Transcript TWO SUNS

การประเมินผล
โครงการรณรงค์ พฒ
ั นาพฤติกรรมผ้ บู ริ โภค
ของกองพัฒนาศักยภาพผ้ บู ริ โภค ปี 2552
1
วัตถุประสงค์ ของโครงการวิจยั
เพื่อประเมินประสิ ทธิผล 2 โครงการ
(มุ่งกลุ่มประชาชนทัว่ ไป)
1. โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย
- การรับรู้ขอ้ มูลในสื่ อ/กิจกรรมที่เผยแพร่ ในโครงการฯ
- ความสามารถในการแยะแยะลักษณะของข้อความโฆษณา
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อ้างเกินจริ ง
- การดาเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ (event)
2. โครงการอาหารปลอดภัย
- การรับรู้ขอ้ มูลในสื่ อ / กิจกรรมที่เผยแพร่ ในโครงการฯ
- พฤติกรรมการบริ โภคอาหารอย่างถูกต้อง
2
ขอบเขตของโครงการวิจัย
ทั้ง 2 โครงการ
1. ทาการศึกษาในประชาชนที่มีอายุ 18-60 ปี ทัว่ ประเทศ โดยใช้
กลุ่มตัวอย่างจานวน 1,620 คน
2. ทาการศึกษากิจกรรมและข้อมูลข่าวสารที่ดาเนินงานตาม
แผนงานในโครงการ ฯ ปี งบประมาณ 2552
3. ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่ายเพิม่ การศึกษาผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรม
(Event) “อย.พลพรรคฉลาดซื้อ” 5 แห่ง รวมทั้งสิ้ น 985 คน
ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการวิจยั
3
ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับจากงานวิจัย
ผลการวิจยั ครั้งนี้ จะทาให้ได้ขอ้ มูลต่าง ๆ คือ
1. โครงการอาหารปลอดภัย
ทราบประสิ ทธิผลการดาเนินงานโครงการฯในการรณรงค์
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริ โภคที่ถกู ต้อง
เหมาะสม ปลอดภัย
4
ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับจากงานวิจัย
2. โครงการอย่ าหลงเชื่อง่ าย
2.1 ทาให้ทราบถึงการรับรู ้ของประชาชนต่อกิจกรรมและข้อมูล
ข่าวสารที่เผยแพร่ ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่าย ปี 2552
2.2 ทาให้ทราบถึงความสามารถของประชาชนในการจาแนก
ลักษณะของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวดเกินจริ ง
มุ่งนามาเป็ นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุ งการ
ดาเนินโครงการฯ ในปี ต่อไปให้มีประสิ ทธิผลยิง่ ขึ้นต่อไป
5
ผลการวิจยั
1. โครงการอาหารปลอดภัย
ตารางที่ 1 แสดงการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการเผยแพร่ในโครงการอาหารปลอดภัย ป 2552
การรับรู้
รับรู้
ไม่รับรู้
รวม
จานวน
1276
344
1620
78.8
ร้อยละ
78.8
21.2
100.0
เกณฑ์ รับรู้รายการย่อยของแต่ละสื่อได้อย่างน้อย 1 รายการ ถือว่ากลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อนั้น
6
ผลการวิจยั
ตารางที่ 2 แสดงการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการเผยแพร่ในโครงการอาหาร
ปลอดภัย ป 2552 จาแนกตามประเภทสื่อ
การรับรู้
ประเภทสื่อ
โ ร ั (สารคดี+
รายการสนทนาทาง
โทรทัศน์)
ิ่ง ิ
(คู่มือ + แผ่นพับ)
กิจกรร
(ตรวจตลาด)
7
รับรู้
1153
ร้อยละ
71.2
850
52.5
424
26.2
ไม่รับรู้
467
ร้อยละ
28.8
รวม
1620
ร้อยละ
100.0
770
47.6
1620
100.0
1196
73.8
1620
100.0
เกณฑ์ รับรู้รายการย่อยของแต่ละสื่อได้อย่างน้อย 1 รายการ ถือว่ากลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อนั้น
ผลการวิจยั
1. โครงการอาหารปลอดภัย
ตารางที่ 3 แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ที่ปลอดภัย มีคุณภาพของกลุ่มตัวอย่าง
ระดับความรู้
จานวน
ร้อยละ
1425
195
1620
87.9
12.0
100.0
มีความรู้ที่ถูกต้อง
ไม่มีความรู้ที่ถูกต้อง
รวม
87.9
70
8
8
12
ผลการวิจยั
ตารางที่ 4
แสดงความตระหนักในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่
ปลอดภัย มีคุณภาพ ของกลุ่มตัวอย่าง
ระดับความตระหนัก
มีความตระหนัก
ไม่มีความตระหนัก
รวม
จานวน
1570
50
1620
ร้อยละ
96.9
3.1
100.0
96.9
9
70
(
8
12
)
ผลการวิจยั
1. โครงการอาหารปลอดภัย
ตารางที่ 5
แสดงการป ิบัติตนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ของกลุ่มตัวอย่าง
ระดับการป ิบัติตน
ป ิบัติตนถูกต้อง
ป ิบัติตนไม่ถูกต้อง
รวม
จานวน
1166
454
1620
71.9
10
70
ร้อยละ
71.9
27.9
100.0
ผลการวิจยั
2.
