บทที่ 10 ฮอร์โมน รองศาสตราจารย์ ดร. ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์

Download Report

Transcript บทที่ 10 ฮอร์โมน รองศาสตราจารย์ ดร. ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์

บทที่ 10
ฮอร์โมน
รองศาสตราจารย์ ดร. ดนัย บุณยเกียรติ
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• ฮอร์โมน คือ สารประกอบอินทรีย์ ซึง่ สามารถมี
ผลกระทบในปริมาณทีน
่ ้อยมาก โดยพืชจะ
สังเคราะห์ทส
ี่ ว่ นหนึ่งแล้วเคลือ
่ นย้ายไปยังอีกส่วน
หนึ่ง และมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่
ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง
• สารควบคุมการเจริญเติบโต
(Plant
Growth
Regulator)เป็ นสารเคมีทส
ี่ าคัญในการเกษตรเป็ น
สารอินทรีย์ซงึ่ มนุษย์สงั เคราะห์ขน
ึ้ มาได้ ซึง่ บางชนิด
มีคณ
ุ สมบัตเิ หมือนฮอร์โมนพืช
• ในบางกรณีนี้ฮอร์โมนจะทดแทนสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสมได้
• ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวตั ถุประสงค์
ในทางการเกษตรเพือ
่ ให้มผ
ี ลผลิต เพือ
่ เพิม
่ ผลผลิต
และคุณภาพ
และเพือ
่ ความสะดวกในการจัดการ
ฟาร์ม
ออกซิน (Auxin)
• Charles Darwin ซึง่ ศึกษาเรือ
่ ง Phototropism
ซึง่ พืชจะโค้งงอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับ
ต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่า
โคลีออพไทล์ของพืชชนิดนี้จะตอบสนองต่อการ
ได้รบั แสงเพียงด้านเดียวทาให้เกิดการโค้งเข้าหา
แสง Darwin สรุปว่าเมือ
่ ต้นกล้าได้รบั แสงจะทาให้
มี "อิทธิพล" (Influence) บางอย่างส่งผ่านจาก
ส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์ ทาให้เกิด
การโค้งงอเข้าหาแสง ซึง่ นักวิทยาศาสตร์รน
ุ่ ต่อมา
ได้ศก
ึ ษาถึง "อิทธิพล" ดังกล่าว
ออกซิน (Auxin)
• ต่อมา Boysen-Jensen และ Paal ได้ศก
ึ ษา
และแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพ
เป็ นสารเคมี
• Went ได้ทางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้
ออกจากโคลีออพไทล์ได้ โดยตัดส่วนยอดของโคลี
ออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุน
้ จะทาให้
สารเคมีทก
ี่ ระตุน
้ การเจริญเติบโตไหลลงสูว่ น
ุ้ เมือ
่
นาวุน
้ ไปวางลงทีด
่ า้ นหนึ่งของโคลีออพไทล์ทไี่ ม่มี
ยอดด้านใดด้านหนึ่งจะทาให้โคลีออพไทล์ดงั กล่าว
โค้งได้
ออกซิน (Auxin)
• สารเคมีดงั กล่าวได้รบั การตัง้ ชือ
่ ว่า ออกซิน ซึง่ ใน
ปัจจุบน
ั พบในพืชชัน
้ สูงทั่วๆ ไป และมีความสาคัญ
ต่อการเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วน
เนื้อเยือ
่ เจริญของลาต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและ
ผล และพบมากทีบ
่ ริเวณเนื้อเยือ
่ เจริญโคลีออพไทด์
และคัพภะ รวมทัง้ ใบทีก
่ าลังเจริญด้วย
งานทดลองของนักวิทยาศาสตร์ ซึง่ นามาสูก
่ ารค้นพบออกซินในพืช ทุกการทดลอง ทากับโคลี
ออพไทด์ของต้นกล้าของพืชตระกูลหญ้า ลูกศร 3 เส้นทีต
่ ด
ิ กัน แสดงทิศทางของ unilateral
light ในการทดลองของ Went แสดงถึง Went Avena curvature test
การสังเคราะห์ออกซิน
• การสังเคราะห์ออกซินนัน
้ มีกรดอะมิโน L-Tryptophan
เป็ นสารเริม
่ ต้น (Precursor) L-Tryptophan เป็ น
กรดอะมิโนทีม
่ โี ครงสร้างของ Indole อยู่ การสังเคราะห์
ออกซิน แสดงในรูปที่ 12.2 ซึง่ ในการสังเคราะห์ IAA
นัน
้ จะมี IAAld และ IPyA เป็ นสารทีพ
่ บในระหว่างการ
สังเคราะห์ ในพืชบางชนิด เช่น ข้าวโอ๊ต ยาสูบ
มะเขือเทศ ทานตะวัน และข้าวบาร์เลย์ พบว่า
Tryptophan สามารถเปลีย่ นเป็ น Tryptamine ได้
ในพืชตระกูลกะหล่า Tryptamine อาจจะเปลีย่ นไป
เป็ น Indoleacetaldoxime แล้วเปลีย่ นไปเป็ น IAN
แล้วจึงเปลีย่ นเป็ น IA
การสังเคราะห์ออกซิน
• การศึกษาเรือ
่ งการสังเคราะห์ออกซินมักศึกษาจาก
เนื้อเยือ
่ ปลายรากหรือปลายยอด และพบว่า IAA นี้
สังเคราะห์ได้ทง้ ั ในส่วนไซโตซอล (Cytosol) ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ในการศึกษาในปัจจุบน
ั
พบว่า Phenylacetic acid หรือ PAA มี
คุณสมบัตข
ิ องออกซินด้วยและสามารถสังเคราะห์ได้
จาก L-Phenylalanine โดยพบในคลอโรพลาสต์
และไมโตคอนเดรียของทานตะวัน
การสังเคราะห์ออกซิน
• สารสังเคราะห์ทม
ี่ ค
ี ณ
ุ สมบัตข
ิ องออกซินมีหลายชนิด
ทีส
่ าคัญทางการเกษตร เช่น สาร 2, 4dichlorophenoxyacetic acid หรือ 2,4-D ซึง่
ใช้ในการกาจัดวัชพืช IBA หรือ Indole butyric
acid ใช้ในการเร่งให้สว่ นทีจ่ ะนาไปปักชาเกิดราก
้ และ NAA หรือ Napthalene acetic acid
เร็วขึน
จะช่วยในการติดผลของผลไม้บางชนิด
• โครงสร้างของโมเลกุลทีส
่ าคัญของสารทีจ่ ะมี
คุณสมบัตข
