Document 7568662

Download Report

Transcript Document 7568662

โรคในระบบทางเดินหายใจ
• อาการของโรคในระบบทางเดินหายใจในสุ กรแบ่ งได้
เป็ น 3 ลักษณะ
• 1. อาการทีเ่ กิดขึน้ ในส่ วนจมูก
• 2. อาการปอดอักเสบ
• 3. อาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
โรคในระบบทางเดินหายใจ
โรคโพรงจมูกอักเสบ (Atrophic rhinitis)
สาเหตุ
• สาเหตุปฐมภูมิ เกิดจากแบคทีเรี ยชนิด Bordetella
bronchiseptica
ทาให้เกิดการอักเสบของเยือ่ บุจมูกและทาให้เกิดสาเหตุทุติย
ภูมิตามมา
• สาเหตุทุติยภูมิ เกิดจากแบคทีเรี ยชนิด Pasteurella multocida
type D จะรวมกลุ่มกัน ผลิตท๊อกซินที่ซ้ าเติมทาให้โพรงจมูก
อักเสบอย่างรุ นแรง
โรคโพรงจมูกอักเสบ
การติดต่ อ
1. การไอหรื อจาม
2. จากแม่สู่ลูก (เฉพาะสาเหตุปฐมภูมิ)
• การติดเชื้อจะติดตั้งแต่สุกรยังอายุนอ้ ย
ซึ่งอาจจะพบว่าสัตว์ไอหรื อจามบ้าง
แต่อาการจมูกบิดเบี้ยวจะปรากฏ
ให้เห็นเฉพาะในช่วงขุน
โรคโพรงจมูกอักเสบ
อาการ
• ท๊อกซินของเชื้อจะทาลายกระดูกทาให้เกิดการฝ่ อของ
กระดูกเทอร์บิเนตซึ่ งอยูใ่ นโพรงจมูก ทาให้เกิดการบิดเบี้ยว
ของหน้า เนื่องจากหน้าหดสั้นลงและแนวสันจมูกเบี้ยว ใน
บางรายพบร่ องน้ าตาอุดตัน ทาให้มีรอยคราบน้ าตาผสมกับ
สิ่ งสกปรกเป็ นทางสี ดา อาจมีเลือดกาเดาไหลออกทางจมูก
โรคโพรงจมูกอักเสบ
ร่ องน้ าตาอุดตัน
โรคโพรงจมูกอักเสบ
เลือดกาเดา
ภาพแสดงระดับการถูกทาลายของ
โพรงจมูกจากน้อย
มาก
การวินิจฉัยโรค
• จากการอาการทางคลีนิค หรื อใช้ swab จากจมูกมาเพาะเชื้อ ถ้ามี
อาการไม่ชดั เจน
โรคโพรงจมูกอักเสบ
การรักษา ควบคุมและป้องกันโรค
1. ให้ยาผสมอาหาร เช่น ยาซัลฟา หรื ออ๊อกซีเตตร้าซัยคลิน
หรื อ
ไทโลซิน นาน 1 เดือนในช่วงสุ ดท้ายของการตั้งท้อง หรื อ
ตลอด 2 w ก่อนและหลังคลอด
2. ให้วคั ซีนรวมระหว่างเชื้อทั้งสองชนิด ก่อนนาเข้าฝูงและให้
ซ้ า
ทุกครั้งก่อนคลอดประมาณ 1-2 สัปดาห์
3. แก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมและการจัดการ
โรคโพรงจมูกอักเสบ
โรคที่เกี่ยวกับปอดบวมและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
(Pneumonia and pleuritis)
• เป็ นปัญหาสาคัญอันดับ 2 รองจากโรคในระบบทางเดินอาหาร
• ทาให้อตั ราการตายสู ง ส่ วนสัตว์ที่รอดตายจะมีการสู ญเสี ยจาก FCR
และ ADG ต่ากว่าปกติ
สาเหตุโน้ มนา
• การเป็ นโรคพยาธิ
• ปัญหาท้องร่ วงในช่วงก่อนและหลังหย่านม
• การเลี้ยงสุ กรหนาแน่นเกินไป
สาเหตุโน้ มนาของโรคในระบบหายใจ (ต่อ)
• การนาสุ กรจากหลายแหล่งมารวมกัน
• การเลี้ยงสุ กรขนาดแตกต่างปะปนกัน
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
9
สาเหตุโน้ มนาของโรคในระบบหายใจ (ต่อ)
• สภาพโรงเรื อนไม่เหมาะสมและการระบายอากาศไม่ดี
• อุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนแตกต่างมากเกิน
12 C
• ปัญหาข้ออักเสบหรื อฝี หนอง
• คุณภาพอาหารต่า esp มีโปรตีนต่า
• พันธุ์:ยอร์คเชียร์จะไวต่อการเป็ นโรค
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
10
ภาพเปรี ยบเทียบระหว่างปอดปกติและปอดเน่า
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
11
ถุงลมพอง (lung emphysema)
ปอดบวม (lung edema)
