คองสิ บสี่ เฮือนสาม นา้ สี่ ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คองสิ บ สี่ คื อ เแนวทางที่ ใ ช้ ปฏิ บั ติ ใ.

Download Report

Transcript คองสิ บสี่ เฮือนสาม นา้ สี่ ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คองสิ บ สี่ คื อ เแนวทางที่ ใ ช้ ปฏิ บั ติ ใ.

คองสิ บสี่
เฮือนสาม นา้ สี่
ผศ.ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คองสิ บ สี่ คื อ เแนวทางที่ ใ ช้ ปฏิ บั ติ ใ นการ
ดาเนินชี วิต ภายใต้ การอยู่ร่วมกันสั งคม ระหว่ าง
ผู้ ป กครองกั บ ผู้ อ ยู่ ใ ต้ ป กครอง หรื อ ระหว่ า งคน
ธรรมดาปฏิบัติต่อกัน
เป็ นจารีตอันดีงามของท้ องถิ่นและบ้ า นเมือง
เพื่อให้ เกิดความสงบเงียบร้ อย และความผาสุ กแก่
สั ง ค ม โ ด ย ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ห ลั ก ธ ร ร ม ใ น
พระพุทธศาสนา ซึ่งประกอบด้ วยหลักปฏิบัติ 14
ประการ ดังต่ อไปนี้
คอง 14 สาหรับบุคคลทัว่ ไป
ข้ อ 1 เมื่อเข้ ากล้ าหมากเป็ นฮวง เป็ นหมากแล้ว
อย่ าฟ้ าวกินก่ อน ให้ เอาทาบุญให้ ทาน แก่ ผู้มีศีลกิน
ก่ อน แล้ วจงกินภายลุน
ข้ อ 2 อย่ าโลภตาส่ าย อย่ าจ่ ายเงินแดง แปงเงิน
คว้ าง และอย่ ากล่ าวคาหยาบซ้ ากล้ าแข็งต่ อกัน
ข้ อ 3 ให้ พร้ อมกันเฮ็ดฮั้วต้ าย และกาแพงอ้ อม
วัดวา อาฮาม และบ้ านเฮือน
ข้ อ 4 เมื่อเจ้ าขึน้ เฮือนนั้น ให้ สว่ ายกล้างตีน
เสี ยก่อนจิ่งขึน้
ข้ อ 5 เมื่อเถิงวันศีล 7-8-14-15 คา่ ให้ สมมา
(ขอขมา) ก้อนเส้ า แม่ คไี ฟ หัวคันได และ ประตูที่
ตนอาศัยซู่คา่ คืน
ข้ อ 6 เมื่อจักนอนให้ เอานา้ ล้างตีนก่อน จั่ง
นอน
ข้ อ 7 เถิงวันศี ล ให้ เอาดอกไม้ ธูปเทียน สมมาผัวแห่ ง
ตน และเถิงวันอุโบสถให้ แต่ งดอกไม้ ธูปเทียนไปเคนพระสั งฆ
เจ้ า
ข้ อ 8 เถิงวันศี ลดับ ศี ลเพ็งมานั้น ให้ นิมนต์ พระสั งฆ
เจ้ ามาสู ตรมุงคุลเฮือน และทาบุญ ใส่ บาตรถวายทาน
ข้ อ 9 เมื่อพระภิกขุมาบิณฑบาตรนั้น อย่ าให้ เพิ่นคอย
ถ้ า และเวลาใส่ บาตรก็อย่ าซุ นบาตร และยามใส่ บาตรนั้นอย่ าใส่
เกิบ (รองเท้ า) กั้งฮ่ มผ้ าปกหัว อุ้มหลาน หรือถือเครื่อง ศาสตรา
อาวุธ
ข้ อ 10 เมือ่ พระภิกขุเข้ าปริวาสกรรม ซาฮะเบือ้ งต้ น
แล้ ว ให้ แต่ งขันดอกไม้ ธูปเทียนและ เครื่องอรรถบริขารไป
ถวายท่ าน
ข้ อ 11 เมือ่ เห็นพระภิกขุสังฆะเจ้ ากายมา ให้ นั่งลง
ยอมือไหว้ ก่อน และจั่งค่ อยเจรจา
ข้ อ 12 อย่ าเหยียบยา่ เงาเจ้ าพระภิกขุผ้ ูมศี ีลบริสุทธิ์
ข้ อ 13 อย่ า เอาอาหารเงื่ อ นกิน ตนแล้ ว ไป
ทานให้ แก่ พระสั งฆะเจ้ า และเอาไว้ ให้ ผัวกิน จะ
กายเป็ นบาปได้ อันใดในชาติหน้ าก็มีแต่ แนวบ่ ดี
