การรับรู้(Perception)

Download Report

Transcript การรับรู้(Perception)

การรับรู้
(Perception)
โดย
พระมหาเผือ
่ น กิตฺตโิ สภโณ
องค์ประกอบการรับรู้
• สิ่ งเรา(Stimulus)
ไดแก
่ รส
้
้ ่ วัตถุ แสง เสี ยง กลิน
ตางๆ
่
• อวัยวะรับสั มผัส(Sensory organs) ไดแก
้ ่ ตา หู
จมูก ลิน
้ ผิวหนัง
• ประสาทรับสั มผัส(Receptors)
• ประสบการณเดิ
้ ลเดิม(Previous
์ มหรือขอมู
experience)
• ความสนใจ ความตัง้ ใจ(Attention)
• ทัศนคติ(Attitude) คานิ
่ ยม(Values)ในการรับรู้
• สภาพจิตใจ อารมณ ์ (Emotion)เช่น ความ
คาดหวัง ความดีใจ เสี ยใจ ในขณะเกิดการรับรู้
• ความสามารถทางสติปญ
ั ญา(Mental abilities)
กระบวนการการรับรู้
• ระดับกระบวนการรับรูในการท
างาน
้
• การวิเคราะหระดั
บพลังงานจิตฟิ ซก
ิ ส์
์
กระบวนการนี้เกีย
่ วกับระดับความเขมข
่ง
้ นของสิ
้
เรา้ เช่น แสง เสี ยง กลิน
่ รส แรงกด ทีม
่ ี
อิทธิพลตอการรั
บรู้
่
• กระบวนการคิดทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพลตอการรั
บรู้ เกีย
่ วของ
่
้
กระบวนการทางความคิด(cognitive process)
ในการจัดการกับขอมู
่ านเข
ามาทางประสาท
้ ลทีผ
่
้
สั มผัส
กระบวนการการรับรู้
สิ่ งเร้ามากระทบ
(Stimulus)
เกิ ดความสนใจ
(Attention)
ตัวรับสัมผัสถูก
กระตุ้น
(Activated
sensory
receptor)
แปลงข้อมูล
(Transduction)
กระแสประสาท
ถูกส่งไปสมอง
(Neural
processing)
เกิ ดการรับรู้
เกิ ดการจาได้
(Perception)
(Recognition)
ตอบสนอง
เทรชโฮลท์(Treshold)การรับรู้
• เทรชโฮลด์สมบูรณ์ (Absolute
threshold) คือ
ปริมาณของสิ่ งเร้าหรือแรงกระตุ้นทีน
่ ้ อยทีส
่ ุดทีท
่ าให้
เกิด ความรู้ สึ ก สามารถเปลี่ย นแปลงไปตามระดับ
ความเข้ มของสิ่ งเร้ า และขึ้ น กับ สิ่ งแวดล้ อมที่เ รา
เกีย
่ วข้องด้วย ความแตกต่างระหว่างบุคคลก็ มส
ี ่ วน
เข้ ามาเกี่ย วข้ องด้ วยในการตัด สิ นเรื่อ ง Absolute
threshold ดวย
เนื่องจากอวัยวะทีร่ บ
ั ความรู้สึ กของ
้
แต่ละบุ ค คลนั้น มีก ารถ่ายทอดทางพัน ธุ ก รรมที่ไ ม่
เหมือนกัน
• เ ท ร ช โ ฮ ล ด์ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ( Differential
thershold) คือความเปลีย
่ นแปลงทีน
่ ้ อยทีส
่ ุดของสิ่ ง
เร้ า ซึ่ ง ท า ให้ เกิ ด ค วา มรู้ สึ ก ว่ า สิ่ ง เร้ า นั้ น มี ก า ร
