัก 80 กิโลกรัม
นาย ข. หนัก 40 กิโลกรัม
หมายความว่า นาย ก. หนักเป็ นสองเท่าของนาย ข. ตัวเลขเหล่านี้สามารถนามาบวก
ลบ คูณ หารได้
การรวบรวมข้อมูล
และ
เครื่ องมือในการเก็บข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. การเก็บข้อมูล (Data collection) หมายถึง การเก็บข้อมูลใหม่
2. การรวบรวมข้อมูล (Data compilation) หมายถึง การนาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่
ผูอ้ ื่นได้ทาการเก็บไว้แล้วมาเพื่อทาการศึกษาวิเคราะห์ต่อ
การจาแนกข้อมูล
1. จาแนกตามแหล่งที่มา
ข้อมูลปฐมภูมิ - ข้อมูลทุติยภูมิ
2. จาแนกตามคุณสมบัติการวัดข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริ มาณ - ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)
ข้อดี
- เก็บได้ตรงตามประเด็นศึกษา
ข้อเสี ย
- สิ้ นเปลืองทุนทรัพย์และกาลังคน
- เสี ยเวลาในการเก็บข้อมูล
- อาจเกิดข้อผิดพลาดหากขาดความชานาญในการเก็บข้อมูล
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
ข้อดี
- ไม่สิ้นเปลืองทุนทรัพย์และกาลังคน
- ไม่เสี ยเวลาในการเก็บข้อมูลใหม่
- ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของเหตุการณ์น้ นั
ข้อเสี ย
- ไม่ครบถ้วนตามประเด็นที่ตอ้ งการศึกษา
- ปัญหาเรื่ องความเชื่อถือได้ของข้อมูล
- ไม่ทนั สมัย
วิธีการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
1. การสารวจสนาม
1.1 การสัมภาษณ์
1.2 การสนทนากลุ่ม
1.3 การสังเกต
1.4 การใช้แบบสอบถาม
2. การทดลอง
ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)
หมายถึงข้อมูลที่มิใช่ตวั เลขที่จะนามาจัดหมวดหมู่วิเคราะห์ทางสถิติ เป็ น
ข้อมูลที่ได้จากคาถามปลายเปิ ดของการวิจยั เชิงปริ มาณ หรื อจากการ
บันทึกสังเกต หรื อจากการสัมภาษณ์
ข้อดี
- ให้รายละเอียดมากกว่า
ข้อเสี ย
- มีขอบเขตจากัดครอบคลุมพื้นที่นอ้ ย
ข้อมูลเชิงปริ มาณ (Quantitative data)
หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นตัวเลขที่ผวู ้ ิจยั สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์ทาง
สถิติได้ แบ่งตามระดับการวัด
1.ระดับการวัดที่ให้ตวั แปรเชิงคุณภาพ
1.1 กลุ่ม (Nominal)
1.2 อันดับ (Ordinal)
2. ระดับการวัดที่ใด้ตวั แปรเชิงปริ มาณ
2.1 ช่วง (Interval)
2.2 อัตราส่ วน(Ratio)
สิ่ งที่ควรตระหนักในการเก็บข้อมูล
ต้องสนองตอบวัตถุประสงค์ของการวิจยั ได้ครบถ้วน
ข้อมูลต้องมีความผันแปรจึงจะสามารถทดสอบสมมติฐานได้
ควรเก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่นอกเหนือจากในสมมติฐานด้วย ทั้งนี้
ขึ้นอยูก่ บั การทบทวนวรรณกรรมที่ลึกซึ้ง
สถิติกบั งานวิจยั
สถิติเบื้องต้น
ประเภทของสถิติ
1. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) เป็ นสถิติที่บรรยายให้
คุณลักษณะของสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษาจากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่ง
อาจจะเป็ นกลุ่มใหญ่หรื อกลุ่มเล็กก็ได้ ผลของการศึกษาไม่สามารถนาไป
อ้างอิงกลุ่มอื่นได้
2. สถิติเชิงอ้างอิงหรื อสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็ นสถิติที่
ใช้ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างแล้วสรุ ปผลที่ได้จากการศึกษากลุม่ ตัวอย่างนั้น
อ้างอิงไปถึงกลุ่มประชากรโดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็ น สถิตแิ บบนี้
สาคัญอยูท่ ี่กลุ่มตัวอย่างจะต้องเป็ นตัวแทนที่ดีของกลุ่มประชากร
การเตรี ยมข้อมูลเพื่อการประมวลผล
การลงรหัส (Coding)
เป็ นการเปลี่ยนรู ปแบบข้อมูลโดยให้รหัสแทนข้อมูลเพื่อทาให้สามารถ
จาแนกลักษณะของข้อมูล รหัสที่ใช้แทนข้อมูลจะอยูใ่ นรู ปของตัวเลข
ตัวอย่าง
สถานภาพส่ วนบุคคล
1. เพศ
( ) 1. ชาย
(
2. อายุ
( ) 1. 18 ปี – 25 ปี
( ) 3. 34 ปี – 40 ปี
3. อาชีพ
( ) 1. นักเรี ยน/นักศึกษา (
( ) 3. เอกชน
(
) 2. หญิง รหัส .......
