การตอบสนองของพืช

Download Report

Transcript การตอบสนองของพืช

การตอบสนองของพืช
(plant perception หรือ plant response)
คือ การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าภายนอกและ
สิ่งเร้าภายใน เป็ นกลไกที่เกิดขึ้นจากการทางานของ
ฮอร์โมนพืช หรือกลไกต่าง ๆ ของเซลล์ ทาให้พืชเกิด
การเคลื่อนไหว
สิ่งเร้า (Stimulus)
คือ สิ่งที่สง่ ผลหรือมีอิทธิผลต่อการตอบสนองของพืช
แบ่งออก 2 กลุ่ม คือ
สิ่งเร้าจากภายนอก (Outernal Stimulator)
เช่น แสง อุณหภูมิ น้ า และการสัมผัส
สิ่งเร้าจากภายใน (Internal Stimulator) เช่น ฮอร์โมน
พืช(สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช) และ
พันธุกรรม
การตอบสนองของพืชในลักษณะที่แตกต่างกันไปก็มี
ปั จจัยมาจากสิ่งเร้าเหล่านี้ เป็ นต้นว่า
• ระยะเวลาที่ใช้ในการกระตุน้ ของสิ่งเร้า
• อายุและชนิดเซลล์ที่หน่วยรับความรูส้ ึก(receptor)
• ปริมาณหรือความเข้มข้นของสิ่งเร้า
ประเภทของการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
1)
2)
3)
4)
การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กบั ทิศทางของสิ่งเร้า
(Tropic movement)
การเคลื่อนไหวของพืชโดยมีทิศทางไม่สมั พันธ์กบั ทิศทาง
ของสิ่งเร้า (Nastic movement หรือ Nasty)
การเคลื่อนไหวที่เกิดจากความเต่งของเนื้อเยือ่
(turgor movement)
การเคลื่อนไหวแบบปลายยอดสั ่นหรือโยกไปมา
(mutation)
1.การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กบั ทิศทาง
ของสิ่งเร้า (Tropic movement)
หรือ “การเบน” แบ่งได้ 6 ประเภท ตามชนิดของสิ่งเร้า เช่น
ประเภทการเบน
การเบนตามแสง
การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง
การเบนเนื่องจากสารเคมี
การเบนเนื่องจากการสัมผัส
การโน้มตอบสนองอุณหภูมิ
การเบนเข้าหาน้ า
ชื่อภาษาอังกฤษ
Phototropism
Gravitropism
Chemotropism
Thigmotropism
Thermotropism
Hydrotropism
1.1 การเบนตามแสง (Phototropism)
การเคลือ่ นไหวแบบนี้ มีสาเหตุมาจากการเจริญเติบโต แบ่ งเป็ น
2 แบบ คือ
1) positive tropism
2)negative tropism
1.1 การเบนตามแสง (Phototropism)
1)
positive tropism
คือ เคลือ่ นไหวเข้ าหาแสง เกิดจากการเจริญเติบโตโดยที่
ปลายยอดพืชหรือปลายยอดเมล็ดที่กาลังงอกจะมีการสร้ าง
ฮอร์ โมนออกซิน ทางด้ านที่ไม่ ถูกแสง
และจะกระตุ้นให้ มีการแบ่ งเซลล์ เพิม่ ขึน้ ด้ านที่ไม่ ถูกแสง
จึงแบ่ งเซลล์ ได้ มากกว่ าจึงทาให้ ยาวกว่ าและเกิดการโค้ งเข้ า
หาแสง
1.1 การเบนตามแสง (Phototropism)
2) negative tropism
คือ เคลือ่ นไหวหนีออกจากแสง เกิดที่รากและปลายราก
กาลังงอก ด้ านที่ไม่ ได้ รับแสงจะมีออกซิน
มากกว่ า ทาให้ ไปยั้งการแบ่ งเซลล์ ส่ งผลให้ ด้านที่ได้ รับ
แสงแบ่ งเซลล์ ได้ มากกว่ า ด้ านที่ไม่ ได้ รับแสงจึงโค้ งลง
ดิน เป็ นการหนีจากแสง
ภาพการทดลองการเบนเข้าหาแสงของพืช
