“การละเล่ นพืน้ บ้ าน” จากการละเล่ น...สู่ การแสดง รศ.นุชนาฏ ดีเจริญ ความเป็ นมาของการละเล่ นพืน้ บ้ าน การละเล่ นพืน้ บ้ าน มาจากคา 2 คา คือ คาว่

Download Report

Transcript “การละเล่ นพืน้ บ้ าน” จากการละเล่ น...สู่ การแสดง รศ.นุชนาฏ ดีเจริญ ความเป็ นมาของการละเล่ นพืน้ บ้ าน การละเล่ นพืน้ บ้ าน มาจากคา 2 คา คือ คาว่

“การละเล่ นพืน้ บ้ าน”
จากการละเล่ น...สู่ การแสดง
รศ.นุชนาฏ ดีเจริญ
1
ความเป็ นมาของการละเล่ นพืน้ บ้ าน
การละเล่ นพืน้ บ้ าน มาจากคา 2 คา คือ คาว่ า “การละเล่ น” และ
คาว่ า “พืน้ บ้ าน” ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานให้
ความหมายของทั้งสองคาไว้ ดงั นี้
การละเล่ น น. มหรสพต่ าง ๆ การแสดงต่ าง ๆ เพือ่ ความสนุกสนาน
รื่นเริง
 พืน
้ บ้ าน ว. เฉพาะถิ่น เช่ น ของพืน้ บ้ าน, มักใช้ เข้ าคู่กบั คาพืน้ เมือง
เป็ นพืน้ บ้ านพืน้ เมือง

2
เพราะฉะนั้นการละเล่นพืน้ บ้ าน หมายถึง
มหรสพหรือการแสดงเพือ่ ความสนุกสนานรื่นเริง
เฉพาะถิ่น ซึ่งจะแตกต่ างกันไปตามสภาพความเป็ นอยู่
ขนบธรรมเนียมประเพณีค่านิยมและความเชื่อของสั งคม
นั้น ๆ
3
ประวัติความเป็ นมาของการละเล่น
จากการศึกษาเรื่องการละเล่ นพืน้ บ้ าน ไม่ สามารถลาดับ
ให้ เห็นพัฒนาการตามกาลเวลาได้ อย่ างชัดเจน เนื่องจาก
การละเล่ นส่ วนใหญ่ เป็ นกระบวนการถ่ ายทอดด้ วยการ
ปฏิบัติ จึงขาดการบันทึกเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรทีแ่ น่ นอน
แต่ อย่ างไรก็ดี จากงานวิจัยเรื่อง การละเล่ นพืน้ บ้ านของ
จังหวัดพิษณุโลกของ พูนพงษ์ งามเกษม (2524. หน้ า
6-14) กล่ าวถึงความเป็ นมาและวิวฒ
ั นาการของการละเล่ น
ไว้ สรุปได้ ดงั นี้
4
1. การละเล่นที่มีมาแต่ สมัยดึกดาบรรพ์ ก่อน
ประวัติศาสตร์ น่ าจะได้ แก่ “แตกโพละ”
โดยเอาดินเหนียวปั้นเป็ นรู ปกระทงเล็ก ๆ แต่ ใน
ส่ วนทีเ่ ป็ นก้น มีลกั ษณะบางทีส่ ุ ดทีจ่ ะบางได้
แล้วขว้ างลงไปบนพืน้ ให้ แรง ก็จะมีเสี ยงแตก
ดังโพละ
5