เปลีย
่ นแปลง ทัง้ นี้ขน
ึ้ อยูกั
่ บความเข้มเดิมของสิ่ งเร้า
การมองเห็น(visual Sensation)
• สิ่ งทีต
่ ารับสั มผัสคือ คลืน
่ แมเหล็
กไฟฟ้า
่
(Electromagnetic disturbance) ทีเ่ รียกวา่ โฟ
ตอน ทีม
่ ช
ี ่ วงความถีท
่ ต
ี่ าสามารถรับรูได
้ หรื
้ อที่
เรียกวา่ คลืน
่ แสง(Wavelength) คลืน
่ แสงดังกลาวนี
้
่
มีสีแตกตางกั
นไปตามความถี่
่
• ความสูง(Amplitude)ของคลืน
่ แสงบงบอก
ความ
่
สวาง(Brightness)
ความกวางของคลื
น
่ เป็ นตัวหนด
่
้
สี (Color) และความบริสุทธิ(์ Purity)ของสี เป็ น
ตัวกาหนด ความสดใส(Saturation)
• เซลประสาทรั
บภาพ(visual receptor)ทีบ
่ ริเวณเรตินา
์
ของดวงตาประกอบดวยเซลล
รอด(Rods)
ไม่
้
์
ตอบสนองตอสี
ทางานในสภาพแสงน้อย และเซลล ์
่
Visible spectrum
การรับรู้ทางตา(Visual
sensation)
การรับรู้เสียง(Auditory
Sensation)
• สิ่ งทีห
่ ูเราไดยิ
่ เสี ยง(Sound wave) หรือ
้ นคือ คลืน
การสั่ นสะเทือนของโมเลกุลในอากาศทีอ
่ ยูรอบตั
วเรา
่
• คุณสมบัตข
ิ องคลืน
่ เสี ยงประกอบดวย
ความดัง
้
(Amplitude) ความถี(่ Frequency or Pitch) และ
ความบริสุทธิ(์ Timbre)
• ความดังของเสี ยงมีหน่วยเป็ น เดซิเบล(Decibel)
ความถีข
่ องเสี ยงมีหน่วยเป็ น เฮิรตซ(Hertz)
์
โครงสรางหู
้
การรู้รส
Gustatory
Sensation
โครงสรางลิ
น
้
้
The five basic tastes
• ขม(Bitter)
• เปรีย
้ ว(Sour)
• เค็ม(Salty)
• หวาน(Sweet)
• Umami
การสัมผัสกลิ่น
Olfactory Sensation
Bodily
Sensation
การรู้สมั ผัส แรงกดและอุณหภูมิ
กระบวนการการรับรู้
• ขัน
้ เลือก(Selection)
• การบันทึกการเห็ น
• การบันทึกการไดยิ
้ น
• การแปลงสั ญญาณ(Transduction)
• กระบวนการจัดระบบ(Organization Process)
• ขัน
้ แปลงหรือตีความหมาย(Interpretation)
การทดลองเกีย
่ วกับการบันทึกการ
เห็น
• ปี 1960 จอรจ์ สเปอริง(George Sperling) ได้
ทดลองฉายภาพแถวตัวอักษรให้ปรากฏดวยเวลาน
้
้ อย
กวา่ 500 มิลลิวน
ิ าที(1วินาที= 1,000มิลลิวน
ิ าที)
พบวา่ ผู้ถูกทดลองจาอักษรไดประมาณ
4 ตัว
้
จากนั้นเพิม
่ เวลาขึน
้ จาก 15 เป็ น 500 มิลลิวน
ิ าที
เพิม
่ จานวนตัวอักษรจาก 4 เป็ น 12 ตัว พบวา่ ผู้
ถูกทดลองจาไดประมาณ
4 อักษร จากไดใช
้
้ ้วิธใี ห้