ิ องออกซินคือ ต้องประกอบด้วยประจุลบ
(Strong Negative Charge) ซึง่ เกิดจากการแตก
ตัวของกลุม
่ คาร์บอกซิล และประจุลบจะต้องอยูห
่ า่ ง
จากประจุบวก (Weaker Positive Charge)
บนวงแหวนด้วยระยะทางประมาณ 5.5 Angstrom
การสลายตัวของ IAA
1. Photo-oxidation IAA ทีอ
่ ยูใ่ นสภาพสารละลายจะ
สลายตัวได้เมือ
่ ได้รบั แสง การเกิด Photo-oxidation
ของ IAA จะถูกเร่งโดยการปรากฏของสารสีตาม
ธรรมชาติ หรือทีส
่ งั เคราะห์ได้ จึงอาจจะเป็ นไปได้วา่
การทีส
่ ารสีของพืชดูดซับพลังงานจากแสงแล้วทาให้เกิด
การออกซิไดซ์ IAA ซึง่ สารสีทเี่ กีย่ วข้อง คือ ไรโบฟลาวิน และไวโอลาแซนธิน (Riboflavin และ
้ เมือ
Violaxanthin) สารทีเ่ กิดขึน
่ IAA สลายตัวโดย
แสงคือ 3-methylene-2-oxindole และ
Indoleacetaldehyde
2. การออกซิไดซ์โดยเอนไซม์ (Enzymic Oxidation
of IAA) พืชหลายชนิดมีเอนไซม์เรียกว่า IAAoxidase ซึง่ จะคะตะไลท์ สลาย IAA ได้
คาร์บอนไดออกไซด์ และเป็ นปฏิกริ ยิ าทีใ่ ช้ออกซิเจน
IAA-oxidase ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้ คือ 3-methylene-2oxindole และถูกเมตาโบไลซ์ตอ
่ ไป เป็ น 3-methyl2-oxindole
3. รวมกับสารชนิดอืน
่ ในไซโตพลาสต์
4. เปลีย่ นเป็ นอนุพน
ั ธ์ชนิดอืน
่
1. Bioassay คือ การวัดปริมาณออกซินโดยใช้
ชิน
้ ส่วนของพืช เช่น โคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตหรือ
พืชใบเลี้ยงเดีย่ วอืน
่ ๆ แล้ววัดความโค้งของยอดโดย
การวางออกซินทีต
่ อ
้ งการวัดปริมาณลงบนส่วนของ
โคลีออพไทล์ซงึ่ ตัดยอดออกแล้ว มุมทีโ่ ค้งจะบอก
ปริมาณของออกซินได้โดยเปรียบเทียบจากเส้น
มาตรฐาน (Standard Curve)
• 2. การวัดจากคุณสมบัตท
ิ างฟิ สิกส์ สกัดจนเป็ นสาร
์ ล้วจึงใช้เครือ
บริสท
ุ ธิแ
่ ง Gas Chromatography
ร่วมกับ Mass Spectrometry ในการจาแนกและ
หาปริมาณ
• 3. การวัดโดยวิธเี คมีโดยให้ออกซินทาปฏิกริ ยิ ากับ
Salkowski's Reagent (acidified ferric
chloride) หรือใช้ Ehrllch's Reagent ซึง่ จะ
้ึ มา จากนัน
เกิดสีขน
้ วัดความเข้มของสีแล้ว
เปรียบเทียบกับเส้นมาตรฐาน
การเคลือ
่ นทีข
่ องออกซินในต้นพืช
• การเคลือ
่ นทีข
่ องออกซินจะเป็ นแบบโพลาไรซ์
(Polarized) คือ เคลือ
่ นทีไ่ ปตามยาวของลาต้นโดย
ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าทิศทางตรงกันข้าม
• การเคลือ
่ นทีข
่ องออกซินในส่วนทีอ
่ ยูเ่ หนือดิน จะเป็ น
แบบโพลาร์ เบสิพีตลั (Polar Basipetal) คือ จะ
เคลือ
่ นทีจ่ ากแหล่งผลิตทีย่ อดไปสูโ่ คนต้น
• การเคลือ
่ นทีข
่ องออกซินจะเกิดแบบเบสิพีตลั ก็ตอ
่ เมือ
่
ท่อนเนื้อเยือ
่ วางอยูใ่ นลักษณะปกติของลักษณะทาง
สัณฐานวิทยาเท่านัน
้
• ในกรณีของโคลีออพไทล์ของพืชนัน
้ ชี้ให้เห็นว่าออกซินเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นเซลล์ทก
ุ เซลล์ลงมาแต่ในกรณี ของลาต้นนัน
้ ยังไม่มห
ี ลักฐานชี้ให้เห็นเด่นชัดนัก แต่อาจจะ
เป็ นไปได้วา่ โปรแคมเบียม (Procambium) และ
แคมเบียม (Cambium)
• การเคลือ
่ นทีข
่ องออกซินในรากก็มลี กั ษณะเป็ นโพลาร์
แต่เป็ นแบบ อะโครพีตลั
• กลไกในการทางานของออกซินในระยะทีผ
่ า่ นมาจะ
มีแนวความคิดเป็ นสองอย่าง คือ แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้อง
กับผนังเซลล์เป็ นส่วนทีร่ บั ผลกระทบของออกซิน
และขยายตัว ส่วนอีกแนวคิดหนึ่งมุง่ ไปทีผ
่ ลของ
ออกซินต่อเมตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอค
ิ ในปัจจุบน
ั
ได้นาสองแนวคิดมาวิเคราะห์รว่ มกันเพือ
่ ศึกษา
กลไกในการทางานของออกซิน และยังศึกษาผลของ
ออกซินต่อเยือ
่ หุม
้ เซลล์ดว้ ย
• การขยายตัวของเซลล์จะสัมพันธ์กบั การเปลีย่ นแปลง
ปริมาณและกิจกรรมของเอนไซม์ โดยทีอ
่ อกซินจะมี
บทบาทต่อ กระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอค
ิ
โดยการศึกษาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ
่ ทีเ่ ป็ นไส้ของ
ต้นยาสูบ (Tobacco Pith) ซึง่ จะเจริญไปเป็ นกลุม
่
เนื้อเยือ
่ (Callus) นัน
้ พบว่ามีปริมาณของ RNA เพิม
่
้ ทัง้ นี้เพราะออกซินจะกระตุน
มากขึน
้ ให้มก
ี าร
้ แล้วส่งผลไปถึงการเจริญ
สังเคราะห์ RNA มากขึน
ของกลุม
่ เนื้อเยือ
่ ถ้าหากใช้สารระงับการสังเคราะห์
โปรตีนหรือ RNA ความสามารถในการกระตุน
้ การ
เจริญเติบโตของออกซินจะหายไป
• ออกซินมีผลต่อระดับเอนไซม์ โดยผ่านทางการ
สังเคราะห์ RNA นอกจากนัน
้ ออกซินยังมีผลกระทบ
ต่อกิจกรรมของเอนไซม์โดยตรง เช่น การกระตุน
้ ให้
เอนไซม์เกิดกิจกรรมหรือเปลีย่ นรูปมาอยูใ่ นรูปทีม
่ ี
กิจกรรมได้
• นักวิทยาศาสตร์ได้มงุ่ ความสนใจไปสูเ่ อนไซม์ที่
สัมพันธ์กบั กระบวนการขยายตัวของเซลล์ เซลล์พืช
จะมีผนังเซลล์อยูข
่ า้ งนอกสุด ดังนัน
