การบัญชีเบื้องต้น Basic Accounting

Download Report

Transcript การบัญชีเบื้องต้น Basic Accounting

การบัญชีเบื้องต้น
Basic Accounting
Pamadda Wijitkunsawat
Tax & Accounting Dept.
วัตถุประสงค์
•
•
•
•
เพือ่ เข้าใจความหมาย และความสาคัญของการบัญชีได้
เพือ่ เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการบัญชี
เพือ่ ทราบถึงข้อสมมติฐานทางการบัญชี
เพือ่ เรียนรู้ประเภท และประโยชน์ขององค์ประกอบทีเ่ กีย่ วข้อง
กับงบการเงินได้
• เพือ่ สามารถวิเคราะห์รายการค้า และเขียนสมการบัญชีได้
2
หัวข้อ
•
•
•
•
•
•
นิยาม
ขัน้ ตอนทางการบัญชี
วัตถุประสงค์ของการบัญชี
ประโยชน์ของการบัญชี
หลักการพืน้ ฐานของการบัญชี
งบการเงิน
– งบดุล
– งบกาไรขาดทุน
3
นิยาม
•
การบัญชี หมายถึง
ศิลปะ ของการจดบันทึกข้อมูล และจาแนกประเภทรายการตาม
สถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับการเงิน และสิง่ เทียบเท่าเงินสดใน
รูปแบบของหน่วยเงินตรา รวมถึงการสรุปผล การ
ประมวลผลและตีความหมายของเหตุการณ์นนั้
4
ขั้นตอนทางการบัญชี
ข้อมูลรายการการค้า
ในแต่ละวัน
การเก็บรวบรวมข้อมูลใน
การบันทึกรายการค้า
(Input)
(Recording)
การสรุปผล
ของรายการค้า
การจัดหมวดหมู่ของรายการค้า
ในเหตุการณ์แต่ละวัน
(Summarizing)
(Classifying)
การตีความหมายและการ
แสดงผลลัพธ์
(Interpreting & output)
5
วัตถุประสงค์ของการบัญชี
• เพือ่ จดบันทึกเหตุการณ์ทางการเงินทีเ่ กิดขึน้ ตามประเภทรายการ
และเรียงลาดับก่อนหลัง อย่าง ครบถ้วน
• เพือ่ จดบันทึกรายการค้าให้ ถู กต้อง เป็ นตามหลักการบัญชีและ
ตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี
• เพือ่ แสดงผลการดาเนินงานใน รอบระยะเวลาหนึง่ (งบกาไรขาดทุน)
• เพือ่ แสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึง่ (งบดุล)
• เพือ่ เป็ นการ ป้องกันการทุ จริต ทีอ่ าจเกิดขึน้
6
ประโยชน์ของการบัญชี
• ช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถ ควบคุ ม ดู แล รักษา สินทรัพย์ของ
กิจการได้
• ช่วยให้ทราบ ผลการดาเนินงาน ของกิจการ – งบกาไร/ขาดทุน
• ช่วยให้ทราบ ฐานะทางการเงิน ของกิจการ - งบดุล
• ช่วยในการ กาหนดนโยบาย วางแผนการดาเนินงาน
• ช่วยในการ ตัดสินใจในการบริหาร การดาเนินงาน
• ช่วยในการ ตรวจสอบ หาข้อผิดพลาด
• ช่วย ให้ขอ้ มู ล แก่บุคคลภายใน และภายนอก
7
หลักการพื้นฐาน
Basic Concept
รายการบัญชี / รายการค้า
• รายการบัญชี/รายการค้า หมายถึง รายการที่ ก่อให้เกิด
การโอน /แลกเปลีย่ น เงิน หรือ สิง่ ทีม่ มี ูลค่าเป็ นเงิน ระหว่าง