(
(
) 2. 26 ปี – 33 ปี
) 4. 41 ปี – 47 ปี รหัส......
) 2. ข้าราชการ
)4. แม่บา้ น
รหัส........
ตัวอย่าง
ท่านมีความพึงพอใจต่อรายการทีวีในระดับใด
( ) มากที่สุด
(
) มาก
( ) ปานกลาง
(
) น้อย
( ) น้อยที่สุด
ปกติท่านเปิ ดรับสื่ อใดต่อไปนี้ บา้ ง
( ). ทีวี
( ) วิทยุ
รหัส.....
( ) หนังสื อพิมพ์
( ) อื่นๆ
รหัส........
รหัส.....
รหัส....
รหัส....
สถิติสาหรับตัวแปรเดียว (Univariate Statistics)
สถิติที่ใช้กบั ตัวแปรตัวเดียวในที่น้ ีจะเริ่ มจากตัวแปรกลุ่มก่อน แล้วจึง
ตามเสนอด้วยสถิติที่ใช้กบั ตัวแปรอันดับ ตัวแปรช่วง และตัวแปร
อัตราส่ วน
1. สถิติสาหรับตัวแปรกลุ่ม (nominal variable)
เทคนิควิธี
1.1 การกระจายจานวนในแต่ละกลุ่มความถี่ (Frequency)
1.2. การกระจายอัตราส่ วน/ร้อยละ (Percent)
ตัวอย่างแจกแจงความถี่
นาย ก. ต้องการทราบว่าใครคือบุคคล
ที่กลุ่มตัวอย่างไปดูภาพยนตร์ดว้ ยเป็ น
ประจา โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 233 คน นาเสนอ
ข้อมูลในรู ปตารางแจกแจง ดังนี้
ความถี่ (คน)
ดูภาพยนตร์คนเดียว
17
ดูภาพยนตร์ กบั เพื่อน
สนิท
136
ดูภาพยนตร์ กบั สมาชิก 68
ในครอบครัว
ตัวอย่างแสดงค่าร้อยละ
เพศ
จำนวน
ร้ อยละ
ชาย
127
42.3
หญิง
173
57.7
รวม
300
100.0
สถิติสาหรับตัวแปรเดียว (Univariate Statistics)
คำสังในโปรแกรม
่
SPSS ทีใ่ ช้สำหรับกำรวิเครำะห์คำ่ สถิติ
- FREQUENCIES เมือ่ มีกลุ่มตัวอย่ำงเพียงกลุ่มเดียว
- CROSSTABS เมือ่ มีกลุ่มตัวอย่ำง 2 กลุ่มทีเ่ ป็ นอิสระ
ต่อกัน
สถิติสาหรับตัวแปรเดียว (Univariate Statistics)
2. สถิติสาหรับตัวแปรอันดับ (Ordinal variable)
เทคนิควิธี ใช้สถิติการกระจายความถี่ (Frequency)
และอัตราส่ วนร้อย(Percent)
3. สถิติสาหรับตัวแปรช่วงหรื อตัวแปรอัตราส่ วน
เนื่องจากตัวแปรช่วงและตัวแปรอัตราส่ วน ใช้วิธีทางสถิติร่วมกันจึงขอ
เสนอสถิติที่ใช้พรรณนาข้อมูลช่วงและข้อมูลอัตราส่ วนไปพร้อมๆกัน
เทคนิควิธี ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าเฉลี่ย (Mean) ได้แก่ ค่าที่เกิดขึ้นจากการร่ วมตัวเลขเข้าด้วยกัน
ทั้งหมดและนาไปหารด้วยจานวนข้อมูล ตัวอย่างเช่น อายุเฉลีย่ ของกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 10 คน
20 + 44+31+56+62+35+48+24+39+40/10
ค่าเฉลี่ยของอายุกลุ่มตัวอย่างได้แก่ 39.9 ปี
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ได้แก่ การคานวณความ
เบี่ยงเบนของข้มูลต่างๆออกจากค่าเฉลี่ย
N
SD =
 ( Xt  X )
t=1 N= 1
2
ความหมายของค่าเบียงเบนมาตรฐาน
SD หมายถึง ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X หมายถึง ค่าเฉลี่ย