้ การเจริญของ
้ ได้เมือ
เซลล์จะเกิดขึน
่ คุณสมบัตข
ิ องผนังเซลล์
เปลีย่ นไปในทางทีก
่ อ
่ ให้เกิดการขยายตัวของ
โปรโตพลาสต์
• เซลล์พืชทุกชนิดทีผ
่ า่ นขัน
้ ตอนของเนื้อเยือ่ เจริญ
มาแล้วจะผ่านขัน
้ ตอนการเจริญเติบโต 2 ขัน
้
้
คือ การแบ่งเซลล์และการขยายตัวแวคคิวโอขึน
ภายในเซลล์ (Vacuolation)
• การขยายตัวของเซลล์นน
้ ั ไม่เพียงแต่ผนังเซลล์ยด
ื
ตัวเท่านัน
้ แต่ยงั มีการเพิม
่ ความหนาของผนังเซลล์
เพราะมีสารใหม่ ๆ ไปเกาะด้วย
• นักวิทยาศาสตร์ได้นาเอาโคลีออพไทล์หรือลาต้นที่
ไม่ได้รบั แสงไปแช่ลงในสภาพทีม
่ ี pH ประมาณ 3
ปรากฏว่าโคลีออพไทล์และลาต้นสามารถยืดตัวได้
และเรียกปรากฏการณ์ นี้วา่ "Acid Growth Effect"
ซึง่ ให้ผลเหมือนกับการให้ออกซินแก่พืช การ
ทดลองนี้ได้นาไปสูก
่ ารศึกษาทีแ
่ สดงว่าออกซิน
กระตุน
้ การปลดปล่อย H+ หรือโปรตอนจาก
เนื้อเยือ
่ ทาให้ pH ของผนังเซลล์ตา่ ลง
ซึง่
การปลดปล่อย H+ นี้ตอ
้ งใช้พลังงานจากการหายใจ
ด้วย สมมุตฐิ านเกีย่ วกับ "Proton-Pump" นี้ คาด
ว่าเกิดในเยือ
่ หุม
้ เซลล์
• การเจริญของเซลล์ตอ
้ งการ RNA และโปรตีน
ในช่วงทีเ่ ซลล์ยด
ื ตัว เพราะในการยืดตัวของเซลล์นน
้ั
ผนังเซลล์ไม่ได้บางลงไป แต่ยงั คงหนาเท่าเดิมหรือ
้ ดังนัน
้
หนาขึน
้ จึงต้องมีการสร้างผนังเซลล์เพิม
่ ขึน
ด้วย ในการสร้างผนังเซลล์นน
้ ั ต้องใช้เอนไซม์และ
RNA pH ตา่ มีผลต่อการเปลีย่ นคุณสมบัตข
ิ อง
ผนังเซลล์ในแง่ทวี่ า่ แขนทีเ่ กาะกันของผนังเซลล์นน
้ั
อาจจะถูกทาลายในสภาพที่ pH ตา่ หรืออาจจะเป็ น
pH ทีเ่ หมาะสมสาหรับเอนไซม์ ทีจ่ ะทาให้ผนังเซลล์
เปลีย่ นไป
การตอบสนองของพืชต่อออกซิน
1. การตอบสนองในระดับเซลล์ออกซินทาให้เกิด
การขยายตัวของเซลล์ (Cell enlargement)
2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทัง้ ต้น
2.1 เกีย่ วข้องกับการตอบสนองของพืชต่อแสง
(Phototropism) Geotropism ดังได้กล่าวมาแล้ว
2.2 การทีต
่ ายอดข่มไม่ให้ตาข้าง
เจริญเติบโต (Apical Dominance)
2.3 การติดผล เช่น กรณี ของมะเขือเทศ ออกซินใน
รูปของ 4 CPA จะเร่งให้เกิดผลแบบ Pathenocarpic
และในเงาะถ้าใช้ NAA 4.5 เปอร์เซ็นต์ จะเร่งการเจริญ
ของเกสรตัวผูท
้ าให้สามารถผสมกับเกสรตัวเมียได้
ในดอกทีไ่ ด้รบั NAA เกสรตัวเมียจะไม่เจริญเพราะ
ได้รบั NAA ทีม
่ ค
ี วามเข้มข้นสูงเกินไป แต่เกสรตัวผูย้ งั
้
เจริญได้ ทาให้การติดผลเกิดมากขึน
2.4 ป้ องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยัง้ ไม่ให้
้ มา เช่น การใช้ 2,4-D
เกิด Abcission layer ขึน
ป้ องกันผลส้มไม่ให้รว่ ง หรือ NAA สามารถป้ องกันการ
ร่วงของผลมะม่วง
2.5 ป้ องกันการร่วงของใบ
2.6 ในบางกรณี ออกซินสามารถทาให้สดั ส่วนของ
ดอกตัวเมีย และตัวผูเ้ ปลีย่ นไปโดยออกซินจะกระตุน
้
้
ให้มด
ี อกตัวเมียมากขึน
จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
• เมือ่ Kurosawa นักวิทยาศาสตร์ชาวญีป
่ น
ุ่ ศึกษาในต้นข้าว
ทีเ่ ป็ นโรค Bakanae หรือโรคข้าวตัวผู้ ซึง่ เกิดจากเชื้อรา
Gibberella fujikuroi หรือ Fusarium
moniliforme ซึง่ ทาให้ตน
้ ข้าวมีลกั ษณะสูงกว่าต้นข้าวปกติ
ทาให้ลม
้ ง่าย
• ความรูเ้ กีย่ วกับโครงสร้างและส่วนประกอบทางเคมีของจิบ
เบอเรลลินนัน
้ ได้รบั การศึกษาในปี 1954 โดยนักเคมีชาว
อังกฤษซึง่ สามารถแยกสารบริสท
ุ ธิจ์ ากอาหารเลี้ยงเชือ
้ รา
Gibberella fujikuroi และเรียกสารนี้วา่ กรดจิบเบอเรลลิค
(Gibberellic Acid)
• ในปัจจุบน
ั มีจบ
ิ เบอเรลลินซึง่ เป็ นชือ
่ เรียกทั่ว ๆ ไปของ
สารประกอบประเภทนี้ประมาณไม่น้อยกว่า 80 ชนิด ชือ
่ เรียก
สารประกอบชนิดนี้จะตัง้ ชือ
่ ดังนี้ คือ Gibberellins A1
(GA1), A2, A3 เป็ นต้น โดยทีก
่ รดจิบเบอเรลลิค คือ GA3
• GA ทุกชนิดจะมีโครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลเป็ น
Gibberellane Carbon Skeleton ซึง่ จะเหมือนกับกรดจิบ
เบอเรลลิค จะแตกต่างกันตรงจานวนและตาแหน่ งของกลุม
่ ทีเ่ ข้า
แทนทีใ่ นวงแหวนและระดับของความอิม
่ ตัวของวงแหวน A
GA ประกอบด้วยคาร์บอนประมาณ 19-20 อะตอม ซึง่ จะ
รวมกันเป็ นวงแหวน 4 หรือ 5 วงและจะต้องมีกลุม
่ คาร์บอกซิล อย่างน้อย 1 กลุม
่ โดยใช้ชือ
่ ย่อว่า GA
การสังเคราะห์จบ
ิ เบอเรลลิน
• การสังเคราะห์ GA
แสดงอยูใ่ นรูปที่ 12.3
โดยทีส
่ ารเริม
่ ต้นเป็ นกรดเมวาโลนิค (Mevalonic
Acid) เปลีย่ นไปตามวิถีจนเกิดเป็ นกรดคอรีโนอิค
(Kaurenoic Acid) แล้วจึงเปลีย่ นไปเป็ น GA ซึง่
วิถีในช่วงทีเ่ ปลีย่ นไปเป็ น GA ชนิดต่าง ๆ นี้ยงั ไม่
ทราบแน่ ชดั นัก สารชนิดแรกทีม
่ วี งแหวนของ
Gibberellane คือ อัลดีไฮด์ของ GA12
การสังเคราะห์จบ
ิ เบอเรลลิน
• ในปัจจุบน
ั มีสารชะงักการเจริญเติบโต
