ดาวน์โหลดไฟล์

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดไฟล์

โรคหัวใจ
Heart disease
หัวใจคนเรามี 4 ห้ อง แบ่ง
ซ้ าย – ขวาโดยผนังของกล้ าม
เนื ้อหัวใจ และแบ่งเป็ นห้ อง
บน–ล่างโดยลิ ้นหัวใจ
ในทุกๆ วัน หัวใจคนเราจะเต้ น
ประมาณ 100,000 ครัง้ และสูบฉีดเลือด
ประมาณวันละ 2,000 แกลลอน เปรี ยบเสมือน
การทางานปกติของ "หัวใจ"
อัตราเสี่ยงต่อการเป็ น โรคหัวใจ สามารถแบ่งได้ หลายชนิด ดังนี ้
โรคหัวใจ ที่อาการผิดปกติท่เี กิดขึน้ เฉียบพลัน
คือ อาการผิดปกติเบื ้องต้ นของร่างกาย ที่บง่ ชี ้ว่าอาจเป็ น โรคหัวใจ พบบ่อย
ในคนทัว่ ไป ที่คิดว่าตัวเองมีสขุ ภาพดี ทังที
้ ่ความจริ งอาจเป็ นโรคหัวใจใน
ระยะแรกเริ่ ม มีดงั นี ้
1.เหนื่อยเวลาออกกําลังกาย ขณะที่เราออกกาลังกาย หัวใจจะทางานหนักมากขึ ้น
คนที่มีอาการเริ่ มต้ นของโรคหัวใจ แม้ ออกกาลังกายเพียงเล็กน้ อย จะรู้สกึ เหนื่อยผิด
ปกติอย่างไม่เคยเป็ นมาก่อน
2. เจ็บหน้ าอกหรื อแน่ นหน้ าอก พบบ่อยในคนที่เป็ นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และ
ไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ มีลกั ษณะเฉพาะคือ รู้สกึ เหมือนหายใจอึดอัด และ
แน่นบริ เวณกลางหน้ าอก เหมือนมีของหนักทับอยู่ หรื อรัดไว้ ให้ ขยายตัวเวลาหายใจ
จะแสดงออกเวลาที่หวั ใจต้ องทางานหนัก เช่น ระหว่างการออกกาลังกาย หรื อใช้ แรง
มากๆ เป็ นต้ น
3.ภาวะหัวใจล้ มเหลว เกิดจากการที่หวั ใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี ้ยงส่วนต่าง
ของร่างกายได้ อย่างเพียงพอ โดยผู้ป่วยจะเริ่ มมีอาการเหนื่อย ทังที
้ ่ออกกาลังกาย
เพียงนิดหน่อย หรื อเหนื่อยทังที
้ ่นงั่ อยูเ่ ฉยๆ ในกรณีที่เป็ นมาก อาจทาให้ ไม่สามารถ
นอนราบได้ เหมือนปกติ เพราะจะรู้สกึ เหนื่อยเวลาหายใจ และอึดอัดตรงหน้ าอก
นอกจากนัน้ อาจมีอาการหอบจนต้ องตื่นขึ ้นมาหอบกลางดึกอีกด้ วย อาการภาวะ
หัวใจล้ มเหลวนี ้ หากไม่รีบไปพบแพทย์โดยเร็ ว และไม่ได้ รับการรักษาอย่างทันท่วงที
อาจมีอนั ตรายถึงชีวิตได้
4.ใจสั่นและหัวใจเต้ นผิดจังหวะ ปกติหวั ใจของเราจะเต้ นด้ วยจังหวะที่ สม่า
เสมอประมาณ 60 -100 ครัง้ /นาที แต่สาหรับคนที่มีอาการหัวใจเต้ นผิดจังหวะ
อาจขยับไปถึง150 -250 ครัง้ /นาที ซึง่ อัตราการเต้ นของหัวใจที่ไม่สม่าเสมอนี ้