X t หมายถึง ค่าที่สามารถสังเกตได้ของตัวอย่างกลุ่มที่ 1 ถึงกลุ่ม N
N หมายถึง ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
 หมายถึง สัญลักษณ์ผลรวม
. ถ้ำตัวแปรมีระดับกำรวัดเป็ นช่วง (Interval Scale) หรือเป็ นอัตรำส่วน
(Ratio Scale)
สถิตทิ น่ี ำมำใช้ในกำรพรรณนำข้อมูล ได้แก่ ค่ำเฉลีย่ (Mean) ค่ำมัธย
ฐำน
(Median) ฐำนนิยม (Mode) ส่วนเบีย่ งเบนมำตรฐำน (Standard
Deviation)และควำมแปรปรวน(Variance) เป็ นต้น
คำสังในโปรแกรม
่
SPSS ทีใ่ ช้สำหรับกำรวิเครำะห์คำ่ สถิติ
- DESCRIPTIVES เมือ่ มีกลุม่ ตัวอย่ำงเพียงกลุ่มเดียว
- MEANS เมือ่ มีกลุม่ ตัวอย่ำง 2 กลุม่ ทีเ่ ป็ นอิสระต่อกัน
สถิติสาหรับตัวแปรเดียว
ลักษณะของข้ อมูล
สถิติทใี่ ช้
กำรนำเสนอข้ อมูล
1. สเกลนามกาหนด (Nominal
Scale)
ความถี่
อัตราส่ วนร้อย
ตารางแจกแจงความถี่ ร้อยละ
สัดส่ วน
2. สเกลอันดับ (Ordinal Scale)
ความถี่ อัตราส่ วนร้อย
เปอร์เซ็นต์ไทส์
ตารางแจกแจงความถี่ ร้อยละ
สัดส่ วน
3. สเกลอันตรภาคและ
อัตราส่ วน (Interval and Ratio
Scale)
ความถี่ อัตราส่ วนร้อยละ ส่ วน ตารางแจกแจงความถี่ ค่าความ
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ความ
เบ้ ค่าความโด่ง
แปรปรวน พิสยั เปอร์เซ็นต์ไทล์
ค่าเฉลี่ย
การทดสอบสมมติฐาน
สถิติเชิงอ้างอิง
สถิติเชิงอ้างอิง หรื อสถิติเชิงอนุมาน
เป็ นศาสตร์วา่ ด้วยการใช้ขอ้ มูลสถิติซ่ ึงสุ่ มมาเป็ นตัวอย่างของประชากร
ทั้งหมด ไปอนุมาน/ประมาณ/ทานาย เกี่ยวกับคุณลักษณะของประชากร
ทั้งหมด รวมทั้งการตัดสิ นใจเกี่ยวกับปัญหาบางอย่าง การวางแผนงาน
และการสร้างสูตรสาหรับพยากรณ์เหตุการณ์ หรื อเพื่อปรับปรุ งผลงาน
ในอนาคต ซึ่งจะต้องอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็ นเป็ นเครื่ องมือสาคัญ
ในกำรวิจยั ทำงสังคมศำสตร์สว่ นใหญ่เรำจะใช้สถิตเิ ชิงอนุมำน สำหรับ
ทดสอบสมมติฐำนกำรวิจยั เพือ่ หำข้อสรุปว่ำจะยอมรับหรือปฎิเสธ
สมมติฐำนกำรวิจยั ทีต่ งั ้ ไว้
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากรจาแนก 2 ทาง
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากรจาแนก 2 ทาง(µ)
1. ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ หรื อขนาดตัวอย่างใหญ่ (n≥30) ใน
โปรแกรมSPSS for Window จะใช้สถิติ t
ตัวอย่าง สมมติฐานการวิจยั ความพึงพอใจเฉลี่ยของลูกค้าทีม่ ีต่อการใช้
บริ การในห้างบิ๊กซีดาวคะนองมีความสัมพันธ์กบั เพศชายและเพศหญิง
สมมติฐานทางสถิติ
H0 : µ1 = µ2
H1 : µ1 ≠µ2
สถิติทดสอบสมมติฐาน
คาสัง่ Spss for window
Analyze
Compare means
Independent-Sample
T-Test
ตัวแปรต้นสเกลNominal(จาแนก 2 กลุ่ม) ตัวแปรตามสเกล
Interval หรื อ Ratio
ขั้นตอนSPSS