เช่น CCC หรือ Cycocel AM0-1618
Phosfon-D และ SADH หรือ Alar ซึง่ ใช้กน
ั มาก
ในการเกษตร สารเหล่านี้บางชนิดสามารถระงับ
กระบวนการสังเคราะห์จบ
ิ เบอเรลลินได้ เช่น AMO1618 สามารถระงับการสังเคราะห์จบ
ิ เบอเรลลินใน
อาหารสารอง (Endosperm) ของแตงกวาป่ า โดย
ระงับในช่วงการเปลีย่ น Geranylgeranyl
pyrophosphate ไปเป็ น Kaurene ในทานอง
เดียวกัน CCC สามารถระงับกระบวนการนี้ได้ดว้ ย
การสังเคราะห์จบ
ิ เบอเรลลิน
• ใบอ่อน ผลอ่อนและต้นอ่อนเป็ นส่วนทีส่ ร้าง GA
ของพืช รากพืชอาจจะสามารถสร้าง GA ได้บา้ ง
• GA ทีพ
่ บในปัจจุบน
ั จึงเป็ นสารธรรมชาติทง้ ั สิน
้
การสลายตัวของจิบเบอเรลลิน
• จิบเบอเรลลินมีกจิ กรรมทางสรีรวิทยาอยูไ่ ด้เป็ นระยะ
เวลานานในเนื้อเยือ
่ พืช
• จิบเบอเรลลินสามารถเปลีย่ นจากชนิดหนึ่งไปเป็ นจิบ
เบอเรลลินอีกชนิดหนึ่งได้ในเนื้อเยือ
่ พืช
• จิบเบอเรลลินในรูปของไกลโคไซด์ (Glycosides)
• กรดจิบเบอเรลลิค ซึง่ อยูใ่ นสภาพสารละลายถูกทา
ให้สลายตัวได้โดยใช้ Acid Hydrolysis ที่
อุณหภูมส
ิ งู และได้ผลิตภัณฑ์คอ
ื กรดจิบเบอเรลลีนิค (Gibberellenic Acid) และกรดจิบเบอริค
(Gibberic Acid)
การหาปริมาณจิบเบอเรลลิน
1. ใช้วธิ โี ครมาโตกราฟ เช่น GC หรือ
Gas Chromatograph และ Paper
Chromatograph
2. ใช้วธิ ี Bioassay โดยการทีจ่ บ
ิ เบอเรลลินสามารถ
ทาให้พืชแคระ (ข้าวโพดและถั่ว) เจริญเป็ นต้นปกติ
ได้ หรือโดยการทีจ่ บ
ิ เบอเรลลินสามารถป้ องกันการ
เกิดการเสือ
่ มสลาย (Senescence) หรือโดยหา
ปริมาณจิบเบอเรลลินจากการกระตุน
้ ให้เมล็ดข้าวบาร์เลย์สร้างเอนไซม์ แอลฟา อะมัยเลส ( amylase) ในอาหารสารอง
• จิบเบอเรลลินสามารถเคลือ
่ นย้ายหรือเคลือ
่ นทีใ่ นพืช
ได้ทง้ ั ทางเบสิพีตลั และอะโครพีตลั และการ
้ ทัง้ ใน
เคลือ
่ นทีไ่ ม่มโี พลาริตี้ การเคลือ
่ นย้ายเกิดขึน
ส่วนของท่ออาหารและท่อน้า
• จิบเบอเรลลินจากยอดอ่อนลงมาสูส
่ ว่ นล่างของลาต้น
นัน
้ ไม่ได้เกิดในท่อน้า ท่ออาหารเพราะส่วนของ
ยอดอ่อนเป็ นส่วนทีด
่ งึ อาหารและธาตุอาหารให้
เคลือ
่ นทีข
่ น
ึ้ ไปแบบอะโครพีตลั ดังนัน
้ จิบเบอเรลลิน
จึงไม่ได้เคลือ
่ นทีท
่ างท่ออาหารและยังไม่ทราบวิถี
การเคลือ
่ นทีแ
่ น่ ชดั
กลไกในการทางานของจิบเบอเรลลิน
• ระดับของกิจกรรมของเอนไซม์หลายชนิดมีผลกระทบ
จากปริมาณของจิบเบอเรลลิน เอนไซม์ซงึ่ มีกจิ กรรม
้ เมือ
เพิม
่ ขึน
่ ได้รบั จิบเบอเรลลิน คือ เอนไซม์ แอลฟา
และเบตา-อะมัยเลส ( และ -amylase) โปรตีเอส
(Protease) และไรโบนิวคลีเอส (Ribonuclease)
ซึง่ พบในเมล็ดข้าวบาร์เลย์ซงึ่ กาลังงอก
• ระดับกิจกรรมของเอนไซม์ซงึ่ ถูกควบคุมโดยจิบเบอเรลลิน ทากันมากในเอนไซม์ แอลฟา อะมัยเลส ใน
เมล็ดข้าวบาร์เลย์ ในเมล็ดข้าวบาร์เลย์ทแ
ี่ ห้งทีย่ งั ไม่
ดูดซับน้าจะไม่มเี อนไซม์แอลฟา อะมัยเลส ปรากฏอยู่
้ และปลดปล่อยออกมาจากชัน
เอนไซม์นี้จะปรากฏขึน
้
ของอะลีโรนของเมล็ด เป็ นการตอบสนองต่อจิบเบอเรลลินซึง่ สังเคราะห์จากต้นอ่อนทีก
่ าลังงอก เนื้อเยือ
่
ชัน
้ อะลีโรนซึง่ แยกจากเมล็ดทีไ่ ม่งอกจะมีกจิ กรรมของ
แอลฟา อะมัยเลส น้อยมาก
• จิบเบอเรลลินควบคุมกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลส
ผ่านทางการสังเคราะห์ RNA สารชะงักการ
สังเคราะห์ RNA เช่น แอคติโนมัยซิน-ดี
(Actinomycin-D) จะชะงักกระบวนการกระตุน
้
การสังเคราะห์ RNA 2-3 ชั่วโมง หลังจากเติมจิบ
เบอเรลลิน ในขณะทีส
่ ารชะงักการสังเคราะห์โปรตีน
เช่น ไซโคลเฮคซิไมด์ (Cycloheximide) จะระงับ
การปรากฏของกิจกรรมของแอลฟา อะมัยเลส
หลังจากช่วง "lag" เริม
่ ต้น
บทบาทของจิบเบอเรลลินทีม
่ ต
ี อ
่ พืช
1. กระตุน
้ การเจริญเติบโตของพืชทัง้ ต้น
2. กระตุน
้ การงอกของเมล็ดทีพ
่ กั ตัวและตาทีพ
่ กั ตัว
3. การแทงช่อดอก การออกดอกของพืชเกีย่ วข้องกับ
ปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุ และสภาพแวดล้อม
จิบเบอเรลลินสามารถแทนความต้องการวันยาวในพืช
บางชนิดได้ และยังสามารถทดแทนความต้องการ
อุณหภูมต
ิ า่ (Vernalization) ในพืชพวกกะหล่าปลี
และแครอท
4. จิบเบอเรลลิน สามารถกระตุน
้ การเคลือ
่ นทีข
่ องอาหาร
ในเซลล์สะสมอาหารหลังจากทีเ่ มล็ดงอกแล้ว
5. กระตุน
้ ให้เกิดผลแบบ Parthenocarpic ในพืชบาง
ชนิด เปลีย่ นรูปร่างของใบพืชบางชนิด เช่น English
Ivy และทาให้พืชพัฒนาการเพือ
่ ทนความเย็นได้
6. จิบเบอเรลลินมักเร่งให้เกิดดอกตัวผู้
ไซโตไคนิน (Cytokinins)
• 1920 Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิด
หนึ่งเกิดอยูใ่ นเนื้อเยือ
่ พืชและกระตุน
้ ให้เนื้อเยือ
่
พาเรนไคมาในหัวมันฝรั่งกลับกลายเป็ นเนื้อเยือ่
เจริญได้ ซึง่ แสดงว่าสารชนิดนี้สามารถกระตุน
้ ให้มี