โรคปอดและเยือ่ หุม้ ปอดอักเสบ
12
โรคพาสเจอร์ เรลโลซีส1 (Pasteurellosis)
• โรคปอดบวมชนิดนี้มีอุบตั ิการมากที่สุดในแหล่งที่มีการ
เลี้ยงสุ กรเป็ นอุตสาหกรรมและค่อนข้างแออัด และพบโรค
มากที่สุดในสุ กรหลังหย่านม
• มักพบการเกิดโรคในลักษณะแทรกซ้อนหลังจากมีการติด
เชื้ออื่นๆ มาก่อน
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อแบคทีเรี ยชนิดกรัมลบ Pasteurella multocida
ซึ่งสามารถสร้างทอกซินได้
โรคปอดและเยือ่ หุม้ ปอดอักเสบ
13
โรคพาสเจอร์ เรลโลซีส1 (Pasteurellosis)
อาการ
• พบทั้งแบบเฉี ยบพลัน ซึ่ งทาให้โลหิ ตเป็ นพิษ cyanosis
และแบบเรื้ อรัง
• ทาให้ปอดและหลอดลมอักเสบแบบเป็ นหนอง มี
ไฟบริ นร่ วมด้วย มักพบที่ปอดลอนหน้าและลอนข้าง
หัวใจรวมทั้งที่ปอดลอนท้ายในรายที่เป็ นโรคอย่าง
รุ นแรง
โรคปอดและเยือ่ หุม้ ปอดอักเสบ
14
โรคเอนซูติกนิวโมเนีย 2 (Enzootic pneumonia)
• มีการติดเชื้อจากแม่สุกรที่เป็ นพาหะไปสู่ ลูกสุ กรดูดนม
ตั้งแต่แรกเกิด แต่มกั พบโรคมากที่สุดในสุ กร 2-4 w
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อ Mycoplasma hyopneumoniae ซึ่งเป็ นจุลชีพ
จาเพาะต้องอยูท่ ี่ทางเดินหายใจ ไม่ทนต่อสภาพสิ่ ง
แวดล้อมภายนอกร่ างกาย
โรคปอดและเยือ่ หุม้ ปอดอักเสบ
15
อาการและวิการ
• มักพบสัตว์ป่วยเป็ นแบบเรื้ อรังมากกว่าแบบเฉี ยบพลัน สัตว์
จะแสดงอาการไอ หอบ esp ตอนเช้าและตอนให้อาหาร
อัตราการป่ วย 30-60% อัตราการตาย 10%
• พบวิการที่ปอด apical lobe และ
cardiac lobe มีลกั ษณะแข็งตัว
ที่ส่วนปลาย มีสีลูกพลัมหรื อสี เทา
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
16
โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ 3
(Pleuropneumonia)
• เกิดได้ในสุ กรทุกช่วงอายุ (esp 2-6 m)
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อ Actinobacillus pleuropneumoniae ซึ่งเป็ น
แบคทีเรี ยชนิดกรัมลบ รู ปแท่ง สามารถสร้าง endotoxin
ไม่ทนต่อสภาพสิ่ งแวดล้อมภายนอกร่ างกาย
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
17
อาการและวิการ
• ไข้สูง ปอดและเยือ่ หุม้ ปอดอักเสบอย่างรุ นแรง
(มีไฟบริ นยึดปอดติดกับผนังช่องอก)
มักเป็ นแบบเฉี ยบพลัน ระยะเวลาการ
เกิดโรคสั้น (18 ชม-5 วัน) สุ กรจะ
หายใจลาบากมาก อาจพบน้ าลายและ
น้ ามูกเป็ นฟองปนเลือด cyanosis
สัตว์มกั จะช็อคตาย
• พบวิการที่ปอด apical lobe และ cardiac lobe
มีลกั ษณะแข็ง สี แดงเข้ม
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
18
4
โรคไข้ หวัดใหญ่ ในสุกร
(Swine influenza)
• เป็ นโรคหวัดที่มีการระบาดอย่างรวดเร็ ว (explosive
outbreak) มีการติดต่อกันในระหว่างสุ กร เป็ ด ไก่งวง
และคน
• อัตราการป่ วย ~100% แต่อตั ราการตายต่า ~1%
• โรคเกิดได้ในสุ กรทุกช่วงอายุ esp สุ กรเล็ก และทุก
ฤดูกาล esp ฤดูหนาว
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
19
4
โรคไข้ หวัดใหญ่ ในสุกร
(Swine influenza)
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่ งมีหลายแอนติเจนิกไทป์ คล้าย
ไข้หวัดในคน
• เชื้ออยูน่ อกร่ างกายสิ่ งมีชีวติ ได้ประมาณ 2 w แต่ถูกทาลายได้