1.เลือกตัวแปรจากbox ทางซ้ายมือใส่ ใน Test Variable
2. Grouping Variable หมายถึงตัวแปรที่ใช้แบ่ง
3.เมื่อเลือกตัวแปรใส่ ใน Grouping Variable แล้ว ปุ่ ม Define Group จึง
เป็ นสี เข้ม แสดงว่าผูว้ ิเคราะห์สามารถเลือกได้
4. ผูว้ ิเคราะห์จะต้องระบุช่วงของค่าตัวแปร โดยการคลิกที่Define Group
5. เลือก Continue
6. กด OK
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว
(One-Way Anova)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way Anova)เป็ นการวิเคราะห์
ความแปรปรวนทางเดียวเป็ นการจาแนกข้อมูลด้วยตัวแปรหรื อปัจจัยเพียงปัจจัย
เดียวหรื อเป็ นการวิเคราะห์ความแตกต่างกันของระดับต่างๆของปั จจัยทีส่ นใจ เช่น
คาดว่าปั จจัยที่ทาให้รายได้เฉลี่ยต่างกันมีเพียงปั จจัยเดียว คือ อาชีพ
สมมติฐาน อาชีพที่ต่างกันจะทาให้ความพึงพอใจต่อการใช้บริ การในห้างบิ๊กซี
ดาวคะนองแตกต่างกัน
สมมติฐานทางสถิติ
H0 : µ1 = µ2…..= µk
H1 : มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 กลุ่มที่แตกต่างกัน
สถิติทดสอบสมมติฐาน
คาสัง่ SPSS for window
Analysis
Comparemean
One-way Anova
ตัวแปรต้นเป็ นOrdinal(จาแนกได้มากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป)ตัวแปรตามเป็ น
Interval หรื อ Ratio
ขั้นตอนSPSS
1. เลือกตัวแปรอย่างน้อย 1 ตัวใส่ ใน Dependent List 1 ตัว โดยตัวแปร
นั้นจะต้องเป็ นตัวแปรเชิงปริ มาณ เนื่องจากเป็ นตัวแปรที่ตอ้ งการ
เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ย เช่น รายได้ อาชีพ
2. ใน Factor ต้องเลือกตัวแปรใส่ ใน Factor 1 ตัวที่เป็ นตัวแปรเชิงกลุ่ม
และมีค่าเป็ นเลขจานวนเต็ม เพื่อเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม เช่น
ตัวแปรอาชีพ
3. เลือก Contrasts คลิก LSD
4.เลือก Option คลิก Descriptive คลิก Homoginity คลิก Exclude case
analysis
5.คลิก OK
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าสัดส่ วนสาหรับข้อมูลเชิง
กลุ่ม
การทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติไคสแควร์(Chi-square)
เป็ นการทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม หรื อมากกว่า
2 กลุ่มโดยตัวแปรต้นและตัวแปรตามมีลกั ษณะเป็ นข้อมูลประเภทกลุ่ม
หรื อวัดข้อมูลในระดับนามบัญญัติ หรื อระดับเรี ยงอันดับ
สมมติฐาน
H0 : เพศของผูท้ ี่ใช้บริ การห้างสรรพสิ นค้าบิ๊กซีดาวคะนองไม่มี
ความสัมพันธ์กบั เพศของหมอฟัน
H1 : เพศของผูท้ ี่ใช้บริ การห้างสรรพสิ นค้าบิ๊กซีดาวคะนองมี
ความสัมพันธ์กบั เพศของหมอฟัน
สถิติทดสอบสมมติฐาน
คาสัง่ SPSS for Window
Analyze
Descriptive Statistics
Crosstabs....