การแบ่งเซลล์ ต่อมามีการพบว่าน้ามะพร้าวและ
เนื้อเยือ
่ ของหัวแครอทมีคณ
ุ สมบัตใิ นการกระตุน
้ การ
แบ่งเซลล์เช่นกัน
ไซโตไคนิน (Cytokinins)
• Skoog และ Steward ทาการทดลองใน
สหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความต้องการสิง่ ทีใ่ ช้ใน
การเจริญเติบโตของกลุม
่ ก้อนของเซลล์ (Callus)
ซึง่ เป็ นเซลล์ทแ
ี่ บ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ไม่มก
ี าร
้ ของ pith จากยาสูบ
เปลีย่ นแปลงทางคุณภาพเกิดขึน
และรากของแครอท
ไซโตไคนิน (Cytokinins)
• Miller ได้แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึง่ มีคณ
ุ สมบัติ
คล้ายคลึงแต่มป
ี ระสิทธิภาพดีกว่าอะดีนีน ซึง่ ได้จาก
การสลายตัวของ DNA ของสเปิ ร์มจากปลาแฮร์รงิ
สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl-amino) purine ซึง่ มี
สูตรโครงสร้างคล้ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้
สามารถกระตุน
้ ให้เกิดการแบ่งเซลล์โดยร่วมกับ
ออกซิน จึงได้รบั ชือ
่ ว่าไคเนติน (Kinetin)
• สารสังเคราะห์ทม
ี่ ก
ี จิ กรรมของไซโตไคนินสูงทีส่ ด
ุ
คือ เบนซิลอะดีนีน (Benzyladenine หรือ BA)
และเตตระไฮโดรไพรานีลเบนซิลอะดีนีน
(tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ
PBA)
• ไซโตไคนินทีเ่ กิดในธรรมชาติเป็ นสารประกอบ
พิวรีน ในปี 1964 Letham ได้แยกไซโต
ไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข้าวโพดหวาน และ
พบว่า เป็ นสาร 6-(4-hydroxy-3-methyl
but-2-enyl) aminopurine ซึง่ Letham ได้
ตัง้ ชือ
่ ว่า ซีเอติน (Zeatin)
• นับตัง้ แต่มก
ี ารแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอติน
แล้ว ก็มก
ี ารค้นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิดซึง่
ทุกชนิดเป็ นอนุพน
ั ธ์ของอะดีนีน คือ เป็ น 6substituted amino purines ซีเอตินเป็ นไซโตไคนินธรรมชาติซงึ่ มีประสิทธิภาพสูงทีส
่ ด
ุ
Non-purine Compounds with
Cytokinin-like Activity
ไซโตไคนิน
การสังเคราะห์ไซโตไคนิน
• การสังเคราะห์ไซโตไคนินต้นพืชเกิดโดยการ substitution
ของ side chian บนคาร์บอนอะตอมที6
่ ของอะดีนีน ซึง่
side chian ของไซไคนีนในสภาพธรรมชาติประกอบด้วย
คาร์บอน 5 อะตอม จึงเป็ นการชี้ให้เห็นว่าเกิดมาจากวิถก
ี าร
สังเคราะห์ไอโซพรีนอยด์ (Isopreoid) ต่อมาพบว่า กลุม
่ ของ
้ บน t-RNA ได้ และเมือ่ ใช้เมวาโลเนต
ไซโตไคนินเกิดขึน
(Mavalonate หรือ MVA) ทีม
่ ส
ี ารกัมมันตรังสีจะสามารถ
ไปรวมกับกลุม
่ อะดีนีนของ t-RNA เกิดเป็ นไดเมทธิลอัลลิล
(Dimethylallyl side chian) เกาะด้านข้าง ในเชื้อรา
Rhizopus นัน
้ Dimethylallyl adenine สามารถ
เปลีย่ นไปเป็ น Zeatin ได้ จึงคาดว่า Zeatin อาจจะเกิดจาก
ออกซิ-ไดซ์ Dimethylallal adenine
• พบไซโตไคนินมากในผลอ่อนและเมล็ด ในใบอ่อนและปลาย
รากซึง่ ไซโตไคนินอาจจะสังเคราะห์ทบ
ี่ ริเวณดังกล่าวหรือ
อาจจะเคลือ
่ นย้ายมาจากส่วนอืน
่ ๆ ในรากนัน
้ มีหลักฐานทีช
่ ี้
ชัดให้เห็นว่าไซโตไคนินสังเคราะห์ทบ
ี่ ริเวณนี้ได้เพราะเมือ่ มี
การตัดรากหรือลาต้น พบว่าของเหลวทีไ่ หลออกมาจากท่อน้า
้ มา ติดต่อกันถึง 4 วัน
จะปรากฏไซโตไคนินจากส่วนล่างขึน
ซึง่ อาจจะเป็ นไปได้วา่ ไซโตไคนินสังเคราะห์จากทีร่ ากแล้ว
ส่งไปยังส่วนอืน
่ ๆ โดยทางท่อน้า หลักฐานทีแ
่ สดงว่า
สังเคราะห์ทส
ี่ ว่ นอืน
่ ยังไม่พบและการเคลือ
่ นย้ายของไซโตไคนินจากส่วนอ่อน เช่น ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไม่ดแ
ี ละไม่มาก
การสลายตัวของไซโตไคนิน
• ไซโตไคนินสามารถถูกทาลายโดยการออกซิเดชั่น ทาให้
side chian อะดีนีน ติดตามด้วยการทางานของเอ็นไซม์
แซนทีออกซิเดส (Xanthine Oxidase) ซึง่ สามารถ
ออกซิไดซ์ พิวรีนเกิดเป็ นกรดยูรค
ิ (Uric Acid) และ
กลายเป็ นยูเรียไปในทีส่ ด
ุ อย่างไรก็ตามในใบพืชไซโตไคนิน
อาจจะถูกเปลีย่ นไปเป็ นกลูโคไซด์ โดยน้าตาลกลูโคสจะไป
เกาะกับตาแหน่ งที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเป็ น 7-กลูโคซีลไซโต
ไคนิน (7-glucosylcyto- kinins) หน้าทีข
่ องไซโตไคนิน
กลูโคไซด์ยงั ไม่ทราบแน่ ชดั นัก อาจจะเป็ น “detoxification”
ซึง่ ไม่เกีย่ วข้องกับกิจกรรมทางเมตาบอลิสม์หรืออาจจะเป็ น
รูปทีไ่ ซโตไคนินอาจจะถูกปลดปล่อยออกมาในบางสภาวะได้
จากการศึกษาโดยใช้ Radioactive BA พบว่าสามารถ
สลายตัวกลายเป็ นกรดยูรค
ิ แล้วอาจจะรวมกับ RNA ได้
การเคลือ
่ นทีข
่ องไซโตไคนิน
• ยังไม่มห
ี ลักฐานว่าเคลือ
่ นทีอ่ ย่างไรแน่ จากการทดลอง
ทราบว่าระบบรากเป็ นส่วนสาคัญในการส่งไซโตไคนิน
ไปยังใบ และป้ องกันการเสือ่ มสลายของใบก่อนระยะอัน
สมควรเป็ นหลักฐานทีส่ าคัญทีช
่ ี้ให้เห็นว่า ไซโตไคนินมี
