บรรยายโดย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจ

Download Report

Transcript บรรยายโดย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ ผู้ตรวจ

การบริหารงานสาธารณสุข
กับการตรวจราชการ
และนิ เทศงาน
คณะที่ ๑
ประเด็นการตรวจราชการ/นิ เทศงาน ๒๕๕๖
๑) การส่งเสริมป้ องกัน ในกลุม่ สตรีและเด็ก
๑. การดูแลหญิงตัง้ ครรภ์ อย่างมีคณ
ุ ภาพ
๒. การดูแลสุขภาพเด็กแรกเกิด-๒ ปี อย่างมีคณ
ุ ภาพ
๒) การส่งเสริมป้ องกัน ในกลุม่ วัยปฐมวัย
๓. การดูแลสุขภาพเด็กอายุ ๓-๕ ปี อย่างมีคณ
ุ ภาพ
๓) การส่งเสริมป้ องกัน ในกลุม่ วัยเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
๔. การดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียน อย่างมีคุณภาพ
๕. การดูแลสุขภาพวัยรุ่น อย่างมีคุณภาพ
๔) การส่งเสริมป้ องกัน ในกลุม่ วัยทางาน
๖. การป้ องกันควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง (DM&HT)
ประเด็นการตรวจราชการ/นิ เทศงาน ๒๕๕๖
๕) การส่งเสริมป้ องกัน ในกลุม่ ผูส้ ูงอายุ ผูพ้ กิ าร
๗. การเฝ้ าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม/ปากมดลูก
๘. การส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร
๖) สิง่ แวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดาเนิ นงานด้านสุขภาพ
๑. ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รบั การตรวจสอบได้มาตรฐาน
๒. สถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รบั
การตรวจสอบได้มาตรฐาน
๓. Primary GMP
๗) ความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ (Health Literacy)
การพัฒนากระทรวงสาธารณสุข
ั เจน
1. การกาหนดบทบาท 3 สว่ นให ้ชด
1) National Health Authority (NHA) & Regulator
2) Purchaser หมายถึง สปสช.
3) Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ
2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบือ
้ งต ้นได ้กาหนด
“เป้ าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซงึ่ ได ้ขับเคลือ
่ น
ตัง้ แต่ 1 มค. 56
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
KPI กระทรวง
KPI เขต
KPI กรม
KPI จังหวัด
แผนงานแก้ไขปัญหา
การจัดสรรงบประมาณ
การกากับ ประเมินผล
การตรวจราชการ
นิ เทศงาน
การพัฒนากระทรวงสาธารณสุข
3. การพัฒนาบทบาท ผู ้ให ้บริการ (Provider)
- การจัดเครือข่ายบริการ และแบ่งเขตพืน
้ ทีเ่ ครือข่ายบริการ เป็ น 12
เขต ครอบคลุมประชากรเฉลีย
่ เขตละ 5 ล ้านคน
- ริเริม
่ จัดทา “Service plan” ในแต่ละเครือข่ายบริการฯ เพือ
่ ขับเคลือ
่ น
การพัฒนาการจัดบริการในปี 2556 โดยมีเป้ าหมายที่ 10 สาขา ซงึ่ ถือ
เป็ นปั ญหาเร่งด่วน
- กาหนดให ้ทุกเขตจัดทา “แผนสุขภาพเขต” เป็ นครัง้ แรก โดยให ้
ครอบคลุมทัง้ แผนบริหารจัดการ แผนบริการ และแผนสง่ เสริมป้ องกัน
ิ ธิภาพในการทางาน
โรค โดยมุง่ เน ้นประสท
4. พัฒนารูปแบบการทางานร่วมกันระหว่าง กสธ. และ สปสช.
โดยใช ้ PP model เป็ นตัวอย่างนาร่อง
6
แผนสุขภาพเขต / จังหวัด
การจัดสรรงบประมาณแบบบูรณาการ
กระบวนการปฏิบตั ิ
Health Promotion
& Prevention
กรอบงานส่งเสริมป้ องกัน ตามลักษณะงาน
นโยบายสุขภาพ
สปสช.
กรม
PPNP
สป
กรม
บูรณาการ
สปสช.เขต
PPA
งบ UC
MOU
MOU
(BS, NP)
(NP)
เขต สธ.
แผนยุทธ
(6,000 ล้าน)
PPA
8 Flagships
10%
กากับติดตาม
จังหวัด
(949 ล้าน)
20%
BS, NP, AH
PPE
อาเภอ
งบ สธ.
70%
ข้อสรุปการบริหารงาน PP ระหว่าง สธ.-สปสช. ปี 56
กรอบการบริหารงานร่วมกัน
1. บทบาท สธ. เป็ น National Health Authority & Providers
ส่วน สปสช. เป็ น National Health Security & Purchaser
2. ใช้กลไกที่มีอยู่ ได้แก่ คปสข. และ อปสข.