http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/Untitled-3_clip_image004.jpg
1.2 การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง(Gravitropism)
การเคลือ่ นไหวแบบนี้ มีสาเหตุมาจากการเจริญเติบโต
แบ่ งเป็ น 2 แบบ คือ
1.2.1 การเคลื่อนไหวเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก
(Positive gravitropism)
1.2.2 การเคลื่อนไหวหนีแรงโน้มถ่วงของโลก
(Negative gravitropism)
1.2 การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง(Gravitropism)
1.2.1 การเคลื่อนไหวเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก
(Positive gravitropism)
รากของพืชจะเจริญไปในทิศเดียวกับแรงโน้มถ่วง
ของโลก เมื่อพืชมีลาต้นและรากทอดนอนไปตามพื้น
ออกซินจะลาเลียงไปทางด้านล่างมากกว่าทางด้านบน
ในราก ออกซินในปริมาณสูงๆ จะยัง้ การแบ่งเซลล์
ทาให้
ด้านล่างแบ่งเซลล์ได้นอ้ ยกว่าด้านบนรากพืชจึงโค้งลงตาม
แรงโน้มถ่วงของโลกเสมอ
1.2 การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง(Gravitropism)
1.2.2 การเคลื่อนไหวหนีแรงโน้มถ่วงของโลก
(Negative gravitropism)
ลาต้นของพืชจะเจริญไปในทิศตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วง
ของโลกเสมอ เมื่อให้ลาต้นพืชทอดนอนไปตามพื้นจะเห็น
ปลายยอดชูสูงขึ้น ทั้งนี้ก็เนื่องจากทางด้านล่างของลาต้นมี
ออกซินสูงกว่าด้านบน ที่ลาต้นและปลายยอดตอบสนองต่อ
ออกซินในปริมาณสูง โดยเซลล์แบ่งตัวได้ดีกว่าด้านที่มี
ออกซินน้อยกว่า ทาให้เซลล์แบ่งตัวได้มากกว่าจึงโค้งขึ้นหรือ
หนีแรงโน้มถ่วงของโลก
ภาพแสดงสารออกซินที่สะสมในพืช
http://www.psb.ugent.be/images/stories/psb/Auxin/figure4.gif
ภาพพืชเบนเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
http://www.visualphotos.com/photo/1x7570430/Gravitropism_sometimes
_referred_to_as_geotropism_BG1092.jpg
1.3 การเบนเนื่องจากสารเคมี (Chemotropism)
เช่น การงอกของละอองเรณูบนส่วนยอดของรังไข่เข้า
หาไข่โดยมีสารเคมีบางอย่าง เช่น กลูโคส หรือกรดมาลิก
(malic acid) เป็ นสิ่งเร้า พวกราจะเคลื่อนไหวเข้าหาสารเคมี
พวกเพปโทน (peptone) หรือแอสพาราจีน (asparagine)
ซึ่งเป็ นอาหารเสมอ
หากพืชไม่ได้รบั สารฮอร์โมน
อาจเป็ นต้นเหตุให้การเจริญเติบโต
เกิดความผิดปกติได้ (ต้นทางขวา)
http://upload.wikimedia.org/wikipedia/
commons/thumb/2/2c/Auxin.jpg/
150px-Auxin.jpg
1.4 การเบนเนื่องจากการสัมผัส (Thigmotropism)
เป็ นการเคลื่อนไหวของพืชโดยมีการสัมผัสเป็ นสิ่งเร้า การ
เจริญของโครงสร้างที่ยนื่ ไปพันหลักที่เรียกว่า มือเกาะ (tendril) ซึ่ง
จะเคลื่อนไปพันหลักหรือเกาะต้นไม้อื่น เช่น มือเกาะของตาลึง
กระทกรก พืชตระกูลแตง และมะระขี้นก
มือเกาะของตาลึง
http://a2u-teen-egg.blogspot.com/2009/05/blog-post_9414.html