การเคลือ
่ นทีข
่ น
ึ้ สูย่ อด
• ในทางตรงกันข้ามไซโตไคนินซึง่ พบทีผ
่ ลซึง่ กาลัง
เจริญเติบโตไม่เคลือ
่ นทีไ่ ปส่วนอืน
่ เลย ในทานอง
เดียวกันจากการศึกษากับการให้ไซโตไคนินจาก
ภายนอก เช่น ให้ไคเนติน พบว่าจะไม่เคลือ
่ นย้ายเป็ น
เวลานาน
• ในการให้ไซโตไคนินกับตาข้างเพือ
่ กาจัด Apical
dominance นัน
้ พบว่าไซโตไคนินจะไม่เคลือ
่ นทีเ่ ลย
เป็ นระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบว่า BA
สามารถเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นก้านใบและลักษณะแบบ Polar
เหมือนกับออกซิเจนในทุการศึกษาพบว่า ไซโตไคนินใน
ใบจะไม่เคลือ
่ นทีร่ วมทัง้ ในผลอ่อนด้วย ส่วนผลของราก
ในการควบคุมการเจริญเติบโตของส่วนเหนือดินอาจจะ
อธิบายได้ถงึ ไซโตไคนินทีเ่ คลือ
่ นทีใ่ นท่อน้า ซึง่ พบเสมอ
ในการทดลองว่าไซโตไคนินสามารถเคลือ
่ นทีจ่ ากส่วน
รากไปสูย่ อด แต่การเคลือ
่ นทีแ
่ บบ Polar ยังไม่เป็ นที่
ยืนยันการเคลือ
่ นทีข
่ องไซโตไคนินในพืชยังมีความ
ขัดแย้งกันอยูบ
่ า้ ง
การหาปริมาณของไซโตไคนิน
1. ใช้ Toobacco callus test
2. Leaf senescence test
• ไซโตไคนินทีเ่ กิดในธรรมชาติทง้ ั หมดเป็ นสารที่
เป็ นอะดีนีน มี side chain ซึง่ มีคาร์บอน 5 อะตอม
เกาะอยูท
่ ต
ี่ าแหน่ งที่ 6 ของแหวนอะดีนีน ซึง่ จาก
การศึกษาพบว่า เมือ
่ side chain ไม่เป็ นวงแหวน
จานวนคาร์บอนอะตอมทีเ่ หมาะสมทีส
่ ด
ุ คือ 5 อะตอม
การเพิม
่ หรือการลดขนาดของ side chain จะลด
กิจกรรมทางสรีรวิทยาของไซโตไคนินลง แต่ไม่ทาให้
กิจกรรมหมดไปการปรากฏของแขนแบบ double
้ ที่ side chain จะเพิม
bond ขึน
่ ประสิทธิภาพของไซ
้
โตไคนินให้มากขึน
กลไกการทางานของไซโตไคนิน
• ไซโตไคนินมีบทบาทสาคัญคือควบคุมการแบ่งเซลล์
และไซโตไคนินทีเ่ กิดในสภาพธรรมชาตินน
้ ั เป็ นอนุพันธุ์ของอะดีนีนทัง้ สิน
้ ดังนัน
้ งานวิจยั เกีย่ วกับกลไก
การทางานจึงมีแนวโน้มในความสัมพันธ์กบั กรดนิวคลีอค
ิ กลไกการทางานของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัด
เหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แต่ไซโตไคนิน
้
มีผลให้เกิดการสังเคราะห์ RNA และโปรตีนมากขึน
ในเซลล์พืช ผลการทดลองรายงานกล่าวว่า หลังจาก
ให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิม
่ ปริมาณของ
m-RNA , t-RNA และ r-RNA
• ไซโตไคนินอาจจะทางานโดยควบคุมกิจกรรมของ
เอ็นไซม์โดยตรงมากกว่าทีเ่ กีย่ วกับการสังเคราะห์
เอนไซม์ ไซโตไคนินมีอท
ิ ธิพลต่อเอนไซม์หลาย
ชนิด เช่น ไคเนส (Kinases) ทีใ่ ช้ในกระบวนการ
หายใจ นอกจากนัน
้ กิจกรรมของเอนไซม์ทใี่ ช้ใน
้
กระบวนการสังเคราะห์แสงก็เพิม
่ ขึน
ผลของไซโตไคนิน
1. กระตุน
้ ให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลีย่ นแปลงทาง
คุณภาพใน tissue culture โดยต้องใช้รว่ มกับ Auxin
ในการเลี้ยงเนื้อเยือ่ พืชนัน
้ หากฮอร์โมน ไซ-โตไคนินมา
กกว่าออกซินจะทาให้เนื้อเยือ่ นัน
้ เจริญเป็ น ตา ใบ และลา
้ กว่าไซโตไคนิน
ต้น แต่ถา้ หากสัดส่วนของออกซินมากขึน
้ มา การ differentiate
จะทาให้เนื้อเยือ่ นัน
้ สร้างรากขึน
ของตาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ จาก Callus จากส่วนของ
ลาต้นนัน
้ auxin จะระงับ และไซโตไคนินนัน
้ จะกระตุน
้
การเกิดและต้องมีความสมดุลระหว่างไซโตไคนินและ
ออกซินชิน
้ เนื้อเยือ่ จึงจะสร้างตาได้
ผลของไซโตไคนิน
2. ชะลอกระบวนการเสือ
่ มสลาย เช่น กรณีของใบที่
เจริญเต็มทีแ
่ ล้วถูกตัดออกจากต้น คลอโรฟิ ลล์
RNA และโปรตีนจะเริม
่ สลายตัวเร็วกว่าใบทีต
่ ด
ิ
อยูก
่ บั ต้น
3. ทาให้ตาข้างแตกออกมาหรือกาจัดลักษณะ
Apical Dominance ได้ การเพิม
่ ไซโตไคนิน
ให้กบั ตาข้างจะทาให้แตกออกมาเป็ นใบได้ ทัง้ นี้
เพราะตาข้างจะดึงอาหารมาจากส่วนอืน
่ ทาให้ตา
ข้างเจริญได้
ผลของไซโตไคนิน
4. ทาให้ใบเลี้ยงคลีข
่ ยายตัว
้ ซึง่ เป็ น
5.ทาให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึน
การเปลีย่ นแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง เช่น เมือ
่
Callus ได้รบั แสงและไซโตไคนิน Callus จะ
กลายเป็ นสีเขียว
6. ทาให้พืชทัง้ ต้นเจริญเติบโต
7.กระตุน
้ การงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
กรดแอบซิสค
ิ (Abscisic Acid)
หรือ ABA
• ในการศึกษาถึงการร่วงของใบ การพักตัวของตา
และเมล็ดในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1960 ชี้ให้เห็นว่า
เป็ นไปได้วา่ มีสารระงับการเจริญปรากฏอยูใ่ นต้น
พืช โครงสร้างของสารเคมีดงั กล่าวถูกค้นพบในปี
1965 ในผลและเมล็ดของฝ้ าย สารเคมีดงั กล่าว
ได้รบั การตัง้ ชือ
่ ว่า กรดแอบซิสค
ิ หรือ ABA และ
พบว่าเป็ นสารจาพวกเซสควิเทอร์พีนอยด์