จะทาให้ เหนื่อยง่าย ใจสัน่ หายใจไม่ทนั
5. เป็ นลมหมดสติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สงู อายุ ซึง่ มีอตั ราเสี่ยงต่อการเป็ นลม
หมดสติสงู เนื่องจากจังหวะการเต้ นของหัวใจไม่สม่าเสมอ เพราะเซลล์ซงึ่ ทา
หน้ าที่ให้ จงั หวะไฟฟ้าในหัวใจเสื่อมสภาพ ส่งผลให้ หวั ใจเต้ นช้ าลง และส่ง
เลือดไปเลี ้ยงสมองไม่เพียงพอ จนทาให้ เป็ นลมไปชัว่ คราวได้ ทังนี
้ ้ การเป็ นลม
หมดสติ มักจะเกิดในท่ายืนมากกว่านัง่ ทาให้ ขณะล้ มลงศีรษะมีโอกาสฟาดพื ้น
และเกิดการกระทบกระเทือนต่อสมองได้ มากกว่า ดังนัน้ ใครที่เป็ นลมบ่อยๆ
ควรรี บไปพบแพทย์
โรคหัวใจ ที่อาการผิดปกติท่สี ังเกตได้ จากร่ างกาย
1. ขาหรื อเท้ าบวมโดยไม่ ทราบสาเหตุ เมื่อกดดูแล้ วมีรอยบุม๋ ตามนิ ้วที่กดลงไป
ควรรี บไปพบแพทย์เพื่อตรวจเช็คโดยด่วน
2. ปลายมือ ปลายเท้ า และริมฝี ปากมีลักษณะเขียวคลํา้
แสดงให้ เห็นว่า ทางเดินของเลือดในหัวใจห้ องขวากับห้ องซ้ ายมีการเชื่อม
ต่อที่ผิดปกติ ส่งผลให้ เกิดการผสมของเลือดแดงกับเลือดดา และทาให้
ปริ มาณของออกซิเจนในเลือดมีปริ มาณน้ อยลง
โรคหัวใจ ที่อาการผิดปกติท่ ตี รวจพบขณะตรวจร่ างกาย
การไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพประจาปี เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่จะทาให้ เรา
สามารถคาดคะเนความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ ได้ เช่น ตรวจเลือดแล้ ว
พบว่าเป็ นเบาหวาน หรื อมีไขมันในเลือดสูง ก็อาจสันนิษฐานได้ วา่ มีความ
เสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดหัวใจตีบได้ เช่นกัน หรื อเอ็กซเรย์แล้ วพบว่า ขนาด
ของหัวใจโตกว่าปกติ ซึง่ อาจเกิดจากหลอดเลือดหัวใจตีบ ลิ ้นหัวใจรั่ว และ
กล้ ามเนื ้อหัวใจบีบตัวอ่อนกาลังลง ทาให้ ห้องต่างๆ ของหัวใจขยายขนาดใหญ่
ขึ ้น ทังนี
้ ้ ในกรณีที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงสูง ไม่ควรนิ่งนอนใจ ควรรี บไปพบ
แพทย์โดยด่วน
สาเหตุของโรคหัวใจ (Cause of Heart Disease)
เกิดจากการที่หลอดเลือดเกิดการตีบหรื อตันจนเลือดไม่สามารถไปหล่อเลี ้ยง
อวัยวะส่วนต่างๆได้ ตามปกติหรื อบางทีอาจถึงขันหลอดเลื
้
อดอุดตัน โรคหัวใจ
สามารถเริ่ มได้ ตลอดเวลาทุกช่วงชีวิตหากเราเริ่ มละเลยไม่ใส่ใจดูแลสุขภาพ