2. สมัยสุ โขทัย การละเล่ นทีป่ รากฏในตารับท้ าวศรีจุฬาลักษณ์
กล่ าวไว้ ว่า “นรชาติชายหญิงก็เล่ นพนันทายบุตรในครรภ์ ว่ า
จะเป็ นหญิงหรือชาย เล่ นโคชนโคเกวียน คนแล่ น รอบ
แล่ นธง คลีช้างคลีม้า คลีคนเป็ นตามนักขัตฤกษ์
บ้ างก็เล่ นระเบงปี่ ระเบงกลอง ฟ้อนแพน ขับพิณ
ดุริยางค์ บรรเลงเพลงร้ อง หนัง รา ระบาโคม ทุก
วันคืนมิได้ ขาด เอิกเกริกไปด้ วยสาเนียงนิกรประชา
เสสรวล สารวล เล่ นและซื้อขายจ่ ายแจกจนราษราตรี
มัชฌิมยามครึ่ง จึ่งค่ อยสงัดเสี ยง”
6
3. สมัยอยุธยา มีการละเล่นทีป่ รากฏใน
วรรณคดีเป็ นจานวนมาก เช่ น
ในบทละครเรื่องมโนห์ รา กล่ าวไว้ ว่า
7
เมื่อนั้น
ว่ าเจ้ าโฉมตรีมโนห์ รา
เล่ นให้ สบายคลายทุกข์
จะเล่ นได้ ขนั กันสั กที
มาเราจะวิง่ ลิงชิงเสา
ข้ างนีเ้ ป็ นแดนเจ้ านี้
ถ้ าใคร่ วงิ่ เร็วไปข้ างหน้ า
เอาบัวเป็ นเสาเข้ าชิงกัน
โฉมนวลพระพีศ่ รีจุลา
มาเราจะเล่ นกระไรดี
เล่ นได้ สนุกในวันนี้
เล่ นกันให้ สนุกจริงจริง
ข้ างโน้ นนะเจ้ าเป็ นแดนพี่
เล่ นลิงชิงเสาเหมือนกัน
ถ้ าใครวิง่ ช้ าอยู่หลังนั้น
ขยิกไล่ ผายผันกันไปมา
8
เมือ่ นั้น
บอกเจ้ าโฉมตรู มโนราห์
บัวผุดสุ ดท้ องน้ องเป็ นปลา
จะขึงมือกันไว้ เป็ นสายอวน
ออกหน้ าทีใ่ ครจับตัวไว้
โฉมนวลพระพีศ่ รีจุลา
มาเราจะเล่ นปลาลงอวน
ลอยล่ องท่ องมาหน้ าเจ้ านวล
ดักท่ าหน้ านวลเจ้ าล่ องมา
คุมตัวเอาไว้ ว่าได้ ปลา...
9
ในวรรณคดีเรื่อง สมุทรโฆษคาฉันท์ กล่ าวไว้ ว่า
จะเล่ นหัวล้ าน
จะจาชนกัน
ทั้งสองใครแข็ง
ทั้งสองหัวบ้ าน
คในสวภา
คือหน้ าผากผา
จะดูหัวข้ อ
10
หัวล้ านทั้งสองชนอด
กระเกลือกกระกรั้วไทกลัว
ชนได้ ไก่ ข้าซื้อวัว
ทั้งเหย้ าแลเรือนดูคนั
ฦาชาปรากฏ
ผสมเป็ นครอบครัว
จะเล่ นเถลิงแรด ระเริงผันแผด
จะเล่ นวัวเกวียน ระเบียนชาวนา
แลเล่ นลเวง
รริบนอผลา
ประกวดกันมา
11
จะเล่ นจระเข้ พันฦกจริงเอ
เรียกท้ าวพันวัง
แลอ้ ายนักเลง
บันล่ มสารวล
อันเขาลือเพรง
จะเปนเลบง
จะเล่ นวัวเกวียน ระเบียนชาวนา
ประกวดกันมา
แลเล่ นเลวง
จึงวางวัวเกวียนกลางแปลง
ชาวนาเริงแรง
