บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา และพลศึกษา เรื่อง “ การล้ างมือทีถ่ ูกวิธี ” โดย นางสุ ภา สุ วรรณบัตร อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนวัดบางโพโอมาวาส สานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

Download Report

Transcript บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา และพลศึกษา เรื่อง “ การล้ างมือทีถ่ ูกวิธี ” โดย นางสุ ภา สุ วรรณบัตร อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนวัดบางโพโอมาวาส สานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา และพลศึกษา
เรื่อง “ การล้ างมือทีถ่ ูกวิธี ”
โดย
นางสุ ภา สุ วรรณบัตร
อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนวัดบางโพโอมาวาส
สานักงานเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ความสาคัญของมือ
นอกจาก “สมอง” แล้ว, “มือ” นับเป็ นอวัยวะที่ทาให้มนุษย์เหนือกว่าสิ่ งมีชีวิต
อื่นบนโลกใบนี้ เนื่องจากมนุษย์ ใช้สมองคิดค้นสิ่ งต่าง ๆ ในขณะที่ใช้มือในการ
ประดิษฐ์ และทางานที่สัตว์อื่นทาไม่ได้ เราใช้มือของเรานี้ ในการจับต้องสิ่ งต่าง ๆ
ตั้งแต่ลืมตาขึ้นมาตอนเช้า ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน้ า สัมผัสผูอ้ ื่น รวมทั้งหยิบอาหาร
เข้าปาก แคะจมูก ป้ ายตา มือจึงอาจนาเชื้อโรคเข้าสู่ ร่างกายได้ดว้ ย และหากใครสัก
คนเป็ นโรคติดเชื้อ มือนี้กส็ ามารถกระจายเชื้อไปสู่ ผอู ้ ื่น จากการสัมผัสกันโดยตรง
หรื อแม้กระทัง่ สัมผัสผ่านตัวกลาง ซึ่ งตัวกลางที่พบบ่อยและผูค้ นมักมองข้าม ได้แก่
ลูกบิดประตู ราวโหนรถเมล์ และราวบันไดเลื่อน
เชื้อโรคบนมือ
สิ่ งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อยูบ่ นมือของคนโดยทัว่ ไป แบ่งได้ 2 ประเภท คือพวก
ที่พบได้ ในภาวะปกติ ซึ่งมีอยูน่ บั สิ บชนิด (แม้วา่ มือนั้นจะยังดูสะอาด ไม่
เปรอะเปื้ อนก็ตาม) กับพวกที่พบได้ ชั่วคราว ซึ่งได้รับมาจากการสัมผัส ซึ่ง
จะติดอยูท่ ี่ผวิ หนังอย่างหลวม ๆ และล้างออกได้ง่าย ๆ พวกแรกนี้โดยทัว่ ไป
ไม่ก่อโรค เว้นเสี ยแต่มีการเหนี่ยวนาเชื้อโรคเหล่านี้เข้าสู่ กระแสเลือด หรื อ
อวัยวะภายใน เช่น ในทางการแพทย์ การใส่ สายให้น้ าเกลือเข้าไปในหลอด
เลือดโดยตรง อาจมีเชื้อที่ผวิ หนังปนเปื้ อนเข้าไปและก่อให้เกิดการติดเชื้อใน
กระแสเลือดตามมาได้ ส่ วนพวกหลัง อาจเป็ นเชื้อก่อโรคที่ทาให้เกิด
โรคติดต่อได้มากมาย บางอย่างรุ นแรงถึงชีวิต
โรคติดเชื้อที่ตดิ ต่ อผ่ านทางมือ
โรคติดเชื้อมากมาย สามารถติดต่อผ่านการสัมผัส ตัวอย่างโรคที่พบบ่อย มีดงั นี้
* โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เช่น หวัด วัณโรค ไข้หวัดใหญ่ โรคหัด หัดเยอรมัน นอกจาก
จะติดต่อผ่านการหายใจเอาเชื้อเข้าไปแล้ว การที่มือไปสัมผัสกับสิ่ งของเครื่ องใช้ที่ใช้
ร่ วมกับบุคคลอื่น หรื อเครื่ องใช้ในที่สาธารณะ เช่น ลูกบิดประตู ราวโหนรถเมล์ หรื อราว
บันได แล้วมาแคะจมูก เชื้อโรคก็จะเข้าสู่โพรงจมูกส่ วนหน้า เมื่อหายใจเข้าไป ก็ทาให้เกิด
โรคได้
* โรคติดเชื้อทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสี ย โรคตับอักเสบชนิดเอ โรคบิด อหิวาตกโรค โรคพยาธิ