http://sciencehalimah.blogspot.com/2010/03/response-in-plants.html
มือเกาะของตาลึง
ถ่ายและแต่งภาพโดย นางสาวสริตา ทองทา ม.5/3
1.5 การโน้มตอบสนองอุณหภูมิ (Thermotropism)
เป็ นการเคลื่อนไหวของพืชโดยมีอุณหภูมิเป็ นสิ่งเร้า เช่น
รากของพืชจะเจริญเข้าหาความชื้นหรือน้ าเสมอ ซึ่งจะทาให้พืช
เจริญเติบโตได้ดี เพราะน้ ามีความจาเป็ นและสาคัญต่อการ
เจริญเติบโตของพืช
พืชที่มีความต้านทานต่ออากาศ
หนาวเย็น
http://zencatart.typepad.com/.a/6
a00e54fc1160288330120a75164c6
970b-400wi
1.6 การเบนเข้าหาน้ า (Hydrotropism)
เป็ นการเคลื่อนไหวของพืชโดยมีอุณหภูมิเป็ นสิ่งเร้า
เช่น รากพืชจะเจริญเข้าหาความชื้นหรือน้ าเสมอ ซึ่งจะทาให้
พืชเจริญเติบโตได้ดี เพราะน้ ามีความจาเป็ นและสาคัญต่อ
การเจริญเติบโตของพืช
1.6 การเบนเข้าหาน้ า (Hydrotropism)
ภาพการเบนเข้าหาน้ าของพืช
http://www.aristo.com.hk/teachers_land/teacher_materials/biology
/newdesign/new/photo/e_photo_detail.asp?book=3&chapter=18
2. การเคลื่อนไหวของพืชโดยมีทิศทางไม่สมั พันธ์กบั
ทิศทางของสิ่งเร้า (Nastic movement หรือ Nasty)
เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตเช่นกัน โดยมีสิ่งเร้าจาก
ภายนอกมากระตุน้ สิ่งเร้าที่กระตุน้ ส่วนต่างๆของพืชใน
ปริมาณที่เท่ากัน แต่พืชตอบสนองได้ไม่เท่ากัน
มักเกิดกับส่วนที่เบนของพืช เช่น ใบ และกลีบดอก
ตอบสนองโดยการหุบและการบาน
http://www.tutorvista.com/content/biology/biology-iv/plantgrowth-movements/paratonic-nastic-movements.php
3. การเคลื่อนไหวที่เกิดจากความเต่งของเนื้อเยือ่
(turgor movement)
ได้แก่
3.1 การหุบและกางใบของไมยราบ
3.2 การหุบใบในตอนพลบคา่ ของต้นก้ามปู จามจุรี
กระถิน แค มะขาม และพืชตระกูลถั ่ว
หรือ ต้นไม้นอน (sleep movement)
3.3 การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement)
3.1 การหุบและกางใบของไมยราบ
ที่โคนใบของไมยราบมีกลุ่มเซลล์ชนิดหนึ่งเรียกว่า
พัลไวนัส (pulvinus) เป็ นเซลล์พาเรนไคมาขนาดใหญ่และมีผนังเซลล์
บาง เซลล์พลั ไวนัสมีความไวต่อการกระตุน้ สูงมาก เช่น การสัมผัส
หรืออุณหภูมิสูง มีผลทาให้เซลล์สูญเสียน้ าได้อย่างรวดเร็ว ไปยัง
ช่องว่างระหว่างเซลล์หรือเซลล์ขา้ งเคียงและมีการเปลี่ยนแปลง
กระแสไฟฟ้าและสารเคมีดว้ ย ทาให้ใบหุบลงทันที
แต่สกั ครูน่ ้ าจะซึมเข้าสู่เซลล์พลั ไวนัสอีก ทาให้เซลล์เต่งและ
ใบกางออกได้อีก ซึ่งเรียกว่า การเคลื่อนไหวแบบคอนแทกท์ (contact
movement) การหุบใบของกาบหอยแครง และการเปิ ดฝาใบของ
สาหร่ายข้าวเหนียว เพื่อให้แมลงเข้าไปจัดเป็ นการเคลื่อนไหวแบบ
คอนแทกท์เช่นกัน
3.1 การหุบและกางใบของไมยราบ
เซลล์พลั ไวนัสที่โคนก้านใบของไมยราบขณะกางใบและหุบใบ
http://www.tutorvista.com/content/biology/biology-iv/plantgrowth-movements/paratonic-nastic-movements.php