ก็แล่ นเข้ าเคียงเรียงรัน
12
เสี ยงกระดึงพรวนเสี ยงพัดกัน ตีนวัวคือกังหัน
แล่ นลนตลบปบไป
กึกก้ องเสี ยงเกวียนแกว่ งไกล
ธีลเี วียนไว
ตระลบตระเลิศเวหาส
วัวอ้ ายฦานามผังผาด
แล่ นลา้ ลมลาส
ชนะแก่ อ้ายกะแชงเปิ ง
มีไชยในสนามดูเถกิง
ชาวนาสาเริง
แลเสี ยงระรื่นครื้นเครง
13
4. สมัยรัตนโกสิ นทร์ มีการละเล่ นที่ปรากฏใน
วรรณคดีจานวนมาก เช่ น ในบทละครเรื่องอิเหนา
บัดนั้น
บรรดาที่ตามเสด็จไป
บ้ างตั้งวงลงเตะตะกร้ อเล่ น
ปะเตะโต้ คู่กนั สั นทัด
ทีห่ นุ่มหนุ่มคะนองเล่ นจ้ องเต
บ้ างราอย่ างชาวมลายู
เสนากิดาหยันน้ อยใหญ่
อยู่ในหน้ าวิหารลานวัด
เพลาเย็นแดดล่ มลมสงัด
บ้ างถนัดเข่ าเคาะเป็ นหน้ าดู
สรวลเสเฮฮาขึน้ ขีค่ ู่
เป็ นเหล่ าเหล่ าเล่ นอยู่บนคิรี
14
จึงตรัสแก่อุกากรรมอนุชา
เราจึงจะชวนกันชนไก่เล่น
พวกเจ้ าเขาก็เคยชานาญ
สองฝ่ ายให้ นา้ สรรพเสร็จ
ดีดมือถือไก่เข้ าไปวาง
เจ้ ามาวันนีท้ ี่สาราญ
ให้ เป็ นผาสุ กเกษมสานต์
ในการเล่นไก่แต่ ไรมา
เสี ยเคราะห์ ทาเคล็ดเด็ดหาง
ในการสั งเวียงสนามพลัน...
ครั้นถึงจึงตั้งจอลง
ให้ จุดใต้ ใส่ เพลิงเอาแผงบัง
แล้วตั้งโห่ สามทีตีฆ้องกลาง
เชิดรูปอิเหนาขึน้ ทันใด
จาเพาะตรงช่ องแกลแดหนัง
จะวายังถวายให้ คลายใจ
กึกก้องสนั่นหวั่นไหว
ประสั นตาพากย์ ไปทันที...
15
บ้ างลงท่ าโกนจุกสนุกสนาน มีงานการกึกก้ องทุกแห่ งหน
บ้ างตั้งบ่ อนปลากัดนัดไก่ ชน
ทรหดอดทนเป็ นเดิมพัน
บ้ างเล่ นวิง่ วัวคนโคระแทะ
ชนแพะแกะกระบือคู่ขนั ...
จากโครงนิราศเมืองสุ พรรณ กล่ าวถึงการละเล่ นดังนี้
สวนหลวงแลสะล่ างล้ วน
เคยเสด็จวังหวังมา
ข้ าหลวงเล่ นปิ ดตา
เห็นแต่ พลับกับสร้ อย
พฤกษา
เมื่อน้ อย
ต้ องอยู่ โยงเอย
ซ่ อนซุ้มคลุมโปง
16
ตะวันเย็นเห็นพระพร้ อม
ตีปะเตะตะกร้ อตรง
สมภารท่ านก็ลง
เข่ าค่ างต่ างอวดโอ้
ล้ อมวง
คู่ใต้
เล่ นสนุก ขลุกแฮ
อกให้ ใจหาย
หยุดตะกร้ อล่ อไก่ ต้งั
ผ้ าพาดบาตรเหล็กพนัน
ไก่ แพ้แร่ ขบฟัน
เจ้ าวัดตั้นเรือตั้ง
ตีอนั
เหน็บรั้ง
ฟัดอุย ทุบเอย
แต่ งเหล้ นเย็นใจ...