ตัวแปรต้นเป็ นNominal หรื อ Ordinal ตัวแปรตามเป็ นNominal
หรื อ Ordinal (ตัวแปรต้นเป็ นตัวแปรคุณภาพตัวแปรตามเป็ นตัว
แปรคุณภาพ)
ขั้นตอนSPSS
1.เลือกตัวแปรใส่ ในboxของ Row(S)
2. เลือกตัวแปร ใส่ ในbox ของ Column(s)
3. คลิกปุ่ มเลือก Statistics คลิก Chi-spuare
4. คลิกปุ่ มcells แล้วเลือก expectedและ Continue
5. คลิก OK
สัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์(Correlation Coefficient)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์(p)เป็ นการ
ทดสอบว่า X และ Y มีความสัมพันธ์กนั หรื อไม่
สมมติฐานการวิจยั
H0 : ความพึงพอใจต่อการใช้บริ การในห้างบิ๊กซีดาวคะนองไม่มี
ความสัมพันธ์กบั ความคิดเห็นต่อการใช้บริ การทาฟัน
H1 : ความพึงพอใจต่อการใช้บริ การมีความสัมพันธ์กบั ความคิดเห็น
ต่อการใช้บริ การทาการทาฟัน
สมมติฐานทางสถิติ
H0 : p = 0
H1 : p ≠ 0
สถิติทดสอบ
คาสัง่ SPSS for Window
Analyze
Correlate
Bivariate
ตัวแปรต้นเป็ นสเกล Interval หรื อ Ratio ตัวแปรตามเป็ นInterval หรื อ
Ration
ขั้นตอน
1.ต้องเลือกตัวแปรเชิงปริ มาณอย่างน้อย 2 ตัวที่ตอ้ งการหาค่า
ความสัมพันธ์รูปเชิงเส้นใส่box ของ variables
2.Correlation Coefficients ให้เลือกที่ Person correlation coefficient
หรื อสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สนั
ถ้าปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ .05 จะใส่ เครื่ องหมาย *
ถ้าปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสาคัญ .01 จะใส่ เครื่ องหมาย **
การสร้างแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม เป็ นเครื่ องมือที่สาคัญในการทาหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล
ให้ตรงกับความต้องการของผูว้ ิจยั ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามให้
ถูกต้องจึงมีความสาคัญต่อการวิจยั เป็ นอย่างยิง่
1. เครื่ องมือหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ สิ่ งที่นกั วิจยั พัฒนาขึ้น
มา เพื่อดาเนินการศึกษา หรื อ “วัด” ตัวแปร ได้แก่ แบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบวิเคราะห์เอกสาร เป็ นต้น
2. เครื่ องมือเสริ มในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ อุปกรณ์ หรื อ กิจกรรม
ต่างๆที่นกั วิจยั เข้ามาใช้ประกอบการวิจยั
แนวทางการสอบถาม
1. แบบสอบถาม
เป็ นเครื่ องมือในการวิจยั ที่นิยมใช้บ่อยที่สุด แต่แบบสอบถามเป็ น
เครื่ องมือที่ไม่เปิ ดโอกาสให้นกั วิจยั ได้พดู คุย ให้คาอธิบายเพิ่มเติมใน
กรณี ที่สงสัย หรื อซักถามรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับผูใ้ ห้ขอ้ มูลในระดับที่
ลึกซึ้ง ในกรณี ที่นกั วิจยั เลือกแบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือสาหรับการวิจยั
นักวิจยั จาเป็ นต้องคานึงถึงรายละเอียดต่างๆดังนี้
ก. ประเด็นคาถาม
ข.การตั้งคาถามตรง หรื อการถามอ้อม
แนวทางการสอบถาม
ค. การตั้งคาถามปลายปิ ด หรื อปลายเปิ ด
ง. การตั้งคาถามซ้ า หรื อคาถามลวง
จ. การจัดเรี ยงประเด็นคาถาม
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
1. สเกลอันดับคาถามเดียว