กิจการกับบุคคลอืน่ ซึง่ ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์
หนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของ
9
แบบฝึ กหัด
จ่ายค่าขนส่งและพาหนะ
ต้อนรับลูกค้าที่มาประชุม
ส่งหนังสือไปขอกู้ยืมเงิน
ส่งโทรสารติดต่องาน
รับชาระหนี้จากลูกค้า
ส่งจดหมายขอผัดผ่อนหนี้
ทาความสะอาดอุปกรณ์สานักงาน
รายได้รับค่าสินค้า
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร
จัดสานักงานใหม่
การสาธิตการใช้อุปกรณ์
ซื้อวัสดุส้ ินเปลืองใช้ไป
รับสมัครพนักงาน
กู้เงินจากธนาคาร
จ่ายเงินเดือนพนักงาน
จ่ายเงินซื้อเครื่อง PC
จ่ายค่าเช่าล่วงหน้า
ติดป้ายโฆษณาหน้าร้าน
ปรับปรุงสวนหย่อมหน้าสานักงาน
ซื้ออุปกรณ์สานักงานเป็ นเงินเชื่อ
10
ตัวอย่างรายการบัญชี / รายการค้า
รายการบัญชี
1. จ่ายเงินเดือนพนักงาน
2. จ่ายค่าขนส่งและพาหนะ
3. จ่ายค่าเช่าล่วงหน้า
4. รับชาระหนีจ้ ากลูกหนี้
5. จ่ายเงินซื้อเครือ่ ง PC
6. ซื้ออุปกรณ์สานักงานเป็ นเชือ่
7. กู้เงินจากธนาคาร
8. รายได้รบั ค่าสินค้า
9. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร
10.ซื้อวัสดุสน้ ิ เปลืองใช้ไป
ไม่ใช่รายการบัญชี
1. ส่งโทรสารติดต่องาน
2. รับสมัครพนักงาน
3. ติดป้ ายโฆษณาหน้าร้าน
4. ส่งจดหมายไปขอผัดผ่อนหนี้
5. ส่งหนังสือไปขอกู้ยมื เงิน
6. ปรับปรุงสวนหย่อมหน้าสานักงาน
7. ตอนรับลูกค้าทีม่ าประชุม
8. จัดสานักงานใหม่
9. ทาความสะอาดอุปกรณ์สานักงาน
10.การสาธิตการใช้อุปกรณ์
11
การวิเคราะห์รายการบัญชี / รายการค้า
• การวิเคราะห์รายการบัญชี/รายการค้า คือ การวิเคราะห์
รายการทีเ่ กิดขึน้ จากการดาเนินงาน ก่อน การบันทึกบัญชี ว่า
รายการทีเ่ กิดขึน้ นัน้ มีผลกระทบต่อสมการบัญชีอย่างไร
• นิยมใช้ สมการบัญชี (Accounting Equation) เข้ามาช่วยในการ
วิเคราะห์รายการ
12
สมการบัญชี
• สมการบัญชี คือ สมการทีแ่ สดง สัดส่วนความสัมพ ันธ์ ระหว่าง
สินทรัพย์ หนีส้ นิ และ ส่วนของเจ้าของ (ทุน) จากเหตุการณ์ท ี่
ส่งผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ
13
A=L+O
Assets
=
Liabilities
สินทรัพย์ = หนี้สิน
+
Owner’s equity
+ ส่วนของเจ้าของ
ทุน + กาไร (ขาดทุน) สุทธิ
รายได้ - ค่าใช้จา่ ย
14
หลักในการบันทึกบัญชีคู่
• การบันทึกบัญชีคู่ (Double-Entry System) คือ การบันทึก
บัญชีแต่ละรายการ จานวนเงินทีบ่ นั ทึกบัญชีด้านเดบิต เท่ากับ จานวน
เงินทีบ่ นั ทึกด้านเครดิต เสมอ
เดบิต (Dr) = เครดิต (Cr)
15
เดบิต และ เครดิต
เดบิต (Debit , Dr.)
เครดิต (Credit ,Cr.)