17
จากวรรณคดีเรื่องขุนช้ างขุนแผน กล่าวถึงการละเล่นไว้ ดังนี้
...แล้วนางหุงข้ าวต้ มแกง
นางเล่นทาบุญให้ ทาน
ขุนช้ างนั้นเป็ นสมภารมอญ
พลายแก้วนั้นเป็ นสมภารไทย
สวดมนต์ ฉันเสร็จสาเร็จแล้ว
เราเล่นเป็ นผัวเมียกันเถิดรา
กวาดทรายจัดแจงเป็ นรั้วบ้ าน
ไปนิมนต์ สมภารมาเร็วไว
ไม่ พกั โกนหัวกล้อนสวดมนต์ ใหญ่
จัดแจงแต่ งให้ ยกมา
ฝ่ ายข้ างพลายแก้ วอุตริว่า
ขุนช้ างร้ องว่ าข้ าชอบใจ...
...เมือ่ กลางวันยังเห็นเล่นไม้ หึ่ง
แล้วว่ าเจ้ าเล่าก็ช่างนั่งมึนมิ
กับอ้ ายอึง่ อีดูกลูกอีปิ
ว่ าแล้วซิอย่าให้ ลงไปดิน...
18
...ถึงท่ าผลัดผ้ าด้ วยยินดี
อีมาอีมีอสี ี เสี ยด
ใครจะซ่ อนใครจะหาก็ว่าไป
ปะเปิ งเลิงแมวแอวออก
จาเพาะลงอีโคกโก้งโค้ ง
อีมาอีมีอสี ี เสี ยด
อีรักหนักท้ องไม่ ว่องไว
ลงนา้ ซึ่งก็สีซึ่งเหงื่อไคล
อีเขียดชักชวนกันเล่นไล่
เปรียบหนีเปรียบไล่ให้ อยู่โยง
นอกช่ อนนางอันกระโต้ งโห่ ง
กระโดดโยงลงนา้ ดาผุดไป
อีเขียดดาหนีอโี คกไล่
อีโคกกระโชกใกล้เข้ าทุกที...
19
การเล่นของไทยที่ปรากฏเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรดังกล่าวข้ างต้ นมีดังนี้
1. การเล่น “ แตกโพละ”
2. การเล่นพนันทายบุตรในครรภ์
3. การเล่นโคชนเกวียน
4. ระเบงปี่
5. เล่นกลอง
6. ขับพิณ
7. ลิงชิงเสา
8. ปลาลงอวน
9. หัวล้านชนกัน
10. ชนแรด
11. แข่ งวัวเกวียน
12. จระเข้ กดั กัน
20
13. ตะกร้ อ
14. ขี่ม้าส่ งเมือง
15. จ้ องเต
16. ชนไก่
17. วิง่ วัว
18. หนังตะลุง
19. ปิ ดตา
20. ตีไก่
21. หม้ อข้ าวหม้ อแกง
22. เล่นผัวเมีย
23. เล่นทาบุญให้ ทาน
24. เล่นไม้ หึ่ง
25. เล่นไล่จับ
21
ประเภทการละเล่ น
จากรายงานการวิจัยเรื่อง การอนุรักษ์
สุ นทรียศาสตร์ ในเพลงและการละเล่ นพืน้ บ้ าน :
ศึกษากรณี 3 หมู่บ้านในเขนจังหวัดเลย ของ พูน
พงษ์ งามเกษม และคณะ (2534 : 11-13) กล่ าวถึง
ประเภทของการละเล่นไว้ ดังนี้
22
1. ประเภทการเล่นทาย
2. ประเภทการนับ
3. ประเภทการกระโดดเชือก
4. ประเภทซ่ อนหา
5. ประเภทการปรับ
6. ประเภทไล่ – ไล่จับ
7. ประเภทลูกบอล
8. ประเภทคัดออก
9. ประเภทกระโดดข้ าม
10. ประเภทตลก
11. ประเภทกระดาษดินสอ
12. ประเภทความแม่ นยา
13. ประเภทเกีย้ ว
14. ประเภทไม้
15. ประเภทสาหรับเด็กเล็ก
16. ประเภทร้ องเพลง, ระบา
23
ผอบ โปษกฤษณะและคณะ ทำกำรวิจยั เรื่ อง
กำรละเล่นของเด็กภำคกลำงได้จดั แบ่งกำรละเล่นตำม
สถำนที่ดงั นี้
1.