ผู้ถูกทดลองรายงานชุดตัวอักษรหนึ่งในหลายชุดที่
ฉายพรอม
พบวา่ ผู้ถูกทดลองรายงานได้ 3 ใน
้
4 ของแถว และจะน้อยลงหากทิง้ เวลานานระหวาง
่
การเห็ นและการรายงาน
• การทดลองของสเปอริงสรุปวา่ ขอมู
้ ลการมองเห็ นจะ
การทดลองเกี่ยวกับการบันทึก
การได้ยิน
• ปี 1972 ดารวิ
ี ละโครวเดอร
(Darwin
์ น ทรูวแ
์
์
Turwey and Crowder,1972) ไดท
้ าการทดลองการ
บันทึกการไดยิ
้ นโดยให้ผู้ถูกทดลองฟังเสี ยงตัวเลข
และตัวอักษรทีม
่ าจาก 3 แหลง่ คือ หูซ้าย หู
ขวา และหลังศี รษะ โดยทิง้ เวลาช้าลง 0-4
วินาทีเพือ
่ ให้ผู้ถูกทดลองรายงานเสี ยงทีม
่ าจากแหลง่
ใดแหลงหนึ
่ง
่
• ผลการทดลองสอดคลองกั
บของสเปอริงคือหากปลอย
้
่
เวลานานขึน
้ ความสามารถในการจาจะลดลง โดย
ความจาในรูปของเสี ยงสะทอนจะเสื
่ อมไปจาก
้
ความจาระบบรับสั มผัสภายใน 3 วินาที หากไมมี
่
การดาเนินการใดๆ
การจัดหมวดหมู่การ
รับรู้
(Perceptual
Organization)
กฎแหงความคล
ายคลึ
งกัน(Law of
่
้
similarity)
• สิ่ งเราที
่ ล
ี ก
ั ษณะเหมือนกันจะถูกรับรูว
้ ม
้ าเป็
่ นกลุม
่
เดียวกัน
กฎแห่งความง่าย(Law of
Pragnanz)
• สิ่ งเราจะถู
กจัดระเบียบเพือ
่ ให้เขาใจได
ง้ ายมากที
ส
่ ุด
้
้
่
กฎแหงความชิ
ดกัน(Law of
่
Proximity)
• สิ่ งเราที
่ ยูชิ
้ อ
่ ดกันจะถูกรับรูว
้ าเป็
่ นกลุมเดี
่ ยวกัน
กฎแห่งความต่อเนื่ อง(Law of
Continuity)
• สิ่ งเราที
่ รากฏตอเนื
้ ป
่ ่องในทิศทางเดียวกันถูกมองวา่
เป็ นกลุมเดี
่ ยวกัน
กฎแห่งภาพใกล้สมบูรณ์(Law of
Closure)
• เรามีแนวโน้มทีจ
่ ะเจิมภาพส่วนทีข
่ าดหายไปให้
สมบูรณเพื
่ ให้เกิดความหมาย
์ อ
ความคงที่ในการรับรู้รปู ร่าง
(Shape constancy)
ความคงที่ในการรับรู้ขนาด(Size
constancy)
ความคงที่ในการรับรู้ความสว่าง
(brightness constancy)
ความคงที่ในการรับรู้ความพลิก
ผัน(Orientation constancy)
การรับรู้ความลึก(Depth
perception
การรับรูความลึ
ก คือ ความสามารถในการมองโลกในแบบ 3
้
มิต ิ หากปราศจากความสามารถดังกลาวนี
้เราจะไมสามารถรั
บรู้
่
่
ไดว
ห
มากแค
ไหน
การรูความลึ
กเริม
่
้ าวั
่ ตถุตางๆอยู
่
่ างจากรู
่
้
่
้
พัฒนาตัง้ แตวั
่ ตนของชี
วต
ิ คนทีต
่ าบอกตัง้ แตเกิ
่ ยเริม
้
่ ดและกลับ
มองเห็นไดอี
องพั
ฒนาการรับรูความลึ
กใหมเหมื
อน
้ กครัง้ ตองต
้
้
้
่
เด็กเล็ก.