3.2 การหุบใบในตอนพลบคา่ ของพืชบางชนิด
หรือ ต้นไม้นอน (sleep movement)
เช่น ต้นก้ามปู จามจุรี กระถิน แค มะขาม และพืช
ตระกูลถั ่ว จะหุบใบตอนพลบคา่ (ต้นไม้นอน)เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งของกลุ่มเซลล์พลั ไวนัสที่โคนก้านใบ
และก้านใบย่อย เมื่อมีแสงเป็ นสิ่งเร้า การเปลี่ยนแปลง
แรงดันเต่งนี้จะเกิดขึ้นช้าๆ ไม่รวดเร็วแบบไมยราบ แต่ก็
สามารถสังเกตเห็นได้ง่าย
3.2 การหุบใบในตอนพลบคา่ ของต้นก้ามปู จามจุรี
กระถิน แค มะขาม และพืชตระกูลถั ่ว
หรือ ต้นไม้นอน (sleep movement)
ภาพ การนอนของใบ maranta
http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/Untitled3_clip_image020.gif
3.3 การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งภายในเซลล์คุม
โดยการเคลื่อนเข้าและออกของน้ าโดยมีแสงเป็ นตัวกระตุน้
ภาพการเปิ ดปิ ดของปากใบ
http://203.154.131.43/online/preey
a/Image7.gif
4. การเคลื่อนไหวแบบปลายยอดสั ่นหรือโยกไปมา
(nutation)
เป็ นการเคลื่อนไหวจากสิ่งเร้าภายในของต้นพืชเอง พบใน
ต้นถั ่วเกิดจากด้านทั้งสองของลาต้นเจริญเติบโตได้ไม่เท่ากัน จึง
ทาให้ปลายยอดสั ่น หรือแกว่งยอดไปมา ซึ่งทาให้เกิดการเลื้อย
และพันหลัก พืชบางชนิดมีลาต้นอ่อนทอดเลื้อยและพันหลัก เช่น
มะลิวลั ย์ ลาต้นถั ่ว ลัดดาวัลย์ โดยปลายยอดบิดเป็ นเกลียวรอบ
แกนตัง้ ตรงขึ้นไป เป็ นการเคลื่อนไหวแบบสปิ รัล
(spiral movement) ซึ่งเป็ นผลจากเซลล์ในบริเวณของการยืดตัว
ของลาต้นมีการยืดตัว หรือเติบโตไม่เท่ากัน
ฮอร์โมนพืช (Plant hormone)
ฮอร์โมนพืช คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
ซึ่งเป็ นสารที่พชื สร้างเพื่อควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
(plant growth regulator)
สามารถแบ่งฮอร์โมนพืชออกได้ 5 พวกใหญ่ ดังนี้
1. ออกซิน (Auxin)
2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
3. ไซโทไคนิน (Cytokinin)
4. เอทิลีน (Ethylene)
5. กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)
1. ออกซิน (Auxin)
เป็ นสารเคมีชื่อ กรดอินโดลแอซีตกิ (indoleacetic acid)
เรียกย่อว่า IAA มีผลส่งเสริมกระตุน้ การแบ่งเซลล์(การติดผล)
การยืดตัวของเซลล์ การแตกหน่อ และการสร้างราก
ออกซินยังส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนชนิดอื่นและทางาน
ร่วมกับไซโตไคนิน ในการควบคุมการเจริญเติบโตของกิ่งก้าน
ราก ผล และดอก
ภาพแสดงสูตรโครงสร้างของออกซิน
1. ออกซิน (Auxin)
ตาแหน่งที่สร้าง
1. เนื้อเยือ่ เจริญปลาย
ยอด
2. ใบอ่อน
3. เอ็มบริโอ
หน้าที่ตอ่ ส่วนต่างๆของพืช
1. กระตุน้ การขยายตัวตามยาวของเซลล์
2. กระตุน้ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของราก
3. ชะลอการหลุดร่วงของใบ
4. ยับยัง้ การเจริญของตาข้าง
5. พัฒนารังไข่เป็ นผลโดยไม่ตอ้ งได้รบั การ
ปฏิสนธิ