ข้ อ 14 อย่ าเสพเมถุน กามคุณ ในวันศีล วัน
เข้ าวัสสา ออกพรรษา วันมหาสงกรานต์ และวัด
เกิดของตน ถ้ า เฮ็ ดได้ ลูกได้ หลานมา สิ บอกยาก
สอนยาก
สาหรับพระภิกษุสงฆ์
ข้ อ 1 ให้ พระสั งฆะเจ้ าสู ตรเฮียน ธรรมคาสอน
ของพระพุทธเจ้ าและฮักษาศีล 227 อย่ าให้ ขาด
ข้ อ 2 ให้ บัวละบัตรกูฏิวิหาร ปั ดตากวาดถู อย่ า
ให้ วดั เศร้ าหมอง
ข้ อ 3 ให้ ปฏิบัติจัดทาไปตามศรั ทธา ชาวบ้ าน
นิมนต์ มีการทาบุญให้ ทาน บวชหด เป็ นต้ น
ข้ อ 4 เถิงเดือนแปด ให้ เข้ าวัสสา ตลอดสาม
เดือน จนถึงเดือนสิ บเอ็ดแฮมคา่ หนึ่ง แต่ เดือน สิ บเอ็ด
แฮมคา่ หนึ่งไปหาเดือนสิ บสองเพ็ง ให้ ฮับผ้ ากฐิ นฮักษา
คองผ้ าเถิงสี่ เดือน
ข้ อ 5 ออกวัสสาแล้ ว ฤดูเหมันตะ (ฤดูหนาว)
ภิกขุสังฆะเจ้ าเข้ าปริวาสกรรม ฯลฯ
ข้ อ 6 ให้ เที่ยวไปบิณฑบาตร ตามบ้ านน้ อยบ้ าน
ใหญ่ อย่ าให้ ขาด
ข้ อ 7 ให้ สูตร ภาวนา ทุกคืน วัน อย่ าขาด
ข้ อ 8 เถิงวันศีลดับ ศีลเพ็ง ให้ ประชุมกันทา
อุโบสถ สั งฆกรรม อย่ าขาด
ข้ อ 9 เถิงเทศกาลปี ใหม่ ทายกไหว้ ขี่วอ แห่
นา้ ไปสรงนา้ พระพุทธรู ป พระธาตุเจดีย์
ข้ อ 10 สั งกาช ปี ใหม่ พระเจ้ ามหา
ชี วิ ต ไ ห ว้ พ ร ะ ใ ห้ ส ร ง น้ า ใ น วั น
พระราชวัง และบาสี พระสั งฆะเจ้ า
ข้ อ 11 ศรัทธาชาวบ้ านนิมนต์ สิ่งใด
อันบ่ ผดิ คองวินัย ก็ให้ ปฏิบัติตาม
ข้ อ 12 เป็ นสมณะให้ พ ร้ อ มกันสร้ า งวัด วา
อาราม พระธาตุเจดีย์
ข้ อ 13 ให้ รับทานของทายก คือ สั งฆภัต ร
สลากภัตร เป็ นต้ น
ข้ อ 14 พระเจ้ ามหาชี วิต เสนาข้ าราชการ มี
ศรั ท ธานิ มนต์ มาประชุ มกันในสิ ม แห่ ง ใด แห่ ง
หนึ่ ง ในวัน เดื อ นสิ บ เอ็ด เพ็ง เป็ นกาละอัน ใหญ่
อย่ าได้ ขัดขืน
สาหรับผู้ปกครอง
1. แต่ งตั้งผู้มีความซื่อสั ตย์ ให้ เป็ นข้ าราชการ
2. สามัคคีพร้ อมเพียงกัน ให้ หมั่นประชุมกัน อย่ าให้ ขาด
3. ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรม 10 ประการ คือ บริ จาคทาน
(ทาน) มีศีล 5 และอศีล 8 (ศีล) เสี ยสละทรัพย์ สร้ างวัดวา
อาราม (บริ จาค) มีใจเที่ยงตรง (อาชวะ) อ่ อนโยนไม่ แข็ง
กระด้ า ง(มั ท ทวะ) ช าระความชั่ ว จากจิ ต ใจ (ตบะ) ไม่
โหดร้ ายโกรธา (อักโกธะ) ไม่ เบียดเบียน (อวิหิงสา) อดทน
ต่ อเหตุการณ์ ต่างๆ (ขันติ) ไม่ ยินดียินร้ ายในสิ่ งที่มีความ
ยินดียนิ ร้ าย (อวิโรธนะ)
4. วันขึน้ ปี ใหม่ นิมนต์ พระสงฆ์ มาเจริ ญพระ
พุทธมนต์ (สู ดมุงคุณ) และนาเอาน้าอบน้าหอมมาสรง
พระภิกษุสงฆ์
5. ถึ ง วัน ขึ้น ปี ใหม่ ให้ เ สนาอ ามาตย์ น าเครื่ อ ง
บรรณาการน้าอบน้าหอมมามุทาภิเสกหดสรงเจ้ ามหา
ชีวติ ของตน