1. ด้านซ้ายของบัญชี
1.ด้านขวาของบัญชี
2. การลงรายการ (ผ่านบัญชี)
ด้านซ้ายของบัญชี ทาให้
- สินทรัพย์ ค่าใช้จา่ ย เพิม่ ขึ้น
- หนีส้ นิ ทุน รายได้ ลดลง
2. การลงรายการ (ผ่านบัญชี)
ด้านขวาของบัญชี ทาให้
- สินทรัพย์ ค่าใช้จา่ ย ลดลง
- หนีส้ นิ ทุน รายได้ เพิม่ ขึ้น
3. แสดงยอดคงเหลือตามปกติของ
บัญชีประเภทสินทรัพย์ ค่าใช้จา่ ย และ
ส่วนของเจ้าของ
3. แสดงยอดคงเหลือตามปกติของ
บัญชีประเภทหนีส้ นิ รายได้ และทุน
16
จากสมการบัญชี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน + รายได้ – ค่าใช้จ่าย
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
เดบิต (Debit)
เครดิต (Credit)
สินทรัพย์
ค่าใช้จ่าย
หนี้สิน
ทุน
รายได้
17
หลักในการวิเคราะห์รายการ
เพิม่ (+)
ลด (-)
1. สินทรัพย์
เดบิต
เครดิต
2. หนี้สิน
เครดิต
เดบิต
3. ส่วนของเจ้าของ
เครดิต
เดบิต
4. รายได้
เครดิต
เดบิต
5. ค่าใช้จ่าย
เดบิต
เครดิต
หมวดหมูบ่ ัญชี
18
สินทรัพย์
• สินทรัพย์ (Assets) หมายถึง สิง่ ทีม่ มี ูลค่าเป็ นตัวเงินทีบ่ ุคคล
หรือกิจการเป็ นเจ้าของ
–สิง่ ทีม่ ตี วั ตน เช่น เงินสด สินค้า เครือ่ งจักร อาคาร ทีด่ นิ
–สิง่ ทีไ่ ม่มตี วั ตน เช่น เครือ่ งหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร สัมปทาน
ค่านิยม สัญญาเช่า เป็ นต้น
19
ประเภทของสินทรัพย์
สินทรัพย์
Assets
สินทรัพย์หมุนเวียน
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
Current Assets
Non-Current Assets
- เงินสด & เงินฝากธนาคาร
- เงินลงทุนชั่วคราว
- ตั๋วเงินรับ
- ลูกหนี้การค้า
- เงินกู้ยืมระยะสั้น
- สินค้าคงเหลือ
- รายได้ค้างรับ
- ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
- เงินลงทุนระยะยาว
- เงินลงทุนในบริษัทร่วม
- เงินลงทุนในบริษัทย่อย
- กองทุน
- ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
- สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
20
การรับรู้สินทรัพย์
สินทรัพย์ควรรับรู้ใน งบดุ ล เมือ่
• มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทปี่ ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจะเข้า
สู่กจิ การ
• สินทรัพย์นนั้ มีราคาทุนหรือมูลค่าทีส่ ามารถวัดได้อย่างน่าเชือ่ ถือ
21
หนี้สิน
• หนี้สิน (Liabilities) หมายถึง ภาระผู กพันในปัจจุบนั ของ
กิจการ เป็ นผลของเหตุการณ์ในอดีต การชาระภาระผู กพันนัน้
คาดว่าจะส่งผลให้กจิ การสูญเสียทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน์เชิง
เศรษฐกิจ
• หนี้สิน หมายถึง จานวนเงินทีก่ จิ การเป็ นหนีบ้ ุคคลอืน่ ซึง่ จะต้อง
ชาระคืนในภายหน้าด้วยสินทรัพย์ หรือบริการ เช่น เจ้าหนีก้ ารค้า
เงินกู้เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนีอ้ นื่ ๆ เป็ นต้น
22
ประเภทของหนี้สิน
หนี้สิน
liabilities
หนี้สินหมุนเวียน
หนี้สินระยะยาว
Current liabilities
Long-term liabilities
- เจ้าหนีก้ ารค้า
- ตัว๋ เงินจ่าย
- เงินปันผลค้างจ่าย
- เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนดใน 1 ปี
- เงินมัดจา
- เงินเบิกเกินบัญชี
- ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย
- รายได้รบั ล่วงหน้า