กรดแอบซิสค
ิ (Abscisic Acid)
หรือ ABA
• โมเลกุลของ ABA ประกอบด้วย asymmetric carbon
atom จึงสามารถแสดงลักษณะของ optical isomerism ได้
อย่างไรก็ตามในสภาพธรรมชาติ ABA จะเกิดเพียงชนิด (+)
enantiomorph เท่านัน
้ ABA ยังแสดงลักษณะ geometric
isomerism ได้ดว้ ย side chain จะเป็ น trans รอบ ๆ
คาร์บอนตาแหน่ งที่ 5 เสมอ แต่โมเลกุลสามารถเป็ นได้ทง้ ั cisหรือ trans รอบๆคาร์บอนตาแหน่ งที2
่ ABA ส่วนใหญ่ทพ
ี่ บ
ในพืชจะเป็ น (+)-2-cis ABA แม้วา่ จะพบ (+)-2-trans ABA
บ้างแต่น้อยมาก ดังนัน
้ รูป (+)-2-cis ของ ABA จึงมัก
หมายถึง ABA ทั่วไป
• ABA ถูกแยกออกจากพืชหลายชนิดทัง้ แองจิโอสเปิ ร์มส์ จิมโน
สเปิ ร์มส์ เฟิ นและมอส
(Angiosperms,Gymnosperms,Ferns และ Mosses
การสังเคราะห์ ABA
• ABA เป็ นสารประกอบทีม
่ ค
ี าร์บอน 15 อะตอมและเป็ นเซสควิ
เทอร์พีนอยด์ ดังนัน
้ วิถก
ี ารสังเคราะห์จงึ ใช้วถ
ิ ข
ี องการสังเคราะห์
สารเทอร์พีนอยด์ โดยสังเคราะห์จากกรดเมวาโลนิคเปลีย่ นไปจน
เป็ นฟาร์นีซีล ไพโรฟอสเฟต (Farnaesyl pyrophosphate)
• ABA สังเคราะห์ในใบแก่และผลแก่ และจะถูกกระตุน
้ ให้
สังเคราะห์เมือ่ ขาดน้า โดยการสังเคราะห์เกิดในคลอโรพลาสต์
ดังนัน
้ ใบ ลาต้น และผลไม้สเี ขียวจึงสังเคราะห์ ABA ได้
นอกจากนัน
้ แหล่งอาหารสารองและรากของข้าวสาลีก็สามารถ
สังเคราะห์ ABA ได้ เมือ่ เกิดการสังเคราะห์ ABAแล้ว ABA จะ
เคลือ
่ นย้ายจากใบไปสูส
่ ว่ นอืน
่ ๆ เช่น ยอด และไประงับการเจริญ
ทีบ
่ ริเวณนัน
้ อาจจะกระตุน
้ ให้เกิดการพักตัวของตาในเมล็ด
อาจจะมีการสังเคราะห์ ABA ได้บา้ ง หรือ อาจจะเป็ น ABA ซึง่
ส่งจากใบ แต่ในเมล็ดมักจะมีปริมาณของ ABA อยูม
่ าก
การสังเคราะห์ ABA
้ ๆลงๆ ตามอัตรา
• ระดับ ABA ภายในต้นพืชมีปริมาณขึน
การเจริญพลังงานทีท
่ างานได้ของน้าในต้นพืช
• ในต้นพืชต้องมีการทาลาย ABA ด้วย แต่กลไกการทาลาย
ยังไม่ทราบแน่ ชดั นัก แต่พบว่าพบว่าถ้าให้ 14 C-ABA แก่
พืช ABA ดังกล่าวจะเปลีย่ นไปเป็ นกลูโคสเอสเตอร์ของ
ABA อย่างรวดเร็ว (Glucocose Ester) ซึง่ ค่อนข้างจะ
เสถียรในต้นพืชและยังมีกจิ กรรมคล้ายคลึงกับ ABA ส่วน
้ โดยเกิดไฮดรอกซีเลชั่น
การสลายตัวของ ABA นัน
้ เกิดขึน
และออกซินเดชั่นของกลุม
่ เมทธิลทีเ่ กาะอยูก
่ บั วงแหวน
การหาปริมาณ ABA
1. Bioassay
2. ใช้ Gas chromatograph
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและกิจกรรม
ของ ABA
• ทัง้ ABA ทีเ่ กิดตามธรรมชาติ (+) type
dextorotary และสังเคราะห์ (-) เป็ น optical
enantiomers กัน มีประสิทธิภาพต่อพืชเท่ากันแต่
2-cis geometric isomer เท่านัน
้ ทีม
่ ค
ี ณ
ุ สมบัติ
ของฮอร์โมน
การสลายตัวของ ABA
1.เมือ
่ ABA เปลีย่ นจากรูปของ cis ไปเป็ น trans
isomer ก็จะหมดคุณสมบัตใิ นการทาให้พืชตอบสนอง
ทางสรีรวิทยา
2. ถูกออกซิไดซ์กลายเป็ น Phaseic acid
3. เกิดเป็ นรูปทีร่ วมกับสารอืน
่ เช่น เกิด Glucose ester
4. เกิดเป็ นสารประกอบกลุม
่ Methyl ester ซึง่ อาจจะยัง
มีผลต่อการตอบสนองของพืชบ้าง แต่น้อยลงและไม่
กระตุน
้ ให้เกิดการปิ ดของปากใบ
กลไกในการทางานของ ABA
• เกีย่ วข้องกับการควบคุมเมตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอค
ิ
และการสังเคราะห์โปรตีน
• การปิ ดปากใบ ซึง่ เกิดภายในไม่กน
ี่ าทีทไี่ ด้รบ
ั ABA
นอกจากนัน
้ การยืดตัวของโคลีออพไทล์ทไี่ ด้รบั ออกซิน
จะหยุดชะงักภายใน 2-3 นาที
การเคลือ
่ นทีข
่ อง ABA
• เคลือ
่ นทีท
่ ก
ุ ทิศทางโดยไม่มโี พลารีตี้ แต่ราก ABA
อาจจะเคลือ
่ นทีใ่ นลักษณะเบสิพีตลั
ความสัมพันธ์ของ ABA กับการขาดน้า
• การขาดน้าทาให้เยือ
่ หุม
้ คลอโรพลาสต์มี
้ ส่งผลให้เกิดการรั่วไหลของ
Permeability เพิม
่ ขึน
ABA จากคลอโรพลาสต์ซงึ่ เป็ นบริเวณทีเ่ หมาะสม
ABA ของใบปกติ การลดปริมาณของ ABA ในคลอ
้
โรพลาสต์จะกระตุน
้ ให้มก
ี ารสังเคราะห์ ABA เพิม
่ ขึน
เมือ
่ พืชได้รบั น้าเยือ
่ หุม
้ คลอโรพลาสต์จะไม่ยอมให้
ABA รั่วไหลออกมา ทาให้การหยุดสังเคราะห์ ABA
ในคลอโรพลาสต์ ซึง่ เป็ น Feedback mechanism
• ABA กระตุน
้ ให้เกิดการปิ ดของปากใบได้เพราะ
ABA จะระงับการผ่านของ K+ เข้าสู่ Guard cell
และกระตุน
้ ให้ Matate รั่วไหลออกจาก Guard cell
และนอกจากนัน
้ ABA ยังระงับการแลกเปลีย่ นประจุ
H + และ K + ของ Guard cell ทาให้ปริมาณของ
K + และ Malate ของ Guard cell มีน้อย ทาให้คา่
้ น้าจึงไหลออกจาก Guard
Water potential สูงขึน
cell ทาให้ปากปิ ดได้
ผลของ ABA ต่อพืช
1. ลดการคายน้าโดยกระตุน
้ ให้ปากใบปิ ด
2. กระตุน
้ ให้เกิดการพักตัวของตา
3. การร่วงของใบและดอก เช่น ในฝ้ าย ผลแก่ที่
ร่วงเองจะมี ABA สูงมาก
4. เร่งกระบวนการเสือ