ไม่วา่ จะเป็ นการกินอาหาร การออกกาลังกาย การพักผ่อนนอนหลับและ
ความเครี ยด หากเราละเลยปั จจัยเหล่านี ้จะเป็ นจุดเริ่ มต้ นของโรคหัวใจและ
โรคร้ ายแรงอื่นๆตามมาอีกมากมาย
ป้องกัน โรคหัวใจ อย่ างไรดี
การป้องกันโรคหัวใจมีหลักง่ายๆสองข้ อคือ เรี ยนเรื่ องความเสี่ยงการ
เกิดโรคหัวใจการจัดการกับความเสี่ยงนัน้
1.การหยุดสูบบุหรี่
2.การออกกําลังกาย
3.การรั บประทานอาหารสุขภาพ
4.การรั กษานํา้ หนัก
5.การตรวจสุขภาพ
สําหรับคนที่หัวใจยังเป็ นปกติ ข้ อแนะนําในการดูแลหัวใจ ดังนีค้ ่ ะ
สังเกตความผิดปกติของตัวเองอยูเ่ สมอ โดยเฉพาะอาการผิดปกติที่เกิดขึ ้นเฉียบพลัน เช่น ดูวา่
อัตราการเต้ นของหัวใจปกติดีหรื อไม่ เจ็บหน้ าอก ใจสัน่ บ่อยๆ หรื อเปล่า
ออกกาลังกายเป็ นประจา ซึง่ นอกจากจะทาให้ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สุขภาพจิตแจ่มใสแล้ ว
ยังช่วยให้ หวั ใจสูบฉีดเลือดได้ ดีขึ ้นอีกด้ วย
ดูแลสุขภาพใจให้ ผอ่ งใสอยูเ่ สมอ พยายามไม่เครี ยด รู้จกั ควบคุมอารมณ์ และพึงระลึกไว้ เสมอ
ว่า ความเครี ยดและความโกรธ เป็ นตัวการสาคัญที่ทาให้ หวั ใจเต้ นแรง และทางานหนักขึ ้น
รับประทานอาหารที่ดีตอ่ สุขภาพ โดยงดอาหารที่มีไขมันสูง ซึง่ ทาให้ ความดันโลหิตสูง เกิดภาวะ
เส้ นเลือดหัวใจตีบได้ งา่ ย และหันไปกินผักผลไม้ ให้ มากขึ ้น
ควรไปตรวจสุขภาพเป็ นประจาทุกปี เพื่อป้องกันและรักษาโรคร้ ายที่อาจคาดไม่ถึง
เช่น โรคหัวใจ ซึง่ แฝงอยูใ่ นตัวเรา
อาหารที่เหมาะสําหรั บผู้ป่วยโรคหัวใจ
ผู้ป่วยโรคหัวใจ โดยเฉพาะโรคเส้ นเลือดหัวใจตีบตัน ควรได้ รับการดูแลเอาใจใส่ใน
เรื่ องการบริ โภคอาหารอย่างเหมาะสม เพื่อมิให้ โรคหัวใจลุกลามเป็ นมากขึ ้น ดังนี ้
1. จากัดการบริ โภคอาหารที่มีไขมันที่เป็ นอันตรายและโคเลสเตอรอล
2. เลือกบริ โภคอาหารโปรตีนประเภทที่มีไขมันต่า
3. รับประทานผักและผลไม้ ให้ มากขึ ้น
4. เลือกรับประทานข้ าวหรื อผลิตภัณฑ์จากข้ าวที่ไม่ได้ ขดั สีเอาราออก
5. บริ โภคอาหารในปริ มาณที่เหมาะสมกับการใช้ พลังงานในแต่ละวัน
จัดทาโดย
นส. นัฐวัลย์ จรัสรวิโรจน์ เลขที่ 2
นส. ปุณณิกา สรวมชีพ เลขที่ 7
นส.มารี น่า หมัดนุช เลขที่ 20
นาย ศิวกร กมลภากรณ์ เลขที่ 25
นส. สุชานรี อรุณราษฎร์ เลขที่ 28