การรับรูความลึ
กอาศัยสั ญญาณบอกความลึก(Cues) ซึง่ เป็ น
้
ออกเป็ นสั ญญาณบงบอกความลึ
กสาหรับการมองดวยตาข
าง
่
้
้
เดียว(monocular cues), และสั ญญาณบงบอกความลึ
กสาหรับ
่
การมองดวยตาสองข
าง(binocular
cues).
้
้
สัญญาณบ่งบอกความลึกสาหรับ
การมองด้วยตาสองข้าง
(Binocular cues)
• การเบนเข้าหากันของลูกตา(Convergence) การ
เบนเขาหากั
นของตาสองขางเพื
อ
่ โฟกัสวัตถุ หาก
้
้
วัตถุอยูการเบนเข
าหากั
นก็จะมากขึน
้ หากวัตถุอยู่
่
้
หางออกไปการเบนเขากั
้ นก็จะน้อย
• ความแตกต่างกันของการมองจากตาสองข้าง
(Binocular disparity) คือความแตกตางของภาพที
่
่
เกิดจากการมองเห็ นของตาแตละข
าง
ซึง่ วัตถุทอ
ี่ ยู่
่
้
ใกลจะมี
ขนาดใหญขึ
้ และวัตถุทอ
ี่ ยูไกลจะมี
ขนาด
้
่ น
่
เล็กลง
สัญญาณบ่งบอกความลึกสาหรับ
การมองด้วยข้างเดียว
(Monocular
• การบรรจบการของเส้cues)
นตรง(Linear perspective)
ขนาดที่อยู่ใกล้จะมีขนาดใหญ่ วัตถุที่อยู่ห่างออกไปมี
ขนาดเล็กลดหลันสั
่ มพันธ์กนั (Relative size)
• การทับซ้อนกันของวัตถุ(Overlap)
• วัตถุที่อยู่ห่างออกไปมีรายละเอียดน้ อยกว่าวัตถุที่อยู่
ใกล้กว่า(Aerial (atmospheric) perspective)
• วัตถุที่อยู่ใกล้มีขนาดใหญ่ วัตถุที่อยู่ไกลมีขนาดเล็ก
•
Texture gradient
วัตถุที่อยู่ใกล้ดเู หมือนจะเคลื่อนไหวช้ากว่าวัตถุที่อยู่ใน
ระยะไกล(Motion parallax)
• กระจกตาจะเปลี่ยนรูใ้ ห้หนาหรือบางเพื่อมองวัตถุที่อยู่
•
Perceptual illusion
Hermann’s
grid
Muler-illusion
วิธีการศึกษาการรับรู้
ทฤษฎีการรับรู้ของเฮล์มโฮลท์
• เฮอรมั
อธิบายวา่ การรับรูเป็
้ น
์ น วอน เฮลมโฮล
์
ผลผลิตทัง้ ของธรรมชาติและการฝึ กฝน และการรับรู้
ส่วนใหญเกิ
้ นอกเหนือภาวการณมี
่ ดขึน
ู้ ว ทีเ่ ขา
์ สติรตั
เรียกวา่ Unconscious inference
• เฮลมโฮล
แบงการรั
บรูออกเป็
น 2 ขัน
้ ตอนคือ
่
้
์
• ขัน
้ วิเคราะห ์ คือ การทีป
่ ระสาทสั มผัสวิเคราะหโลก
์
ภายนอก ซึง่ เป็ นการรับรูระดั
บพืน
้ ฐาน
้
• ขัน
้ สั งเคราะห ์ คือ การบูรณาการและรวบรวมหน่วย
ขอมู
้ ลของการรับรูเข
้ าไปในระบบ
้
ทฤษฎีนี้นาเสนอแนวคิดวา่ มนุ ษยเรี
สึ้ ก
้
์ ยนรูการแปรผลความรู