วิธีการง่ายที่สุดในการจัดอันดับบุคคลในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งก็คือการให้
บุคคลนั้นจัดอันดับตัวเองว่าเป็ นอย่างไร
ตัวอย่าง
ในการสอบครั้งนี้ท่านมีความวิตกกังวลมากน้อยเพียงใด (กรุ ณาใส่
เครื่ องหมายในช่องที่สอดคล้องกับความวิตกกังวลของท่าน
ไม่มีเลย 0 10
20
30
40
50
วิตกกังวลมาก
ที่สุด
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
2. สเกลหลายคาถาม
การใช้คาถามเดียวไม่พอที่จะครอบคลุมแง่มุมต่างๆของคุณสมบัติของ
สิ่ งที่ตอ้ งการจะวัดได้ ต้องอาศัยข้อความหรื อข้อคาถามหลายข้อรวมกัน
โดยแต่ละข้อมีความหมายในตัวของมันเอง
ตัวอย่าง คุณทางานได้ตามความคาดหวังบ่อยเพียงใด
ก. บางครั้ง
ข. บ่อยครั้ง
ค. เสมอ
ง. ไม่เคยเลย
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
ตัวอย่าง คุณมีบทบาทตามฐานะของตนในครอบครัว มากน้อยแค่ไหน
ในการพัฒนาความคาดหวังเกี่ยวกับตัวคุณเอง
ก. ไม่มี
ข. มีบา้ ง
ค. มีมาก
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
3. สเกลความต่างทางศัพท์
เป็ นเทคนิคที่ออสกูด(Osgood) และคณะได้พฒั นาขึ้นมาเพื่อศึกษามิติ
ความหมายของโลกภายในของผูต้ อบโดยวิธีการสัมภาษณ์อย่างมีระบบ
โดยให้ผตู ้ อบตัดสิ นอนุกรมของแนวคิด
ตัวอย่าง
สมมติวา่ เราต้องการศึกษาผลกระทบของการเคลื่อนไหวของสตรี ทีม่ ีต่อ
ความคิดเห็นของบทบาทสตรี ต้องเริ่ มจากเตรี ยมรายการที่คิดว่าบรรยาย
บทบาทนั้นได้ เช่น แม่ พี/่ น้อง เราจะต้องเลือกคุณศัพท์คู่ที่สามารถแทน
ปลายสุ ดของแต่ละมิติได้ เช่น
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
ตัวอย่าง
มีค่า ----,-----,----,----,----,----,----,----, ไม่มีค่าเลย
สะอาด ----,----,----,----,----,----,---- สกปรก
มีรสชาติ ----,----,----,----,----,---- ไร้รสชาด
การสร้างสเกลแบบต่างๆในแบบสอบถาม
4. การวัดทัศนคติ
วิธีการวัดทัศนคติที่แพร่ หลาย นิยมนามาใช้เรี ยกว่าวิธีการวัดทัศนคติ
แบบลิเคิทสเกล(Likert Scale) การวัดแบบนี้เริ่ มด้วยการรวบรวมหรื อ
เรี ยบเรี ยงข้อความที่เกี่ยวข้อง
ข้อความแต่ละข้อความจะมีทางเลือกตอบได้ 5 ทาง เริ่ มตั้งแต่ เห็นด้วย
อย่างยิง่ เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่
ตัวอย่าง ควรให้มีการทาแท้งโดยเสรี
เห็นด้วยอย่างยิง่ เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่
5
4
3 2
1
กำรวิจยั เชิงคุณภำพ
(Qualitative research)
การวิจยั เชิงคุณภาพ
เป็ นการวิจยั ที่แสวงหาความจริ งในสภาพที่เป็ นอยูโ่ ดยธรรมชาติ
(Naturalistic inquiry) ซึ่งเป็ นการสอบสวน มองภาพรวมทุกมิติ
(Holistic perspective) ด้วยตัวผูว้ ิจยั เอง เพื่อหาความสัมพันธ์ของ
ปรากฏการณ์ที่สนใจกับสภาพแวดล้อมนั้น โดยให้ความสาคัญกับข้อมูล
ที่เป็ นความรู ้สึกนึกคิด คุณค่าของมนุษย์ และความหมายทีม่ นุษย์ให้ต่อ
สิ่ งแวดล้อมต่างๆรอบตัว เน้นการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการตีความสร้าง
ข้อสรุ ปแบบอุบนัย (Inductive analysis)
วิธีการวิจยั เชิงคุณภาพ
เป็ นวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคม การค้นหาและ
การให้ความหมายของผูเ้ คยมีหรื อผ่านประสบการณ์ดงั กล่าวซึ่งเป็ น