2.
3.
4.
การละเล่ นกลางแจ้ ง
การละเล่ นกลางแจ้ ง หรือ ในร่ ม
การละเล่ นในร่ ม
การละเล่ นเลียนแบบผู้ใหญ่
24
จริ นทร์ ธำนีรัตน์ แบ่งเกมออกเป็ น 6 ประเภท ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การเล่ นเป็ นนิยาย และ การเลียนแบบ
การเล่ นเบ็ดเตล็ด
การเล่ นที่ส่งเสริมสมรรถภาพตนเอง
เกมนาไปสู่ กฬ
ี าใหญ่
เกมการเคลือ่ นไหว และการเล่ นประกอบเพลง
เกมนันทนาการ
25
สมปรำชญ์ อัมมะพันธ์ ได้ทำกำรวิจยั เรื่ องกำร
เล่นของเด็กปักษ์ใต้และได้จดั แบ่งประเภทกำรเล่น
ออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้
1. การเล่นประเภทมีกติกา
2. การเล่นประเภทไม่ มีกติกา
26
พูนพงษ์ งำมเกษม และคณะ ได้ทำกำรวิจยั เรื่ อง
กำรละเล่นพื้นบ้ำนของจังหวัดพิษณุโลก และได้แบ่ง
ประเภทของกำรละเล่นตำมโอกำสที่เล่น ออกเป็ น 3
ประเภท ดังนี้
1. การละเล่ นที่เล่นตามเทศกาล
2. การละเล่ นที่ไม่ จากัดโอกาสเทศกาล
3. การละเล่ นที่เล่นทั้งในเทศกาล และโอกาสทั่วไป
27
สุ รสิ งห์ สารวม ฉิมพะเนาว์ แยกประเภท
การละเล่ นตามทีป่ รากฏในคาสู่ ขวัญนาค ของเก่ า
ออกเป็ น 7 ประเภท ดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การเล่ นไทย เลียนแบบการทางานของผู้ใหญ่
การเล่ นไทย เลียนแบบการประกอบอาชีพของผู้ใหญ่
การเล่ นไทย เลียนแบบวิธีการหาอาหารของผู้ใหญ่ สมัยก่ อน
การเล่ นเพือ่ ความเพลิดเพลินของตนเองตามลาพัง
การเล่ นกับเพือ่ นๆ โดยมีกฎกติกา
การแบบมีกฎกติกา
การเล่ นแข่ งขันแบบมีการพนัน
28
การละเล่ นพืน้ บ้ านจังหวัดพิษณุโลก
จากผลการวิจัย เรื่อง การละเล่นพืน้ บ้ านของ
จังหวัดพิษณุโลกโดย พูนพงษ์ งามเกษม และ
คณะ (2524 : หน้ า 45 – 48) ได้ ข้อมูล
การละเล่นพืน้ บ้ านของจังหวัดพิษณุโลก 71
ชนิด ดังนี้
29
1. กะต้ อ
2. ขนมครก
3. แข่ งเรือบก
4. คล้ องช้ าง
5. งูกนิ หาง
6. ช่ วงชัย
7. ชักเย่ อ
8. ตี่
9. เตย
10. ทายไก่
30
11. นางกระบอก
12. นางกะลา
13. นางกัก
14. นางไก่
15. นางข้ อง
16. นางขาว
17. นางควาย
18. นางจู้
19. นางช้ าง
20. นางด้ ง
31
21. นางตาล
22. นางปุ้ งกี่
23. นางแมว
24. นางสาก
25. นางสุ่ ม
26. นางอึง่
27. ปิ ดตาจับกัน