3. กรอบงาน PP 3 กลุม่ (Basic Service, National Program,
และ Area Health)
4. คงกรอบการบริหารงบ PP ไว้ 5 ส่วน (NPP, PPE,
PPA, สนับสนุ นส่งเสริม, ทันตกรรมส่งเสริม
กลไกระดับเขต
คทง. ยกร่าง MOU (ฝ่ ายละ 5 คน)
MOU
BS
NP
เป้ าหมาย / KPI
แผนงาน / กลยุทธ
M&E
การบริหารเงิน PP
PPE
PPA
สนับสนุ น
ทันตกรรม
วงเงินงบ PP ที่ดาเนิ นการร่วมกัน
1. งบ NPP
1,682 ล้าน
2. งบ PPE 3,300 ล้าน
(หักเงินเดือน)
3. งบ PPA 1,114 ล้าน
(หักงบสนับสนุ นกองทุนตาบล)
4. งบสนับสนุ น 502 ล้าน
5. งบทันต 1,085 ล้าน
ค่าวัคซีน สมุดบันทึก 1,130 ล้าน
แผนระดับชาติ
550 ล้าน
งบรวม
6,000 ล้าน
(เขตละ 500 ล้าน)
งบกระทรวง 949 ล้าน
(เขตละ
80 ล้าน)
จุดเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
1. MOU ระดับเขต
Bulk-buying
2. เป้ าหมายบริการชัดเจน
แผนสุขภาพเขต
3. ผูร้ บั ผิดชอบต่อผลผลิต
บทบาท คปสข.
4. พื้นที่ครอบคลุม
5. การติดตามประเมินผล
เต็มพื้นที่
M&E
แผนสุขภาพเขต
และ
แผนสุขภาพจังหวัด
(๒๕ แผนงาน)
สภาพปัญหา
ยุทธศาสตร์
แผนแก้ปญั หา
แผนงาน
แผนปฏิบตั ิ
การปฏิบตั ิ
การปฏิบตั ิ
การกากับ
ติดตาม
ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ
การรายงานผล
กระบวนงาน
นโยบาย
การประเมินปัญหา
สภาพปัญหา
นโยบาย
การประเมินกลยุทธ์
แผนแก้ปญั หา
การประเมิน
กระบวนการ
แผนปฏิบตั ิ
การปฏิบตั ิ
ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ
การกากับ
ติดตาม
การรายงานผล
1 ตาแหน่ งของตัวชี้วดั
ประเมินสภาพปัญหา
1
นโยบาย
แผนกลยุทธ์
แผนปฏิบตั ิ
4
ปัจจัยนาเข้า
2
3
5
การปฏิบตั ิ
การกากับ ติดตาม
ผลผลิต
ผลลัพท์
ผลกระทบ
6
7
8
บริการ
พัฒนาบริการ 10 สาขา
พัฒนาระบบส่งต่อ
คุณภาพบริการ
การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบตั ภิ ยั
สาธารณสุขชายแดน
ยาเสพติด
โครงการพระราชดาริ
สส ปก
บริหาร
สุขภาพสตรี และทารก + BS
การเงินการคลัง
สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS
การบริหารกาลังคน-จริยธรรม
สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS
ระบบข้อมูล
สุขภาพเด็กนักเรียน + BS
การบริหารเวชภัณฑ์
สุขภาพวัยรุ่น + BS
ป้ องกันควบคุม NCD (DM&HT) พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง
ดูแลเฝ้ าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง
ส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุและผูพ้ กิ าร
อาหารปลอดภัย
การควบคุมโรคติดต่อ
สิง่ แวดล้อมและระบบทีเ่ อื้อต่อสุขภาพ
สร้างความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ
การมีส่วนร่วมภาคประชาชน
ลักษณะสาคัญของ แผนสุขภาพเขต
- ภาพรวม / แผนย่อย ตามหัวข้อ 25 แผน
- เนื้ อหาหลัก : สถานการณ์ ผลตามตัวชี้วดั
กลยุทธ และมาตรการสาคัญ
- ขอบเขต ครอบคลุมงานของ ศูนย์วชิ าการ + เขตพื้นที่
เครือข่าย + แผนจังหวัด
- งาน PP รองรับงานตามกลุม่ วัย ทัง้ BS และ NP
- ข้อมูล BS เป็ นความครอบคลุม เน้นความถูกต้อง
แผนบูรณาการเชิงรุก
แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม
เน้นปัญหาสาคัญ
แผนแก้ปญั หา
จัดกลุม่ ปัญหา/บูรณาการ
แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน
มาตรการชัดเจน
งบประมาณตามกิจกรรม
แผนปฏิบตั ิ
กิจกรรม
องค์ ประกอบของแผนงาน PP กลุ่มวัย
องค์ ประกอบของแผนงานส่ งเสริมป้องกัน กลุ่มวัย
แผนสตรี
ตั้งครรภ์
คุณภาพ
แผน
สุ ขภาพ
ทารก 0-2 ปี
แผนสุ ขภาพ
เด็กปฐมวัย
3-5 ปี
แผนสุ ขภาพ
เด็กวัยเรียน
(6-12 ปี ) และ
เยาวชน
แผน
สุ ขภาพ
วัยรุ่ น
กาให้บริ การ
หญิงตั้งครรภ์
ที่พึงได้รับ
-นมแม่
-พัฒนา 4 ด้าน
-การ
เจริ ญเติบโต
-รู ปร่ าง/ส่วนสูง
-สุขภาพช่อง
ปาก
-วัคซีน
เด็กนักเรี ยนมี
คุณภาพ 4 ด้าน
-พัฒนาการ4
ด้าน
-เจริ ญเติบโต
รู ปร่ าง/ส่วนสูง
-สุขภาพช่อง
ปาก
-วัคซีน
การเข้าถึงกลุ่ม
วัยรุ่ นกลุม่
เสี่ ยง
-เพศสัมพันธุ
-บุรี
แอลกอฮอล์
-ยาเสพติด
-พฤติกรรม
อารมณ์
สถาน
บริการ
WCC
เด็กปฐมวัยมี
คุณภาพและ
บทบาทพ่อ-แม่
ในการเลี่ยงดูแล
ปฐมวัย
-พัฒนาการ4
ด้าน
-การเจริ ญเติบโต
-รู ปร่ าง/ส่วนสูง
-สุขภาพช่อง
ปาก
-วัคซีน
คุณภาพ
ANC&LR
คุณภาพ
การเข้ าถึง
บริการของ
หญิง
ตั้งครรภ์
ส่ งเสริม
บทบาท
ครอบครัว
พ่อ - แม่
ชุ มชน
พัฒนา
คุณภาพ
ศูนย์ เด็กเล็ก
โรงเรียน
ส่ งเสริม
สุ ขภาพ
คลินิกวัยรุ่ น
แผนป้ องกัน
ควบคุมโรคไม่
ติดต่ อเรื้อรัง
คลินิก
NCD
คุณภาพ
(ขยายความ
ครอบคลุม
การตรวจ
ภาวะแทรกซ้
อน
แผนคัดกรอง
มะเร็งปาก
มดลูก/มะเร็ง
เต้ านม
แผน
สุ ขภาพ
ผู้สูงอายุ
มะเร็ งเต้านม
-การตรวจ
มะเร็ งเต้านม
ด้วยตนเอง
-การสร้าง
ความตระหนัก
ผ่านสื่ อและ
การประเมิน
ดูแลผูส้ ูงอายุ
คุณภาพ
-เบาหวาน/
ความดัน
-โรคซึมเศร้า
-เข่าเสื่ อม
-สุขภาพช่อง
ปาก
คลินิก
คลินิก
บริการ
ผู้สูงอายุ
NCD
สร้ างระบบการ
ดูแลช่ วยเหลือ
วัยรุ่น เริ่มที่
โรงเรียน
คุณภาพ
(ขยาย
ครอบคลุม
การตรวจ
ลดปั
จจัย
เสีภาวะแทรก
่ ยง
ซ้ อน)มชน
ปชก/ชุ
แกนนา
ชุ มชน อสม
เข้ มเข็ง
อาเภอ/
ตาบล80/ยัง
แจ๋ ว
รายละเอียดแผนสุขภาพเขต/จังหวัด
1. ภาพรวมของแผน (สภาพปัญหาในพื้นที่, งบรวมทุกหน่ วย/ภาค
ส่วน, งบแยกรายแผน/งบบริหาร)
2. แผนแก้ไขปัญหา 25 แผน แต่ละแผนประกอบด้วย
2.1 ข้อมูล Baseline
2.2 กลยุทธ / มาตรการสาคัญ (สอดรับแผนกระทรวง)
2.3 งบประมาณที่กระจายลงแผนนั้น แยกตามหน่ วยงาน
2.4 ผลลัพท์ตาม KPI
ปล. 1) แผนแก้ไขปัญหา ให้จงั หวัดจัดทา ๑ ชุด ใช้รว่ มกัน
2) แผนปฏิบตั ิงานของหน่ วยงาน ให้จดั ทาแยกตามหน่ วยงาน
บทบาทของจังหวัดที่ควรปรับเปลี่ยน
1. มองการดูแลสุขภาพ บูรณาการกิจกรรมเป็ นกลุม่ วัย แทนที่จะ
มองเป็ นกิจกรรมแยกตามฝ่ าย/หน่ วยงาน
2. จังหวัดมีหน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นงาน ทัง้ หน่ วยงานในสังกัด
ท้องถิ่น และภาคส่วนอืน่ ๆ
3. ตัวชี้วดั เป็ นเพียงสะท้อนผลลัพท์ แต่กระบวนการเป็ นตัวส่งให้
เกิดผลลัพท์ ความชัดเจนของมาตรการดาเนิ นงานจึงเป็ นสิง่ สาคัญ
4. แผนสุขภาพ แตกต่างจาก แผนยุทธศาสตร์ในอดีต
โจทย์ใหญ่
1. ภาพรวมของการจัดการแผนสุขภาพจังหวัดเพือ่
แก้ปญั หาในพื้นที่ ระดับจังหวัด เป็ นอย่างไร ?
2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของ
หน่ วยงานในพื้นที่เป็ นอย่างไร จุดอ่อนอยู่ตรงไหน ?
3. การกากับติดตามในอนาคต ควรต้องปรับบทบาท
และพัฒนาศักยภาพของกลุม่ งานใน สสจ. อย่างไร ?