ความจริ งของบุคคลนั้นๆ เป็ นเรื่ องของ “กระบวนการ”ตลอดจนถึงการ
สร้างทฤษฎีจากบริ บทของผูเ้ กี่ยวข้องในสภาวะทางสังคมนั้นๆ
ยุทธวิธีในการวิจยั เชิงคุณภาพ
1 เป็ นการวิจยั ในสภาพธรรมชาติ
2. ผูว้ ิจยั
3. มองภาพรวมรอบด้าน
4. เน้นข้อมูลเชิงคุณภาพ
5. เน้นกระบวนการพลวัต
6. เน้นเกี่ยวกับบริ บท
7. วิธีการวิจยั มีความยืดหยุน่ สู ง
8. เน้นเรื่ องความรู ้สึกร่ วม ความเข้าใจ
9. คุณภาพของผูว้ ิจยั
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. การสังเกต(observation)
2. การสัมภาษณ์
3. เก็บข้อมูลจากเอกสาร
ความเชื่อถือได้ของข้อมูล(Credibility)
ก.อยูใ่ นสนามเป็ นช่วงระยะเวลานาน
ข. สังเกตอย่างจริ งจัง
ค. ถ่ายทอด เล่า ตรวจสอบระหว่างเพื่อนร่ วมวิจยั
ง. การตรวจสอบแบบสามเส้า
จ. มีสารสนเทศต่างๆครอบคลุมเพียงพอ
ฉ. ข้อมูลต่างๆที่ใช้ประกอบการวิจยั และการตีความเรื่ องราวต่างๆต้อง
ผ่านการตรวจสอบเป็ นระยะๆ
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ช่วงขณะที่เก็บข้อมูลไม่วา่ จะเป็ นการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลเอกสาร
ในสนามก็ตาม นักวิจยั จะใช้เวลาวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้ไปพร้อมๆกัน และ
นาผลวิเคราะห์ได้มาใช้ปรับแนวคิด ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
หรื อปรับยุทธวิธีเก็บข้อมูลใหม่ ขุดค้นต่อไปใหม่
การวัดความเที่ยงตรง
และ
ความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม
ความเที่ยงในการวัดข้อมูล (1)
เครื่ องมือที่มีความเที่ยงในการวัดข้อมูลสูง คือ เครื่ องมือที่สะท้อนให้เห็น
ความสม่าเสมอ(Consistency) และความคงที่ (Stability)ของข้อมูล
นัน่ เอง
ความเที่ยงในการวัดข้อมูล(2)
ตย. ชุดข้อสอบเรื่ อง “ความสามารถในการสื่ อสาร” ที่มีความเที่ยง คือ
ชุดข้อสอบที่บุคคลคนเดียวกัน ทาข้อสอบชุดนั้นในช่วงเวลาที่ต่างกัน
หรื อต่างสถานที่กนั บุคคลคนนั้นก็จะได้คะแนนเฉลี่ยของระดับ
ความสามารถในการสื่ อสารเท่าเดิม
ค่าระดับความเที่ยงในการวัดข้อมูล(1)
มักจะขึ้นอยูก่ บั สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ตย. หากวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิติ Cronbach’s Alpha Coeffient เพื่อดู
ความสัมพันธ์รายข้อของคาถามหลายๆคาถาม ที่บ่งชี้ตวั แปรเดียวกัน
ระดับค่าความเที่ยงของเครื่ องมืออยูใ่ นช่วงระหว่าง 0 ถึง 1
ค่าระดับความเที่ยงในการวัดข้อมูล(2)
โอกาสที่เครื่ องมือในการวิจยั จะมีค่าระดับความเที่ยงน้อยหรื อมากนั้น
สามารถเกิดขึ้นได้จากปัจจัยต่างๆอาทิ
1. ความไม่ชดั เจนของคาถาม
2. ปริ มาณของคาถาม หากคาถามมีปริ มาณมากเกินไป อาจทาให้ผตู ้ อบ
เหนื่อยล้า หรื อไม่ต้ งั ใจตอบ
ความตรงในการวัดข้อมูล(1)
ความตรงในการวัดข้อมูล (measurement validity)หมายถึง การที่เทคนิ ค
เครื่ องมือที่ใช้ในการวัดข้อมูลสามารถสะท้อนความหมายทีแ่ ท้จริ งของ
แนวคิดที่ตอ้ งการศึกษาได้อย่างสมบูรณ์และแม่นยา ตรงตามคุณลักษณะ
ที่แท้จริ งของข้อมูล
หากข้อมูลในการวัดสามารถสะท้อนแนวคิดที่ตอ้ งการวิจยั ได้มากเท่าไร
ยิง่ หมายความว่าเทคนิค/เครื่ องมือในการวัดมีความตรงมากเท่านั้น