6. ควบคุมการเคลื่อนไหวของพืชโดยมีแสงเป็ น
ตัวเร้า
7. ชะลอการหลุดร่วงของใบ ดอก ผล
8. กระตุน้ ให้สบั ปะรด มะม่วง ลิ้นจี่
ออกดอกเร็วขึ้นและพร้อมกัน
2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
เป็ นสารเคมีที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการงอกของเมล็ด, การสร้างเอนไซม์
ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอาหาร และการเจริญของเซลล์ใหม่
จิบเบอเรลลิน จะช่วยส่งเสริมการออกดอก, การแบ่งเซลล์
(การติดผล) และการเติบโตของเมล็ดหลังงอก
ปั จจุบนั พบฮอร์โมนนี้ในรูปของกรดจิบเบอเรลลิก
(gibberellic acid,GA) อยูก่ ว่า 50 ชนิด และให้ชื่อว่า GA1, GA2, GA3, …
ภาพแสดงสูตรโครงสร้างของจิบเบอเรลลิน GA1
2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
ตาแหน่งที่สร้าง
1. เนื้อเยือ่ เจริญเหนือข้อของพืช
ใบเลี้ยงเดี่ยว
2. เนื้อเยือ่ เจริญปลายยอด
3. ใบอ่อน
4. เอ็มบริโอ
หน้าที่ตอ่ ส่วนต่างๆของพืช
1. กระตุน้ การแบ่งตัวและเซลล์ขยายตัว
ตามยาว
2. กระตุน้ การงอกของเมล็ด
3. กระตุน้ การออกดอกของพืชบางชนิด
4. พัฒนารังไข่เป็ นผลโดยไม่ตอ้ งได้รบั การ
ปฏิสนธิ
5. ช่วยชะลอการหลุดร่วงของใบ ดอก ผล
6. กระตุน้ ให้สบั ปะรด มะม่วง ลิ้นจี่
ออกดอกเร็วขึ้นและพร้อมกัน
จิบเบอเรลลินเป็ นฮอร์โมนพืชที่มีสมบัตใิ นการกระตุน้ การเจริญ
ของเซลล์บริเวณข้อทาให้ ต้นไม้สูง ถ้าพืชขาดฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จะ
ทาให้ลาต้นเตี้ยแคระ ในทางการค้าจึงมีผสู ้ งั เคราะห์สารยับยัง้ การสร้าง
จิบเบอเรลลินของพืช ทาให้พืชนั้นแคระแกร็น เพื่อใช้เป็ นไม้ประดับ
ภาพเปรียบเทียบการได้รบั จิบเบอเรลลินของต้นพืช
(ต้นสูงได้รบั จิบเบอเรลลิน ต้นเตี้ยไม่ได้รบั จิบเบอเรลลิน)
http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/Untitled3_clip_image029.gif
3. ไซโทไคนิน (Cytokinin)
เป็ นฮอร์โมนพืชที่พบมากบริเวณปลายราก เอ็มบริโอ ผล
อ่อน และน้ ามะพร้าว เป็ นสารเคมีที่เคลื่อนย้ายตาแหน่งที่สร้างไปยัง
ส่วนต่างๆของพืชทางท่อน้ า
มีผลกับการแบ่งเซลล์และการแตกหน่อ ซึ่งไซโตไคนินยัง
ช่วยชะลอการแก่ตวั ของเนื้อเยื้อและช่วยในการเคลื่อนย้าย
ออกซินภายในพืชด้วย
ภาพแสดงสูตรโครงสร้างของไซโทไคนิน (zeatinในน้ ามะพร้าว)
3. ไซโทไคนิน (Cytokinin)
ตาแหน่งที่สร้าง
1. เนื้อเยือ่ เจริญปลายราก
2. ผลอ่อน
หน้าที่ตอ่ ส่วนต่างๆของพืช
1. กระตุน้ การแบ่งเซลล์
2. กระตุน้ การเกิดตาข้าง
3. ชะลอการสลายตัวของคลอโรฟิ ลล์
4. ช่วยในการเปิ ดปิ ดของปากใบ
5. ช่วยการสร้างโปรตีน RNA และ DNA
4. เอทิลีน (Ethylene)
เป็ นสารเคมีที่มีสภาพเป็ นก๊าซที่อุณหภูมิหอ้ ง เอทิลีนเกิดได้
จากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารที่มีคาร์บอนมาก เช่น น้ ามัน
ถ่านหิน ไม้ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ หรือจากโรงงานอุตสาหกรรม