ชนิดต่าง ๆ ซึ่งติดต่อได้จากการที่มือปนเปื้ อนเชื้อเหล่านี้ แล้วหยิบจับอาหารรับประทาน
เข้าไป
* โรคติดต่ อทางการสั มผัสโดยตรง เช่น โรคตาแดง โรคเชื้อรา แผลอักเสบที่ผวิ หนัง หิด เหา โรค
เริ ม
*โรคที่ติดต่ อได้ หลายทาง เช่น โรคอีสุกอีใส อาจติดต่อได้จากการหายใจ และการสัมผัส
โรคติดเชื้อเหล่านี้ เป็ นโรคที่พบบ่อย และบางครั้งอาจมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงตามมาได้
แนวทางป้ องกันโรคที่เกิดจากการติดเชื้อทางมือ
วิธีการง่าย ๆ ที่ลงทุนน้อย และได้ผลตอบแทนมาก ในการควบคุมและป้ องกัน
โรคติดเชื้อที่ผา่ นทางมือ ก็คือ “การล้างมือ” จากการวิจยั ทางการแพทย์ ค้นพบมานาน
กว่า 150 ปี แล้วว่า การล้างมือของแพทย์จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคติดเชื้อใน
โรงพยาบาล นอกจากนี้การล้างมือบ่อย ๆ ในผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคตาแดง ก็เป็ นวิธีป้องกัน
การระบาดของโรคได้ หรื อการล้างมือของผูป้ ระกอบอาหาร ก็ป้องกันการระบาดของ
โรคติดเชื้อทางเดินอาหารเช่นกัน แต่ปัญหาก็คือ คนทัว่ ไปไม่ค่อยได้สนใจและไม่
ระวัง เนื่องจากเชื้อก่อโรคดังกล่าวข้างต้นแม้จะมีอนั ตราย แต่กม็ ีขนาดเล็ก มองด้วยตา
เปล่าไม่เห็น นอกจากการไม่แคะจมูกและขยี้ตาบ่อย ๆ แล้ว การล้างมือให้สะอาดอยู่
เสมอ จึงมีความสาคัญอย่างยิง่
การล้ างมือทีถ่ ูกวิธี มี 6
ขั้นตอน ดังนีน้ ะครับ
ขั้นตอนที่ 1
ถูฝ่ามือ กับฝ่ ามือ
ขั้นตอนที่ 2
ฝ่ ามือถูบริเวณหลังมือสลับกันทั้งสองข้ าง
ขั้นตอนที่ 3
ซอกนิว้ มือด้ านฝ่ ามือถูกนั
ขั้นตอนที่ 4
ถูซอกนิว้ มือด้ านหลังมือ ด้ วยฝ่ ามือทั้งสองข้ างสลับกัน
ขั้นตอนที่ 5
ล้ างนิว้ หัวแม่ มือให้ สะอาดโดยรอบทั้งสองข้ าง
ขั้นตอนที่ 6
เอาปลายนิว้ มือ ถูฝ่ามือ สลับกันทั้งสองข้ าง
เมื่อไรควรล้ างมือ
ควรล้างมือในกรณี ต่าง ๆ ดังนี้: ล้างมือ หลังเสร็ จ
กิจกรรมที่ทาให้มือสกปรก เช่น ทางาน ยกของ พรวนดิน
กวาดบ้าน ล้างห้องน้ า เป็ นต้น, ล้างมือ เมื่อจะประกอบ
อาหาร หรื อหยิบจับอาหารเข้าปาก, ล้างมือ ก่อนล้างหน้า
แปรงฟัน หรื อหลังเข้าห้องน้ า, ล้างมือ เมื่อจะสัมผัสจมูก
ปาก หรื อตา, ล้างมือ ก่อนและหลังสัมผัสผูป้ ่ วย รวมทั้งใน
กรณี ที่ป่วยเองก็ยงิ่ ต้องล้างมือให้บ่อย ๆ หลังเช็ดน้ ามูก ไอ
จาม, ล้างมือ ก่อนสัมผัสบุตรหลาน และล้างมือ หลังจาก
กลับจากที่ทางานมาถึงบ้าน
การล้างมือควรกระทาบ่อย ๆ ให้เป็ น
นิสัย เนื่องจากการสัมผัสบริ เวณตา
จมูก ปาก หยิบจับอาหาร สามารถนา
เชื้อโรคบนมือเข้าสู่ ร่างกายได้
นอกจากนี้ การเลี้ยงดูบุตรหลาน โอบ
กอด ป้ อนอาหาร ก็สามารถนาโรคสู่
เด็กเหล่านั้นได้ดว้ ย
“ถึงเวลาหรื อยัง ที่ท่านจะสละเวลาที่มี
ค่าของท่านสักนิด ล้างมือของท่านให้
สะอาด เพื่อตัวท่าน บุตรหลานของท่าน
และสังคมส่ วนรวม”
คณะที่ปรึกษา
นางดวงพร เชื้อเนตร
นางผ่ องพรรณ ตรีสุวรรณ
นางสุ ชาดา
ผู้อานวยการโรงเรียนวัดบางโพโอมาวาส
ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ ายวิชาการ
วรวิทยพิทยา ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ ายธุรการ