28. โป่ งกอด
29. โป่ งจับ
30. ผีพ่งุ ใต้
32
31. เพลงกรุ่น
32. เพลงเกีย่ วข้ าว
33. เพลงเจ้ าพราหมณ์
34. เพลงฉ่ อย
35. เพลงพวงมาลัย
36. เพลงร่ อน
37. มอญซ่ อนไก่
38. มอญซ่ อนผ้ า
39. แม่ ศรี
40. ไม้ ฮึม
33
41. โยงฟาง
42. ระบาก้ านเชา
43. ระบาฉะอ้ อนเจ้ าหล่ อนราสวย
44. ระบาดอกบัวไทย
45. ระบาตกปลักตกแปลง
46. ระบานามปี
47. ระบาบ้ านไร่
48. ระบาปลาตะเพียนทอง
49. ระบามาลัยลอย
50.ระบาหีบน้ อยลอยมา
34
51. รัดทะทา
52. ราวง
53. รีรีข้าวสาร
54. ลาวันลา
55. ลิเก
56. ลิเกกลางดง
57. ลิงลม
58. ลูกไก่
59. ลูกช่ วง
60. สะบ้ า
35
61. เสื อกินวัว
62. หม้ อข้ าวหม้ อแกง
63. หาบข้ าวไปนา
64. หึ่ม
65. แห่ นาค ( เด็ก )
66. แห่ นาค ( ผู้ใหญ่ )
67. อีกาฟักไข่
68. อีโบ๊ ะ
69. อีหมอบ
70. ฮินเลเล
71. ฮีกอด
36
และได้ จัดประเภทการละเล่ นไว้ เป็ น 3 ประเภท คือ
1. การละเล่ นตามเทศกาล เป็ นการละเล่ นที่นิยมเล่ นกันใน
เทศกาลใดเทศกาลหนึ่งมีการละเล่ นทั้งหมด 50 ชนิด ดังนี้
1.1 หน้ าเกีย่ วข้ าว ได้ แก่ เพลงเกีย่ วข้ าว เพลงโยงฟาง
1.2 เทศกาลลอยกระทงได้ แก่ เพลงร่ อน
ระบาดอกบัวไทย
37
1.3 หน้ าตรุษสงกรานต์ ได้ แก่ กะต้ อ ช่ วงชัย ชักเย่ อ ทายไก่ นาง
กระบอก นางกะลา นางกัก นางไก่ นางข้ อง นางควาย นางจู้ นางช้ าง
นางด้ ง นางตาล นางปุ้ งกี่ นางแมว นางสาก นางสุ่ ม นางอึง่ โป่ งกอด
ผีพ่งุ ใต้ พวงมาลัย เพลงกรุ่น เพลงเจ้ าพราหมณ์ เพลงฉ่ อย มอญซ่ อนผ้ า
แม่ ศรี ไม้ ฮึม ระบาก้านเชา ระบานามปี ระบาฉะอ้อนเจ้ าหล่อนราสวย
ระบาตกปลักตกแปลง ระบาบ้ านไร่
รัดทะทา ราวงลาวันลา ลิเกกลาง
ดง ลิงลม ลูกช่ วง สะบ้ า
เสื อกินวัว ฮินเลเล
1.4 เทศกาลเลีย้ งผีบ้าน ในเดือน 6 มีการเล่นคล้องช้ าง
1.5 เทศกาลเดือนสิ บ มีการเล่นแข่ งเรือบก
1.6 เทศกาลเข้ าพรรษา มีการเล่น แห่ นาค
38
2. การละเล่ นที่ไม่ จากัดโอกาสเทศกาล คือการละเล่ นที่
เล่ นกันได้ ทวั่ ไปไม่ เฉพาะเจาะจงเล่ นในโอกาสทีเ่ ป็ นงาน
เทศกาลอย่ างประเภทแรก การละเล่ นประเภทนีม้ ี 16 ชนิด
ส่ วนใหญ่ เป็ นการละเล่ นของเด็ก ได้ แก่
ขนมครก
งูกนิ หาง
ตี่
เตย
ปิ ดตาจับกัน
โป่ งจับ
39
รีรีข้าวสาร
ลิเก