ง่ายด้วยน้ ายาฆ่าเชื้อทัว่ ไป
การติดต่ อ
• ไอ จาม สัมผัส transplacenta
• interspecies transmission: สุ กร เป็ ด ไก่งวง และคน
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
20
อาการ
• ไข้ ไอ จาม หายใจลาบากและเปลี้ยหมดแรง แต่อาการเหล่านี้
จะหายเป็ นปกติอย่างรวดเร็ ว
• โรคจะรุ นแรงมากขึ้นเมื่อเป็ นร่ วมกับโรคอื่น เช่น พยาธิใน
ปอด พิษสุ นขั บ้าเทียม โรคปอดอื่นๆ ทาให้อตั ราการตายสู ง
• โรคจะคล้ายคลึงกับเอนซูติกนิวโมเนีย แต่ระบาดอย่าง
รวดเร็ วกว่า และโรคจะสงบเร็ วกว่าถ้าไม่มีโรคอื่นแทรก
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
21
โรคพิษสุนัขบ้ าเทียม (Aujesky’s disease)
• เป็ นโรคที่ทาให้เกิดความสู ญเสี ยในอุตสาหกรรมการเลี้ยง
สุ กรอย่างมาก เนื่องจากสุ กรที่เป็ นโรคจะเป็ นพาหะเป็ นปี
• ทำให้ เกิดควำมสูญเสียในลูกสุกร และเป็ นโรคที่กดระบบ
ภูมิคุม้ กัน ทาให้มีโรคอื่นๆ แทรกได้ง่าย
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
22
โรคพิษสุนัขบ้ าเทียม (Aujesky’s disease)
สาเหตุ
• เกิดจากเฮอร์ปีส์ไวรัส ซึ่งเป็ นเฮอร์ ปี ส์ชนิดเดียวที่มี host
range กว้างมาก เช่น โค แกะ สุ นขั และแมว
• ไวรัสนี้ค่อนข้างคงทนต่อสภาพแวดล้อม แต่ถูกทาลายได้
ด้วย sodium hypochlorite, phenol และ formaldehyde
การติดต่ อ
• contact, transplacenta, transcolostrum, semen และพาหะ
esp สุ กรซึ่งรอดตายแต่อมโรค
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
23
อาการ
• ในสุ กรเกี่ยวข้องกับระบบประสาท ระบบหายใจและระบบ
การสื บพันธุ์ ส่ วนในสัตว์อื่นทาให้สมองอักเสบและมีอาการ
คันอย่างรุ นแรงมาก
ลูกสุกรดูดนม
• จะมีอตั ราการตายสู งสุ ด อาการป่ วยคือ หายใจลาบาก มีไข้
น้ าลายไหลมาก อาเจียน ท้องร่ วง ตัวสัน่ ซึม เดินโซเซ
ตากระตุก นอนชักแบบตะกุยเท้า ตายใน 1-2 วัน
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
24
Porcine Respiratory and Reproductive Syndrome
(PRRS or Blue ear)
• เริ่ มมีการระบาดครั้งแรกในโลก เมื่อปี 2530 แถบ USA และ Canada
แต่ปัจจุบนั พบได้ทวั่ โลก
สาเหตุ
• เกิดจากเชื้อไวรัส
การติดต่ อ
• จากการสัมผัสสิ่ งขับถ่ายของสุ กรที่มีการติดเชื้อ เช่น อุจจาระ
ปัสสาวะ น้ ามูก อสุ จิ นอกจากนี้เชื้อยังสามารถไปตามกระแสลมได้
ในระยะไม่นอ้ ยกว่า 3 กม.
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
25
อาการ
• แม่สุกรอุม้ ท้องจะแท้ง esp ระยะท้ายของการตั้งท้อง (110 d)
หรื อคลอดเป็ นมัมมี่ หรื อลูกตายหลังคลอด
• ลูกสุ กรและสุ กรขุนแสดงอาการคล้ายหวัด
• ระยะเวลาแสดงอาการนาน 2.5-4 เดือน
การติดต่ อ
• จากการสัมผัสสิ่ งขับถ่ายของสุ กรที่มีการติดเชื้อ เช่น อุจจาระ
ปัสสาวะ น้ ามูก อสุ จิ นอกจากนี้เชื้อยังสามารถไปตาม
กระแสลมได้ในระยะไม่นอ้ ยกว่า 3 กม.
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
26
การวินิจฉัยโรค
• เจาะเลือดตรวจหาระดับภูมิคุม้ โรคในแม่สุกรที่แท้ง และ
ลูกที่ป่วย
• ส่ งซากที่แท้งเพื่อเพาะเชื้อ
การควบคุมโรค
• ในแหล่งที่มีการระบาดของโรคจาเป็ นต้องใช้วคั ซี นซึ่งเป็ น
ชนิดเชื้อเป็ น
กลุ่มอาการปอดอักเสบ
27