่ มสภาพของใบ
เอทธิลีน (Ethylene)
• เอทธิลีนเป็ นฮอร์โมนทีม
่ ส
ี ภาพเป็ นก๊าซซึง่ รูจ้ กั กันมา
นานแล้ว จากการบ่มผลไม้ ในปี 1934 ได้มก
ี าร
พิสจู น์ ให้เห็นว่าเอทธิลีนเป็ นก๊าซทีส
่ งั เคราะห์ขน
ึ้ โดย
พืช และสามารถเร่งกระบวนการสุกได้
การสังเคราะห์เอทธิลีน
• การสังเคราะห์เอทธิลีนเกิดโดยทีเ่ มทไธโอนีนจะ
เปลีย่ นไปเป็ น SAM (S-Adenosylmethionine)
แล้วเปลีย่ นต่อไปเป็ น ACC (1-aminocyclopropane1-carboxylic acid) แล้วจึงเปลีย
่ นเป็ นเอทธิลีน โดยที่
คาร์บอนอะตอมที่ 3 และ 4 ของเมทไธโอนีนจะ
กลายเป็ นคาร์บอนของเอทธิลน
ี
ในการสังเคราะห์นี้
จะให้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาด้วย
การ
สังเคราะห์ เอทธิลน
ี จะหยุดชะงักเมือ
่ บรรยากาศขาด
O2 นอกจากนัน
้ ยังมีสารระงับการสังเคราะห์เอทธิลีน
ชนิดอืน
่ ๆ อีก เช่น AVG (Aminoethoxy vinyl
glycine)
การสังเคราะห์ เอทธิลีน
• การสั ง เคราะห์ เ อทธิ ลี น เกิ ด โดยที่เ มทไธโอนี น จะเปลี่ ย นไปเป็ น
SAM(S-Adenosylmethionine) แล้ วเปลี่ยนต่ อไปเป็ น ACC (1aminocyclopropane-1-carboxylic acid) แล้ วจึงเปลี่ยนเป็ นเอทธิ
ลีน โดยที่คาร์ บอนอะตอมที่ 3 และ 4 ของเมทไธโอนีนจะ
กลายเป็ นคาร์ บอนของเอทธิลีน
ในการสังเคราะห์ นีจ้ ะให้ ก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ ออกมาด้ วย การสังเคราะห์ เอทธิลีนจะ
หยุดชะงักเมื่อบรรยากาศขาด O2 นอกจากนัน้ ยังมีสารระงับการ
สังเคราะห์ เอทธิลีนชนิดอื่นๆ อีก เช่ น AVG (Aminoethoxy vinyl
glycine)
• เอทธิลีนสามารถถูกทาลายให้ เป็ นเอทธิลีนออก
ไซด์ (Ethylene oxide) ใน Vicia faba แต่ กลไกในการทาลายนัน้ ยัง
ไม่ ทราบแน่ ชัดนัก
การหาปริมาณของเอทธิลีน
• การใช้คณ
ุ สมบัตท
ิ างฟิ สิกส์ของเอทธิลีน ซึง่ อาจจะวัด
โดย Gas Chromatograph
การเคลือ
่ นทีข
่ องเอทธิลีน
• เอทธิลีนจะไม่เคลือ
่ นทีใ่ นส่วนต่าง ๆ ของพืชใน
ปริมาณทีม
่ ากพอทีจ่ ะก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทาง
สรีรวิทยาได้ ทัง้ ๆ ทีเ่ อทธิลีนไม่มก
ี ารเคลือ
่ นทีใ่ นพืช
แต่พบว่าระดับของเอทธิลีนในส่วนหนึ่งของพืชจะ
ส่งผลให้เกิดการสังเคราะห์เอทธิลีนในส่วนอืน
่ ๆ ด้วย
เช่น ถ้ามีปริมาณของเอทธิลีนมากในส่วนของรากจะ
เกิดการกระตุน
้ ให้มก
ี ารเพิม
่ ระดับของเอทธิลีนทีย่ อด
ด้วย ซึง่ กลไกการกระตุน
้ นี้ยงั ไม่เข้าใจเด่นชัดนัก
เอทธิลีนอาจจะเคลือ
่ นทีผ
่ า่ นพืชในรูปของ ACC
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและคุณสมบัติ
ของเอทธิลีน
้ อยูก
คุณสมบัตข
ิ องเอทธิลีนจะขึน
่ บั ลักษณะต่อไปนี้
1.มีแขนแบบ double bond และไม่อม
ิ่ ตัว ซึง่
จะมีคณ
ุ สมบัตม
ิ ากกว่า single หรือ triple bond
้
2. คุณสมบัตจิ ะลดลงเมือ
่ โมเลกุลยาวขึน
3.แขนแบบ double bond จะต้องอยูต
่ ด
ิ กับ
คาร์บอนอะตอมสุดท้าย
4.คาร์บอนอะตอมสุดท้ายต้องไม่มป
ี ระจุบวก
กลไกการทางานของเอทธิลีน
• เอทธิลีนจะก่อให้เกิดผลต่อการเจริญเติบโตของ
พืช โดยการรวมกับ receptor site ซึง่ มีโลหะ
รวมอยู่ในโมเลกุลด้วย
และคาดว่าโลหะดัง
กล่าวคือทองแดงและ analogues ของเอทธิลีน
จะสามารถแข่งขันเข้ารวมกับ receptor site
และก่ อ ให้ เ กิ ด ผลคล้ า ยคลึ ง กับ ผลของเอทธิลี น
บริเวณทีเ่ อทธิลีนรวมกับ receptor site
กลไกการทางานของเอทธิลีน
• เอทธิลีนจะควบคุม RNA ให้สงั เคราะห์โปรตีน มี
เอนไซม์ ห ลายชนิ ด มี กิ จ กรรมเพิ่ ม ขึ้ น หลัง จากที่
ได้รบ
ั เอทธิลีนแล้ว เช่น เซลลูเลส (Cellulase)
เพอร์ออกซิเดส (Peroxidase) ฟี นี ลอะลานี น
แอมโมเนีย ไลเอส (Phenylalanine ammonia
lyase) และฟอสฟาเตส (Phosphatase)
กลไกการทางานของเอทธิลีน
• ผลของเอทธิลีนทีเ่ กิดอย่างรวดเร็วนัน
้
จะไม่
สามารถหยุดยัง้ ด้วย สารระงับการสร้าง RNA
หรือโปรตีน เช่น แอคติโนมัยซิน ดี และไซโค
เฮกซิไมด์
• การทีเ่ อทธิลีนละลายได้ดม
ี ากในไขมัน จึงคาดว่า
receptor site ก็อยูร่ ว่ มกับเยือ
่ หุม
้ เซลล์
ผลของเอทธิลีนต่อพืช
1. กระตุน
้ ให้ผลไม้สก
ุ
2. กระตุน
้ การเปลีย่ นแปลงทางคุณภาพ เช่น
้
กระตุน
้ ให้เกิด Abcission zone ขึน
3. กระตุน
้ ให้พืชออกจากการพักตัว
้ ในพืช
4. กระตุน
้ ให้เกิดดอกตัวเมียมากขึน
Dioecious
การใช้ Hormone และ Growth Regulation บางชนิด
ไม้ผล
สับปะรด
ยางพารา
Paclobutrazol
ชักนาการออกดอก
Ethephon
ออกดอก เปลีย่ นเพศการสุกของผลไม้
NAA
เปลีย่ นเพศ ลดการร่วงของดอกและผล
GA
ยืดช่อ เพิม
่ ขนาดของผล
IBA
เร่งราก
Ethepon
เร่งการออกดอก การสุกสม่าเสมอ
Ethepon
เร่งน้ายาง
NAA
เร่งการเลื้อยของเถา ลดการร่วงของ
ดอกและผล
GA
เพิม
่ ขนาด
พืชอืน
่ ๆ
The End
www.agri.cmu.ac.th/staff/faculty/danai