- ตัว๋ เงินจ่าย
- เงินกู้
- หุน้ กู้
- เงินกูย้ มื ระยะยาว
- เจ้าหนีจ้ านอง
- รายได้รอการตัดบัญชี
23
การรับรู้หนี้สิน
หนีส้ นิ ควรรับรู้ใน งบดุ ล เมือ่
• มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทปี่ ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจของทรัพยากร
จะออกจากกิจการเพือ่ ชาระภาระผู กพันในปัจจุบนั
• มูลค่าของภาระผู กพันทีต่ ้องชาระนัน้ สามารถวัดได้อย่างน่าเชือ่ ถือ
24
ส่วนของเจ้าของ
• ส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity) หมายถึง ส่วนได้เสีย
คงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนีส้ นิ ออกแล้ว
• ส่วนของเจ้าของ หมายถึง สิทธิความเป็ นเจ้าของทีแ่ ท้จริงใน
สินทรัพย์ หรือเรียกว่า สินทรัพย์สุทธิ (Net Assets) หรือ
สินทรัพย์ทเี่ ป็ นส่วนของเจ้าของกิจการ
25
ส่วนของเจ้าของประกอบด้วย
ส่วนของเจ้าของ
Owner’s equity
เงินลงทุน
ถอนใช้ส่วนตัว
ผลกาไรขาดทุน
Investment
Withdraw
Profit / (Loss)
รายได้ - ค่าใช้จ่าย
Revenue - Income
26
ส่วนของเจ้าของ ตามประเภทกิจการ
1
3
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity)
ทุน- นาย ก
xxxx
2
ส่วนของผูเ้ ป็ นหุ้นส่วน (Partners’ Equity)
ทุน- นาย ก
xxxx
ทุน- นาย ข
xxxx
xxxx
เดินสะพัด นาย ก xxx
เดินสะพัด นาย ข xxx
xxx
ส่วนของผูถ้ ือหุ้น (Shareholder’ Equity)
ทุนเรือนหุ้น
ทุนจดทะเบียน
xxxx
ทุนทีอ่ อกและชาระแล้ว
xxxx
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น
xxx
กาไร (ขาดทุน) สะสม
จัดสรรแล้ว
สารองตามกฎหมาย
xx
สารองอืน่
xx
xx
ยังไม่ได้จดั สรร
xx
รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น
xxxx
27
รายได้
• รายได้ (Revenue) หมายถึง ผลตอบแทนทีก่ จิ การได้รบั จาก
การขายสินค้าหรือบริการตามปกติของกิจการรวมทัง้
ผลตอบแทนอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ได้เกิดจากการดาเนินงานตามปกติ
28
ประเภทของรายได้
รายได้
revenue
รายได้จากการขาย
รายได้อ่ื น
Sales
Other Incomes
- ขายสินค้า
- ให้บริการ
- หุน้ กู้
- เงินกู้ยมื ระยะยาว
- เจ้าหนีจ้ านอง
29
การรับรู้รายได้
กิจการจะรับรู้รายได้ใน งบกาไรขาดทุ น เมือ่
• มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทปี่ ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของสินทรัพย์หรือการลดลงของ
หนีส้ นิ
• สามารถวัดค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่าง
น่าเชือ่ ถือ
30
ค่าใช้จ่าย
• ค่าใช้จ่าย (Expense) หมายถึง ต้นทุนส่วนทีห่ กั ออกจากรายได้
ในรอบระยะเวลาทีด่ าเนินการงานหนึง่
31
ประเภทของค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่าย
expenses
ต้นทุนขาย
ค่าใช้จ่ายในการขาย & บริหาร
ค่าใช้จ่ายอื่ น
Cost of sales
Selling & Admin. Expenses
Other Expenses
- ค่าวัตถุดบิ
- ค่าแรงงาน
- โสหุย้ การผลิต
- ค่าภาษีศุลกากร
- เงินเดือน
- ค่าเช่าสานักงาน
- ค่าไฟฟ้า
- ค่าโฆษณา
- ดอกเบีย้ จ่าย
- ภาษีเงินได้
32
การรับรู้ค่าใช้จ่าย
กิจการควรรับรู้ค่าใช้จา่ ยใน งบกาไรขาดทุ น เมือ่
• ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตลดลง เนือ่ งจากการลดลงของ