จากประสบการณเดิ
์ ม โดนการแปรผลเป็ นการคาดหวังจากการ
รูที
่ อ
ี ยูเดิ
้ ม
่ ม
ทฤษฎีการรับรู้ของเกสตัลท์
(Gestalt’s Perceptual theory)
• จิตวิทยาเกสตัลทอธิ
์ บาย
วา่ มนุ ษยเรามี
แนวโน้ม
์
แตก
่ ะรับรู้โดย
่ าเนิดทีจ
ภาพรวมมากกมากกวา่
แยกเป็ นส่วนยอย
โดย
่
จะมีระบบการจัด
หมวดหมูสิ่ ่ งรับรูแล
้ วให
้
้
ความหมาย
• สนามการรับรูแบ
้ ง่
ออกเป็ นสองส่วนคือ
ส่วนทีถ
่ ก
ู สนใจและรับรู้
เรียกวา่ ภาพ(Figure)
ทฤษฎีสนามของกิ๊บสัน
(Gibson’s Field theory)
• เจมส์ กิบ
๊ สั น(James Gibson) เสนอวา่ การเขาใจการรั
บรู้
้
ทาไดดี
เคราะหสิ์ ่ งแวดลอมที
อ
่ ยูรอบตั
วมากกวาหาว
า่
้ กวาการวิ
่
้
่
่
เกิดอะไรขึน
้ ในหัวเรา
• กิบ
๊ สั นไดน
3 ประการ คือ
้ าเสนอปัจจัยหลักในการรับรูภาพ
้
• รูปแบบลาแสง(Optic array) ทีเ่ ขามากระทบเรติ
นา ให้
้
ขอมู
้ ลโครงรางวั
่ ตถุในสภาพแวดลอม
้
• พืน
้ ผิวทีป
่ ระกอบดวยวั
ตถุตางๆ(Textured
gradients) เป็ น
้
่
ตัวให้ขอมู
่ วกับระยะทาง ความเร็ว ฯลฯ
้ ลเกีย
• การให้ความหมายสิ่ งทีเ่ ห็ น(Affordance) ซึง่ นาไปสู่การ
ตอบสนอง
• กิบ
๊ สั นสรุปวา่ การรับรูทางตานั
้นถูกตองมากที
ส
่ ุด. การลวง
้
้
ตาเกิดขึน
้ จากการมองเห็นในช่วงเวลาสั้ นๆ ซึง่ มีโอกาสน้อย
มากทีจ
่ ะเกิดขึน
้ ในชีวต
ิ ประจาวัน อยางไรก็
ตาม ทฤษฎี
่
ของกิบ
๊ สั นไมไดใหคาอธิบายวาเราใหความหมายสิ่ งทีเ่ ราเห็ น
ทฤษฎีตรวจจับสัญญาณ(Signal
Detection theory)
• ทฤษฎีนี้มพ
ี น
ื้ ฐานมากจากวิศวกรรมไฟฟ้า
นักจิตวิทยาไดน
่ ศึ กษาการ
้ าทฤษฎีนี้มาใช้เพือ
ตัดสิ นใจในสถานการณที
่ ลุมเครือ เช่น การรับรู้
์ ค
ระยะทางในสถานการณที
่ ห
ี มอกหนา โดยสิ่ งเราที
้ ่
์ ม
เป็ นเป้าหมายของการรับรูเรี
้ ยกวา่ สั ญญาณ
(Signal) และสิ่ งเราที
้ ร่ บกวนการรับรูสั
้ ญญาณ
เรียกวา่ สั ญญาณรับกวน(Noise)
• ในการทดการทดสอบผู้ทดสอบจะทดสอบวา่ ผู้ถูก
ทดสอบรับรูได
กตองหรื
อไม่ ถาน
้ อย
้ างถู
่
้
้ าเสนอสิ่ งเรา้
และผู้ทดสอบรับรูได
้ เรี
้ ยกวา่ hit ถารั
้ บรูไม
้ ได
่ เรี
้ ยกวา่
miss
• หากไมน
่ าเสนอสิ่ งเรา้ แตผู
่ ้ถูกทดลองรายวารั
่ บรูได
้ ้