6. ถึ ง เดื อ นหก นิ ม นต์ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ม าเจริ ญ
พระพุทธมนต์ ถอื นา้ พิพฒ
ั น์ สัจจาต่ อเจ้ ามหาชีวติ
7. ถึงเดือนเจ็ดให้ เลีย้ งมเหศักดิ์หลักเมือง บูชาเทวดาทั้ง 4
คือ ท้ าวธตรัฐ ท้ างวิรูฬหก ท้ าววิรูปักข ท้ าวกุเวร
8. ถึงเดือนแปด นิมนต์ พระภิกษุสงฆ์ มาซาฮะบะเบิก
หว่ านแฮ่ หว่ านซาย ตอกหลักบ้ านหลักเมือง
9. ถึงเดือนเก้ า ป่ าวเตือนให้ ประชาชนเฮ็ดบุญข้ าวประดับ
ดิน อุทศิ บุญกุศลแก่ ญาติพนี่ ้ องทีล่ ่ วงลับ
10. ถึงเดือนสิ บ ป่ าวเตือนให้ ประชาชนเฮ็ดบุญข้ าวสาก
อุทศิ บุญกุศลแก่ ญาติพนี่ ้ องทีล่ ่ วงลับไปแล้ ว
11. ถึงเดือนสิ บเอ็ด ให้ ประชาชนเฮ็ดบุญออกวัดสา
ปวารณา และไปนมัสการ และมุทาภิเสกพระธาตุหลวง
12. ถึงเดือนสิ บเอ็ด ให้ ไพร่ ฟ้าข้ าแผ่ นดิน มาโฮมที่
หน้ าพระลาน แห่ เจ้ าชีวติ ไปสรงนา้ ในแม่ น่าท่ าเพียวัด จัด
ให้ ทอี่ ยู่ใกล้ แม่ นา้ เฮือซ่ วงวัดละหนึ่งลา ขึน้ สิ บสามคา่ เป็ น
วันซ่ วงเฮือ ประชาชนเฮ็ดบุญออกวัดสาปวารณา และไป
นมัสการ และมุทาภิเสกพระธาตุหลวง
13. ถึงเดือนสิ บสอง ให้ เฮ็ดบุญกฐิ นตามวัดวาอาราม
ต่ างๆ
14. ให้ มีสมบัติคูณเมือง หรือค่ าควรเมือง 14 อย่ าง คือ
หูเมือง ได้ แก่ ราชฑูต ผู้ฉลาดอาจนาเข้ าออกต่ างประเทศ
ตาเมือง ได้ แก่ นักปราชญ์ ราชบัณฑิตสอนอรรถธรรม
แก่นเมือง ได้ แก่ พระภิกษุสงฆ์ ผู้ฉลาดทรงธรรมทรงวินัย
ประตูเมือง ได้ แก่ เครื่องศาสตราวุธทั้งหลาย
ฮากเมือง ได้ แก่ โหราศาสตร์ อาจฮู้เหตุฮ้ายและดี
เหง้ าเมือง ได้ แก่ เสนาอามาตย์ ผู้เทีย่ งธรรม
ขื่อเมือง ได้ แก่ กวนบ้ าน (ผญบ.) และตาแสง (กานัน) ราษฎรผู้
ซื่อสั ตย์
ฝาเมือง ได้ แก่ ทแกล้ วทหาร ผู้สามารถอาจทายุทธกรรม
กับข้ าศึกชนะได้
ขางเมือง/ แปเมือง ได้ แก่ เจ้ านาย / ท้ าวพระยาผู้
ประกอบด้ วยศีลธรรมอันดี
เขตเมือง ได้ แก่ เสนาอามาตย์ ผู้ฉลาดฮู้เขตบ้ านเมืองดิน
เมือง
สติเมือง ได้ แก่ เศรษฐีและพ่อค้ าผู้มั่งมี
ใจเมือง ได้ แก่ นายแพทย์ / หมอยาวิเศษฮู้พยาธิใช้ ยาถืก
ค่ าเมือง ได้ แก่ ภาคพืน้ ภูมิประเทศมีค่า มีราคาค่ างวด
เมฆเมือง ได้ แก่ เทพยดาอาฮักษ์ ท้งั หลายเขตบ้ านเมือง
เฮือน 3
เฮือน 3 นา้ 4 เป็ นคาสอนของคนโบราณอีสาน
ได้ อบรมสั่ งสอนให้ ลูกหลานได้ ประพฤติปฏิบัติ เพือ่ ความ
เป็ นอยู่ที่สะอาด สุ ขภาพอนามัยที่ดี ผู้ใดนาไปประพฤติ
ปฏิบัตคิ รอบครัวก็จะอยู่เย็นเป็ นสุ ข
1. เฮือนครัว
2. เฮือนนอน
3. เฮือนกาย
นา้ 4
1. นา้ อาบสรงศรี
2. นา้ ดืม่
3. นา้ เต้ าปูน
4. นา้ อมฤต
พระพทุ ธองค์ สอนว่ าอย่ าประมาท
ชีวติ ใช่ จะวาดตามปรารถนา
ปฏิบัติตามหลักธรรมพระสั มมา
ชีวติ จะมีค่าตลอดไป