สินทรัพย์หรือการเพิม่ ขึน้ ของหนีส้ นิ และ
• กิจการสามารถวัดมูลค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตนัน้ ได้อย่าง
น่าเชือ่ ถือ
• เมือ่ กิจการคาดว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของรายการจะเกิดในหลายรอบ
ระยะเวลาบัญชี และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ ไม่สมั พันธ์ โดยตรงกับรายได้ กิจการ
ควรรับรู้ค่าใช้จา่ ยนัน้ ในงบกาไรขาดทุนตามเกณฑ์การปันส่วนอย่างเป็ น
ระบบและสมเหตุผล
33
รอบระยะเวลาบัญชี
• รอบระยะเวลาบัญชี (Accounting Period) คือ การ
กาหนดช่วงเวลาสาหรับการสรุปผลการดาเนินงานของกิจการ
ซึง่ จะกาหนดไว้เป็ นระยะเวลาเท่าใด ขึน้ อยู่กบั ดุลพินจิ ของเจ้าของ
หรือผู บ้ ริหารกิจการ โดยปกติจะไม่นานเกิน 1 ปี
34
แบบฝึ กหัด
35
งบการเงิน
Financial statement
วัตถุประสงค์ของงบการเงิน
• การให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และ
การเปลีย่ นแปลงฐานะทางการเงินของกิจการ อันเป็ น
ประโยชน์ต่อผู ใ้ ช้งบการเงิน ในการนาไปใช้ตดั สินใจเชิง
เศรษฐกิจ
37
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
• ความเข้าใจได้ (Understandability)
• ความเกีย่ วข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)
• ความเชือ่ ถือได้ (Reliability)
• การเปรียบเทียบกันได้ (Comparability)
38
องค์ประกอบของงบการเงิน
วัดฐานะการเงิน
วัดผลการดาเนินงาน
งบดุล
งบกาไรขาดทุน
สินทรัพย์
หนีส้ นิ
ส่วนของเจ้าของ
รายได้
ค่าใช้จา่ ย
39
สมมติฐานทางการบัญชี
• เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis )
เกณฑ์บนั ทึกบัญชีรายได้และค่าใช้จา่ ย ด้วยการยึดหลักว่า รายได้และค่าใช้จา่ ย
ทีเ่ กิดขึน้ ในงวดบัญชีใด ให้ถอื เป็ นรายได้และค่าใช้จา่ ยของงวดบัญชีนนั้ ๆ ไม่ว่าจะ
รับหรือจ่ายเป็ นเงินสดหรือไม่กต็ าม
• การดาเนินงานต่อเนื่อง ( Going Concern )
กิจการจัดตัง้ ตามวัตถุประสงค์ทจี่ ะดาเนินงานอย่างต่อเนือ่ งและดารงอยู่ต่อไป
ในอนาคต หากกิจการมีเจตนาหรือความจาเป็ นทีเ่ ลิกกิจการการดาเนินงาน
อย่างมีนยั สาคัญ งบการเงินต้องจัดทาขึน้ โดยใช้เกณฑ์อนื่ และต้องเปิ ดเผย
หลักเกณฑ์ทใี่ ช้ในงบการเงินนัน้ ๆ
40
เกณฑ์คงค้าง
• รายได้และค่าใช้จา่ ยไม่ได้บนั ทึก ณ จุดทีร่ บั หรือจ่ายเงินเสมอ
ไป แต่จะรับรู้เมือ่ “เกิดขึ้น”
• ผลคือ รายได้และค่าใช้จา่ ย ไม่ใช่ตวั สะท้อนกระแสเงินสด
41
การดาเนินงานต่อเนื่อง
• กิจการ ไม่มี เจตนาหรือ ไม่มี ความจาเป็ นทีจ่ ะเลิกกิจการ หรือ
ลดขนาดการดาเนินงานอย่างมีนยั สาคัญ
• หาก มีความไม่แน่นอน อันเป็ นเหตุให้สงสัยว่ากิจการอาจไม่สามารถ
ดาเนินงานได้อย่างต่อเนือ่ ง กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมู ล
42
งบดุล
• งบดุล (Balance Sheet) เป็ นรายงานการเงินทีแ่ สดง
•
ถึงฐานะการเงิน (สินทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของ) ของ
กิจการ ณ วันใดวันหนึง่
งบดุลประกอบด้วย
– สินทรัพย์ (Assets)
– หนีส้ นิ (Liabilities)
– ส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity)
• ด้านซ้ายมือและ ด้านขวามือ ของงบดุล มียอดรวมเท่ากัน เสมอ
43
งบดุล