หม้ อข้ าวหม้ อแกง
หาบข้ าวไปนา
หึ่ม
แห่ นาค
อีกาฟักไข่
อีโบ๊ ะ
อีหมอบ
อีกอด
40
3. การละเล่นทีเ่ ล่นทั้งในเทศกาลและโอกาสทั่วไป คือการละเล่ นทีจ่ ะ
เล่นทั้งในเวลาปกติ และในเทศกาลต่ างๆ มี 5 ชนิด ได้ แก่
ช่ วงชัย
ชักเย่ อ
โป่ งกอด
มอญซ่ อนผ้ า
เสื อกินวัว
41
จากการละเล่ น...สู่ การแสดง
การละเล่ นพืน้ บ้ านทีก่ ล่ าวถึงข้ างต้ น มีหลายชนิดที่มีลกั ษณะ
ของการแสดง อยู่ในตัวการละเล่ น เช่ น การเล่ นเพลง ราระบา
และลิเก ในขณะเดียวกันการละเล่ น บางชนิดสามารถนามา
ประดิษฐ์ เป็ นการแสดง โดยคงเอกลักษณ์ ของการเล่ นเอาไว้
แล้ วผู้ประดิษฐ์ นาเอกลักษณ์ น้นั มาประดิษฐ์ การแสดงขึน้ ใหม่
เช่ น การแสดงชุดอิน้ คอน ของ นายวรวิทย์ ทองเนือ้ อ่ อน
เจ้ าหน้ าทีท่ านุบารุงศิลปวัฒนธรรม
คณะมนุษยศาสตร์ ม.
นเรศวร
42
ในการพิจารณาว่ าสิ่ งไหนเป็ นการละเล่นหรือ
การแสดงนั้น มีวธิ ีพจิ ารณาง่ าย ๆ คือ
1. เมือ่ ใดทีเ่ ป็ นการแสดงจะมีการแบ่ งผู้ดู และ ผู้
แสดงออก อย่ างเด่ นชัด
2. เมือ่ เป็ นการแสดงจะมีการแต่ งกายทีง่ ดงามประณีต
มากกว่ าการละเล่ น
43
คุณค่ าของการละเล่ นพืน้ บ้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ส่ งเสริมการออกกาลังกาย มีนา้ ใจนักกีฬา เคารพกฎ รู้ แพ้ – ชนะ
ฝึ กความอดทน มานะพยายาม
ฝึ กความสามัคคี มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ
ฝึ กสมอง ไหวพริบ การแก้ ปัญหา การสั งเกต
สร้ างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และกล้ าแสดงออก
สร้ างบุคลิกภาพทั้งกายและจิตใจ
ฯลฯ
44
บรรณานุกรม
พูนพงษ์ งามเกษม และคณะ. รายงานการวิจัยการละเล่นพืน้ บ้ านของ
จ.พิษณุโลก ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก มศว พิษณุโลก,
2524.
_________. รายงานการวิจัย การอนุรักษ์ สุนทรียศาสตร์ ใน
เพลงและการละเล่นพืน้ บ้ าน : ศึกษาธรณี 3 หมู่บ้านในจังหวัดเลย.
มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2534.
พันธลักษณ์ . กำรละเล่นพื้นบ้ำน 4 ภำค. กรุงเทพฯ: บ้ านหนังสื อ 19, 2548.
http: www //it. nayoktech.ac.th/
http: www.chilolthai.org/thaiplayr/thaiplay. htm
45