เอทิลีนมีหน้าที่ช่วยควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับ
ความชรา, การหลุดร่วงของใบ, ดอก, ผล และควบคุมการเจริญของ
พืชเมื่ออยูใ่ นสภาวะที่ไม่เหมาะสม
ภาพแสดงสูตรโครงสร้างของเอทิลีน
4. เอทิลีน (Ethylene)
ตาแหน่งที่สร้าง
1. เนื้อเยือ่ ผลไม้ใกล้สุก
2. ใบแก่
3. บริเวณข้อ
หน้าที่ตอ่ ส่วนต่างๆของพืช
1. เร่งการสุกของผลไม้
2. กระตุน้ การหลุดร่วงของใบไม้
3. กระตุน้ การออกดอกของพืชบางชนิด
ให้ออกดอกมากขึ้น
4. เร่งการไหลของน้ ายางพารา
5. ยับยั้งการเคลื่อนย้ายของออกซิเจน
จากส่วนยอดลงสูส่ ่วนล่าง
5. กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)
หรือ ABA มีสูตรว่า C15H20O4 เป็ นสารที่ประกอบด้วยสารเคมี
ที่ปกติผลิตจากคลอโรพลาสต์ที่ใบพืช โดยเฉพาะเมื่อพืชอยู่ในภาวะ
เครียด
โดยทั ่วไปแล้วกรดแอบไซซิกจะออกฤทธิ์ยบั ยัง้ การเจริญเติบโต
ของพืช ทาให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆ ได้ดี และมีบทบาทในการ
เจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ รวมทั้งการพักตัวของเมล็ดและของ ตาพืช
ภาพแสดงสูตรโครงสร้างของกรดแอบไซซิก
5. กรดแอบไซซิก (Abscisic acid)
ตาแหน่งที่สร้าง
1. ลาต้น
2. ผลดิบ
3. ราก
4. ใบแก่
หน้าที่ตอ่ ส่วนต่างๆของพืช
1. ยับยั้งการเจริญเติบโตของตา
2. การปิ ดเปิ ดของปากใบ
3. กระตุน้ การหลุดร่วงของใบ
4. ยับยั้งการงอกของเมล็ด
1. เมื่อตัง้ กระถางต้นไม้ไว้ริมหน้าต่างต้นไม้จะเบนเข้า
หาแสง ท่านคิดว่าฮอร์โมน IAA ที่เกี่ยวข้องกับการเบนของ
ต้นไม้ควรจะอยูท่ างด้านใดของต้น ?
ด้านที่ได้รบั แสง
ด้านที่อยูต่ รงข้ามกับด้านที่รบั แสง
อยูเ่ ท่ากันทั้งสองด้าน
IAA จะถูกแสงทาลายทั้งหมด
ด้านที่อยูต่ รงข้ามกับด้านที่รบั แสง
เพราะ ฮอร์โมนIAA หรือออกซิน ที่ยอดจะอยู่ดา้ นตรง
ข้ามกับแสง ทาใหด้านนัน้ แบ่งเซลล์ได้มาก
ยอดพืชจึงเอนหาแสงเสมอ
2. การที่กา้ นของใบไม้หลุดออกมาจากต้น ภายในเวลา
ไม่นานหลังจากตัดส่วนที่เป็ นใบทิ้งเป็ นเพราะ ?
รากด้านที่ถูกแสงมีปริมาณออกซินมากกว่าอีกด้านหนึ่ง
รากด้านที่ถูกแสงมีปริมาณออกซินน้อยกว่าอีกด้านหนึ่ง
ปริมาณของออกซินมีมากกว่าที่สว่ นยอด
ปริมาณของออกซินที่รากมีนอ้ ยกว่าที่ส่วนยอด
รากด้านที่ถูกแสงมีปริมาณออกซินน้อยกว่าอีกด้านหนึ่ง
เพราะ รากของพืชด้านที่ถูกแสงจะมีปริมาณน้อยกว่าด้าน
ที่ไม่ถูกแสงออกซินที่เข้มข้นในรากจะยับยัง้ การแบ่งเซลล์
ทาให้รากพืชเบนหนีจากแสง
3. สารข้อใดมีผลร่วมกันต่อการควบคุมการเจริญเติบโตของ
กิ่ง ก้าน ราก ผล และดอก ?
ก. ออกซิน
ข.ไซโทไคนิน
ค.จิบเบอเรลลิน
ง.กรดแอบไซซิก
ก และ ข
ก และ ค
ข และ ค
ข และ ง
ก และ ข
เพราะ ฮอร์โมนออกซินจะทางานร่วมกับไซโทไคนิน
ซึ่งมีผลต่อการควบคุมการเจริญเติบโตของกิ่งก้าน ราก ผล
และดอก
4. การเคลื่อนไหวของพืชที่สามารถจับแมลงเป็ นอาหาร
เรียกว่า ?