2552
ตารางที่ 1
การรับรู้สื่อที่เผยแพร่ในโครงการ
อย่าหลงเชื่อง่าย ป 2552
การรับรู้
จานวน
1404
216
1620
รับรู้
ไม่รับรู้
รวม
86.7
เกณฑ์การวัด ต้องรับรู้รายการย่อยของแต่ละสื่ออย่างน้อย 1 สื่อ
11
ร้อยละ
86.7
13.3
100.0
ผลการวิจยั
2.
2552
ตารางที่ 2
แสดงการรับรู้สื่อที่เผยแพร่ตามประเภทสื่อ
ประเภทสื่อ
โ ร ั
(สปอต +สารคดี )
ิ่ง ิ
(สกูปหนังสือพิมพ์ +
หนังสือการ์ตูน )
กิจกรร
อิ เ อรเ ต
ร้อยละ
58.1
การรับรู้
ไม่รับรู้
ร้อยละ
678
41.9
รวม
1620
ร้อยละ
100.0
1217
75.1
403
24.9
1620
100.0
604
305
37.3
18.8
1016
1315
62.7
81.2
1620
1620
58.1
100.0
100.0
รับรู้
942
75.1
12
ผลการวิจยั
2552
ตารางที่ 3 แสดงความสามารถของกลุ่มตัวอย่างในการแยกแยะลักษณะ
โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โอ้อวดเกินจริง
ความสามารถในการแยกแยะ
สามารถแยกแยะได้อย่างถูกต้อง
ไม่สามารถแยกแยะได้อย่างถูกต้อง
รวม
จานวน
1397
223
1620
รป กล่ ตัวอย่างรอยล 86.2 า าร ยก ย ลัก โ
า ลิตภั
เกิ จริง ดอย่าง กตอง
เกณฑ์การวัด ตอบถูกต้องร้อยละ 70 ( 7 ข้อจาก 10 ข้อ ) ถือว่าแยกแยะได้
13
ขภา ่โออวด
ร้อยละ
86.2
13.8
100.0
ผลการวิจยั
ตารางที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่
ในโครงการอย่าหลงเชื่อง่ายกับการจาแนกลักษณะการ
โฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่หลอกลวง
ความสามารถในการ
แยกแยะการรับรู้สื่อ
รับรู้สื่อ
ไม่รับรู้สื่อ
รวม
แยกแยะ
ได้
1220
177
1397
แยก แยะ
ไม่ได้
184
39
223
2
3.864*
x
p*< .05
14
รป ปร ชาช ่รับรข่าว าร ่า ่อื ่เ ย ร่ โครงการ จ ควา า าร การจา กลัก
โ า ลิตภั ขภา ่โออวด ด ากกว่าปร ชาช ่ ่ การรับรขอ ลช่าว าร ่า ื่อ ่
เ ย ร่ โครงการ
ผลการวิจยั
โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย
EVENT
• การรับ ราบข่ าวกิจกรร บังเอิญผ่านมา ร้อยละ 51.2
• กิจกรร เ่ ขาร่ ว การตอบแบบทดสอบความรู้ ร้อยละ 84
ทอล์คโชว์ให้ความรู้ และแสดงคอนเสิ ร์ต ใกล้เคียงกัน คือร้อยละ 84.2
• ปร โยช ่ ดรับ ทราบผลร้ายที่เกิดจากการหลงเชื่อโฆษณาหลอกลวง ร้อยละ 28.2
15
ผลการวิจยั
EVENT
ตาราง ่ 5
ดงควา ง อ จของกล่ ตัวอย่าง ่ ต่อการจัดกิจกรร เ ย ร่
ปร ชา ั ั
โครงการ ภา รว
ความพึงพอใจ
จานวน
1317
303
1620
พึงพอใจ
ไม่พึงพอใจ
รวม
.+
98.1
+
16
+
+
=
=
ร้อยละ
81.3
18.7
100.0
98.8
97.7
ผลการวิจยั
ตารางที่ 6
แสดงความสามารถในการแยกแยะลักษณะโฆษณาผลิตภัณฑ์
สุขภาพที่โอ้อวด เกินจริงของกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรม
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย ป 2552
ความสามารถในการแยกแยะ
สามารถแยกแยะได้อย่างถูกต้อง
ไม่สามารถแยกแยะได้อย่างถูกต้อง
รวม
จานวน
747
238
985
75.8
70
17
ร้อยละ
75.8
24.2
100.0
ข้ อเสนอแนะจากการวิจัย
- กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 87.9 มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริ โภค
อาหารที่ปลอดภัย แต่มีการป ิบตั ิตนที่ถูกต้องเพียงร้อยละ 71.9 ซึ่งแตกต่าง
กันมาก อาจเนื่องจากมีปัจจัยอื่น ๆ เกี่ยวข้อง เช่น ไม่สามารถหาซื้ออาหารที่
ปลอดภัยมีคุณภาพจากบริ เวณที่อยูอ่ าศัย จึงควรส่ งเสริ มให้มีปัจจัยเอื้อด้าน
อาหารปลอดภัยให้แพร่ หลาย
- ควรมีการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพควบคู่ไปกับการวิจยั เชิงปริ มาณ เช่น
การสัมภาษณ์ หรื อการจัดประชุมกลุ่มย่อย ในประชาชนกลุ่มเป้ าหมายใน
การประเมินผลของทั้งสองโครงการ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึก ซึ่งงานวิจยั
ในเชิงปริ มาณไม่สามารถให้ขอ้ มูลดังกล่าวได้
18
ขอบคุณค่ะ
19