• จัดทาขึน้ ตาม เกณฑ์คงค้าง และการดาเนินงานต่อเนือ่ ง
• ตัง้ อยู่บนสมการทีว่ ่า
สินทรัพย์ = หนีส้ นิ + ส่วนของเจ้าของ
• งบดุล สามารถแสดงได้ 2 แบบ
– งบดุลแบบบัญชี
– งบดุลแบบรายงาน
44
ตัวอย่างงบดุลแบบบัญชี
บริ ษทั เมือ งคอน จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547
สิ นทรั พ ย์
สิ นทรั พ ย์หมุนเวียน
เงินสดและเงินฝากธนาคาร
เงินลงทุนระยะสั้ น
ลู กหนี้การค้ า
สิ นค้ าคงเหลือ
ที่ดิน อาคารและอุ ปกรณ์
ที่ดิน
อาคาร
อุ ปกรณ์สานักงาน
รวมสิ นทรั พ ย์
หนี้สิ นและส่ วนของเจ้าของ
หนี้สิ นหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ธนาคาร180,000
เจ้าหนี้การค้ า
120,000
หนี้สิ นระยะยาว
120,000
250,000
50,000
80,000
500,000 เงินกู้ยมื ระยะยาว
500,000
700,000
97,000
หน่วย:บาท
1,297,000
1,797,000
450,000
ส่ วนของเจ้าของ
ทุน
767,500
บวก กาไรสุ ทธิ
279,500
รวมหนี้สิ นและส่ วนของผู้ถื อ หุ้น
750,000
1,047,000
1,797,000
45
ตัวอย่างงบดุลแบบรายงาน
บริ ษทั เมือ งคอน จากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547
สิ นทรั พ ย์
สิ นทรั พ ย์ หมุนเวียน
เงินสดและเงินฝากธนาคาร
เงินลงทุ นระยะสั้ น
ลู กหนี้การค้ า
สิ นค้ าคงเหลื อ
สิ นทรั พ ย์ หมุนเวียนอื่ น
รวมสิ นทรั พ ย์ หมุนเวียน
ที่ ดิน อาคารและอุ ปกรณ์
ที่ ดิน
อาคาร
อุ ปกรณ์สานักงาน
รวมที่ ดิน อาคารและอุ ปกรณ์
รวมสิ นทรั พ ย์
หน่ วย:บาท
120,000
250,000
50,000
80,000
500,000
500,000
700,000
97,000
1,297,000
1,797,000
46
ที่ดิน
อาคาร
อุ ปกรณ์สานักงาน
รวมที่ดิน อาคารและอุ ปกรณ์
รวมสิ นทรั พ ย์
500,000
700,000
97,000
1,297,000
1,797,000
หนี้สิ นและส่ วนของเจ้าของ
หนี้สิ นหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ธนาคาร
เจ้าหนี้การค้ า
รวมหนี้สิ นหมุนเวียน
หนี้สิ นระยะยาว
เงินกู้ยมื ระยะยาว
รวมหนี้สิ น
ส่ วนของเจ้าของ
ทุน
บวก กาไรสุ ทธิ
รวมส่ วนของเจ้าของ
รวมหนี้สิ นและส่ วนของเจ้าของ
180,000
120,000
300,000
450,000
750,000
767,500
279,500
1,047,000
1,797,000
47
งบกาไรขาดทุน
• งบกาไรขาดทุน เป็ นรายงานทางการเงินทีแ่ สดงถึงผลการ
•
ดาเนินงาน (รายได้ และค่าใช้จา่ ย) ของกิจการ สาหรับรอบ
ระยะเวลาใดเวลาหนึง่ (งวดบัญชี)
องค์ประกอบของงบกาไรขาดทุน
– รายได้ (Revenues)
– ค่าใช้จา่ ย (Expenses)
– กาไร (Gains) / ขาดทุน (Losses)
48
งบกาไรขาดทุน
• จัดทาขึน้ ตาม เกณฑ์คงค้าง และการดาเนินงานต่อเนือ่ ง
• ตัง้ อยู่บนสมการทีว่ ่า
กาไร (ขาดทุน) = รายได้ - ค่าใช้จา่ ย
49
ตัวอย่างงบกาไรขาดทุน
บริ ษท
ั เมืองคอน จากัด
งบกาไรขาดทุน
ประจาปี สิ้นสุดเพียงวันที่ 31 ธันวาคม 2547
รายได้ จากการดาเนินงาน:
ขายสุทธิ
หัก ต้นทุนจาย
กาไรขัน
้ ต้น
หัก ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริ หาร
เงิ นเดือนพนักงาน
ค่าสาธารณูปโภค
ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด
กำไร (ขำดทุน) จำกกำรขำย
รายได้จากการดาเนิ นงานอืน
่
ดอกเบี้ยรับ
กาไร (ขาดทุน) สุทธิ
1,200,000
750,000
120,000
72,000
8,500
หน่ วย:บาท
450,000
200,500
249,500
30,000
279,500
50
แบบฝึ กหัด
51
ขอบคุณ
Thank you