Growth movement
Turgor movement
Nastic movement
Hydration movement
Turgor movement
เพราะ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความดันภายในเซลล์
อย่างรวดเร็วเมื่อมีแมลงมาเกาะ
5. การเคลื่อนไหวแบบ Turgor movement สัมพันธ์กบั
กระบวนการใด ?
osmosis
diffusion
active transport
cyclosis
Osmosis
เพราะ กระบวนการออสโมซิส คือ การเคลื่อนที่ของนา้
จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ซึ่งสัมพันธ์กบั ความดันเต่งภายในเซลล์
6. ดอกไม้คลี่บานได้ เพราะกลีบดอกมี ?
การเคลื่อนไหวแบบนิวเตชัน
การเคลื่อนไหวแบบเทอร์เกอร์
การเคลื่อนไหวแบบนาสติก
กลุม่ เซลล์พวกพัลไวนัสซึ่งไวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
การเคลื่อนไหวแบบนาสติก
เพราะ เมื่ออุณหภูมิหรือแสงเปลี่ยนแปลง ทาให้ดอกไม้
เกิดการหุบหรือบานได้ โดยกลุ่มเซลล์ดา้ นในกลี บดอก
ขยายมากกว่าด้านนอกจะทาให้ดอกไม้บาน
7. ในการปลูกสับปะรดเพื่ออุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋อง
มีการใช้ฮอร์โมนพืชชนิดใดมาก และให้ผลดีอย่างไร ?
กรดแอบไซซิก  ยับยั้งไม่ให้ตน้ สูงเกินไป
จิบเบอเรลลิน  ยืดก้านให้ยาวขึ้น
ออกซิน  เร่งการเจริญเติบโตของราก
เอทิลีน  ให้ออกดอกพร้อมกัน
เอทิลีน  ให้ออกดอกพร้อมกัน
เพราะ เอทิลีนจะช่วยกระตุน้ ให้สบั ปะรดออกดอกพร้อมกัน
และสม่าเสมอซึ่งเป็ นผลดีตอ่ การทาอุตสาหกรรมสับปะรด
กระป๋อง
8. กรดแอบไซซิก เป็ นฮอร์โมนพืชที่สร้างในตาแหน่งของ
พืชต่อไปนี้ ยกเว้นตาแหน่งใด ?
ลาต้น
ผลดิบ
ราก
เอ็มบริโอ
เอ็มบริโอ
เพราะ กรดแอบไซซิก จะถูกสร้างที่ลาต้น, ผลดิบ, ราก และ
ใบแก่
9. ฮอร์โมนออกซินเคลื่อนที่จาก ?
ปลายยอดลงสูโ่ คนต้น
ปลายยอดเข้าหาศูนย์ถ่วงโลก
โคนต้นไปที่ปลายยอด
ที่ๆมีแสงสว่างมากไปสูท่ ี่ๆมีแสงสว่างน้อย
ที่ๆมีแสงสว่างมากไปสูท่ ี่ๆมีแสงสว่างน้อย
เพราะ ออกซินจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีแสงมากไปอยู่
ที่ๆมีแสงน้อยทาให้แบ่งตัวได้มากทางด้านที่แสงน้อย
พืชจึงโค้งเข้าหาแสง
10. ในทางการค้า การปลูกไม้ประดับที่มีลกั ษณะต้นแคระ
แกร็น จะต้องมีสารยับยั้งการสร้างฮอร์โมนชนิดใดมาช่วย ?
เอทิลีน
ออกซิน
จิบเบอเรลลิน
กรดแอบไซซิก
จิบเบอเรลลิน
เพราะ ในทางการค้า มีผสู ้ งั เคราะห์สารยับยัง้ การสร้าง
จิบเบอเรลลินของพืช ทาให้พืชนัน้ แคระแกร็น เพื่อใช้
เป็ นไม้ประดับ
เอกสารอ้างอิง
ประสงค์ หลำสะอำด. (2553). คู่มือสาระการเรียนรูพ้ ้ นฐานและเพิ
ื
่มเติม
กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชีววิทยา ม.5 เล่ม 4.
กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์กำรพิมพ์
http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio01/17.html
รายชื่อคณะผูจ้ ดั ทา
1.
2.
3.
4.
5.
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/3
นายขจรศักดิ์
รุง่ สุริยนั
นายธนัญชัย
ธรรมสาคร
นางสาวกีรติพร
เยาหะรี
นางสาวสริตา
ทองทา
นางสาวภัทราพร
เชื้อแถว
เลขที่ 10
เลขที่ 13
เลขที่ 16
เลขที่ 25
เลขที่ 31