ความตรงในการวัดข้อมูล(2)
อาจแบ่งความตรงในการวัดข้อมูล โดยพิจารณาจากเครื่ องมือเป็ นหลัก
ดังนี้
1. ความตรงด้านเนื้อหา (content validity)
เนื้อหาในแบบสอบถามตรงกับประเด็นที่ตอ้ งการวัด เกี่ยวข้องกับความ
ตรงของเครื่ องมือกับคานิยามศัพท์เชิงแนวคิด(concept definition)
2. ความตรงด้านโครงสร้าง(construct validity)
ความตรงด้านโครงสร้างให้ความสาคัญกับทฤษฎี และประเด็นต่างๆที่
ระบุไว้ในทฤษฎี คือ เครื่ องมือที่สามารถวัดสามารถวัดประเด็นต่างๆได้
ครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กาหนดในแนวคิดหรื อทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ความตรงในการวัดข้อมูล(3)
3. ความตรงตามเกณฑ์ปัจจุบนั หรื อเชิงพยากรณ์เกณฑ์อนาคต(criterianrelated validity of predictive validity)
คือ การพิจารณาว่าผลที่ได้จากการวัดสามารถเป็ นพื้นฐานในการทานาย
พฤติกรรมของประชากรได้จริ งหรื อไม่ เช่น บุคคลที่ได้คะแนนสอบ
คัดเลือกสูง เป็ นบุคคลที่เรี ยนได้ดีหรื อไม่ เป็ นต้น
ความตรงของผลการวิจยั
1. ความตรงภายใน (internal validity)
หมายถึง ความแม่นยาของข้อสรุ ป หรื อ ผลที่ได้จากการวัดข้อมูล
กล่าวคือ ผลที่ได้รับจากการวิจยั เป็ นสิ่ งที่ตรงหรื อสอดคล้องกับสภาพ
ของแนวคิดที่ปรากฎขึ้นจริ ง
2. ความตรงภายนอก (external validity)
หมายถึง ความสามารถในการนาข้อสรุ ปจากผลการวิจยั เพื่อใช้อา้ งอิงไป
ยังกลุ่มประชากร
คาสัง่ วัดความเที่ยง(Reliability)
Analyze
Scale
Reliability
Analysis
นาข้อคาถามที่ตอ้ งการวัดใส่ ลงไปในItem
ถ้าค่า Cronbach’s Alpha Coeffient ที่ได้มากกว่า .70
แสดงว่า ข้อคาถามมีความเที่ยงผ่านเกณฑ์
สรุ ปขั้นตอนของการวิจยั
ความเป็ นมาและปัญหา
ทบทวนวรรณกรรม
สมมติฐาน / วัตถุประสงค์
การออกแบบการวิจยั
คาตอบ
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผลการวิจยั
เครื่ องมือที่ใช้
เอกสำรอ้ ำงอิงหลักทีใ่ ช้ ในกำรจัดทำสื่ อกำรเรียน
ธีรยุทธ พึ่งเทียร. 2543. สถิติเบือ้ งต้ นและการวิจัย. กรุ งเทพ ฯ : สานักพิมพ์สูตรไพศาล.
รวีวรรณ ชินะตระกูล. 2533. คู่มือการทาวิจัยทางการศึกษา. กรุ งเทพ ฯ : ภาพพิมพ์.
ศิริชยั กาญจนวาสี . 2547. สถิติประยุกต์ สาหรั บการวิจัย. กรุ งเทพ ฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สุ ชาติ ประสิ ทธิ์รัฐสิ นธุ์. 2532. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ . กรุ งเทพ ฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ
หารศาสตร์.
สุ ภางค์ จันทวานิช. 2533. วิธีวิจัยเชิ งคุณภาพ. กรุ งเทพ ฯ : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
---. 2545. การวิเคราะห์ ข้อมูลในการวิจัยเชิ งคุณภาพ. กรุ งเทพ ฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สรชัย พิศาลบุตร. 2547. สถิติพอเพียง. กรุ งเทพ ฯ : วิทยพัฒน์.
Lesfer, James D. 1996. Writing Research Papers : A Complete Guide. Eighth Edition. New York :
Harper Collins College Publishers.
Leeby, Paul D. Ormrod, Jeanne E. 2005. Practical Research : Planning and Design . Eighth
Edition. New Jersey : Prentice Hall.