เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติ พัฒนาคุณภาพสาเหตุการตายนอกสถาน

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติ พัฒนาคุณภาพสาเหตุการตายนอกสถาน

การพัฒนาคุณภาพสาเหตุการตาย
ของประเทศไทย
2555-2557
พ.ญ.จันทร์ เพ็ญ ชู ประภาวรรณ 081 8273634
อรพิน ทรัพย์ ล้น และ ชูจติ ร นาชีวะ 086 8814151
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก.สาธารณสุ ข
สถานภาพการตาย ประชาชนไทย
คนไทยตายปี ละประมาณ 400,000 คน
ป่ วยตายในโรงพยาบาล
25-30 %
ตายผิดธรรมชาติ (ชันสูตรพลิกศพ) 25-30 %
หนังสือรับรองการตายโดย แพทย์ผูร้ กั ษาก่อนตาย
ตายนอกโรงพยาบาล
50-40 %
ใบรับแจ้งการตาย โดย ผูใ้ หญ่บา้ น,กานัน, ทะเบียน
 พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร ฯ
หน้ าทีข่ องพลเมืองไทยคือ .............................................................
หน้ าที่นายทะเบียนท้ องถิ่นคือ .......................................................
งานของสาธารณสุ ขในระบบนีค้ อื ................................................
 กฎหมายอาญา และ (พรบ.) ชันสู ตรพลิกศพ
ใช้ ในกรณีใด ................................................................................
งานของสาธารณสุ ขคือ .................................................................
ประโยชน์ ของข้ อมูลการตาย
วิเคราะห์ และคาดประมาณประชากร - ทาตาราง
ชีพ และ อายุคาดเฉลีย่ ภาระโรค
แสดงปัญหาสุ ขภาพในระดับประเทศและพืน้ ที่
กาหนดนโยบายและวางแผนงาน จัดสรร
ทรัพยากรอย่ างถูกต้ องตรงกับปัญหาทีแ่ ท้จริง
สัดส่วนการตายด้วย “ไม่ทราบสาเหตุ”
THAILAND
HAITI
HONDURAS
DOMINICAN
REPUBLIC
EL SAVADOR
SURINAME
SRI LANKA
BRAZIL
EGYPT
NICARAGUA
VENEZUELA
SOUTH AFRICA
ECUADOR
YUGOSLAVIA
PANAMA
ALBANIA
SEYCHELLES
GUATEMALA
PERU
BAHRAIN
REPUBLIC OF
KOREA
PORTUGAL
MAURITIUS
JAMAICA
TFYR Macedonia
COLOMBIA
PHILIPPINES
FRANCE
0
0
0.2
0.1
Evidence and Information for Policy
0.3
0.2
0.4
0.5
0.3
0.4
WHO 1999
0.5
% สาเหตุไม่ ชัดแจ้ ง (ไม่ ทราบสาเหตุ), WHO 2003
ไทย
ศรีลงั กา
ไซปรัส
อียปิ ต์
อาฟริกาใต้
ซานมาโน
คิริบาติ
ฟิ จิ
ปาราไกว
ทูวาลู
กรีซ
โปแลนด์
บาเรนห์
กาตาร์
อีควาดอร์
อาร์ เจนตินา
ซูเวียน
ปอร์ ตุเกส
เปรู
อัลบาเนีย
49
46
44
40
37
35
35
29
28
27
26
25
25
24
2012 – 45%
22
22
21
21
20
0
5
10
15
19
20
25
30
35
40
45
50
การตาย “ไม่ ทราบสาเหตุ” ตามอายุ
%Ill-defined
100
80
60
40
20
0age0_1
age5_9
age15_19 age25_29 age35_39 age45_49 age55_59 age65_69 age75_79 age85_89 age>=95
age1_4
age10_14 age20_24 age30_34 age40_44 age50_54 age60_64 age70_74 age80_84 age90_94
year 2000
Age group
%illdefined %illdefinedmale %illdefinedfemale
ข้ อมลู สถิติชีพปี พ.ศ.2543, ฐานข้ อมลู ประชากรกระทรวงสาธารณสุข
ประวัตแิ ล้ วลงสาเหตุการตาย..................................
คุณป้ าน้ าทิพย์อายุ 62 ปี ตายในบ้าน ญาติมาแจ้งตาย นายทะเบียนจะถาม
อะไรจากญาติบา้ ง ..............
- อ่ อนเพลียมาหลายเดือน ทานข้ าวไม่ ค่อยได้ ไปตรวจและรั บยาเป็ นประจาทีร่ พ.อาเภอ
จะถามอะไรต่ อ ??
- ตรวจและรั กษาโรคประจาตัวคือ เบาหวาน ล่ าสุดหมอแจ้ งว่ า ไตไม่ ค่อยทางาน
แนะนาให้ ไปล้ างไต ..... ประวัตเิ ท่ านี้พอหรือยัง
ควรถามต่ อว่ า “มีโรคอื่นอีกไหม
สรุ ปสาเหตุการตาย ..............................................
เบาหวานทาให้ ไตวาย
คำต่อไปนี้ เป็นโรคหรือเปล่ำ
ชราภาพ
เป็ นลม
เป็ นไข้
ปวดท้ อง
คลืน่ ไส้ อาเจียน
บวม
อ่อนเพลีย
เป็ นแผลพุพอง
•
•
•
•
•
•
•
•
•
กระโหลกศีรษะแตก
แขนขาหัก
ตับแตก ม้ ามแตก
เลือดออกในสมอง
ขาดอากาศหายใจ
หัวใจล้ มเหลว
ไตวาย
ตับวาย
ระบบไหลเวียนโลหิตล้ มเหลว
ผลกำรประเมินคุณภำพสำเหตุกำรตำยในสถำนพยำบำล
(ร้อยละควำมถูกต้อง 2-3 digits)
Percent
50
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0
32
25
38
40
40
41
45
38
ปร ับปรุงควำมถูกต้องของสำเหตุกำร
ตำยในสถำนพยำบำล
ความผิดพลาดของสถิติการตาย
โรคหัวใจเป็ นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทย?
แหล่งข้อมูล สถิติสาธารณสุ ข พ.ศ. 2523 - 2541
ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีคุณภาพข้อมูลการตายต่า
มากที่สุดในโลก (วัดจากสัดส่ วนการตายด้วยไม่ทราบ
สาเหตุเกินครึ่ ง) พอ ๆ กับ ประเทศไฮติ
ผลกระทบของความผิดพลาดในข้ อมูลการตาย
ไม่ ทราบปัญหาสุขภาพอนามัยทีแ่ ท้ จริ ง อะไร
สาคัญ
วางแผนและจัดสรรทรั พยากรได้ ยาก
ตัดสินใจผิดพลาด ลงทุนไปในสิ่งทีไ่ ม่ ใช่ เรื่ อง
สาคัญ เช่ น ซื้อเครื่ องตรวจ รั กษาโรคหัวใจ ฯ
โครงการศึกษาสาเหตุการตาย ปี 2542
1. ศึกษาสาเหตุการตายจากแหล่ งปฐมภูมทิ ้งั การตาย
ทีบ่ ้ านและในโรงพยาบาล
2. เปรียบเทียบสาเหตุการตายจากแหล่ งปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภูมิ
- ความครบถ้ วน
- ความสมบูรณ์ ของข้ อมูล
- ความถูกต้ องในการลงสาเหตุการตาย
ผลการศึกษาสาเหตุการตาย
เปรียบเทียบรายงานสาเหตุการตายจากการศึกษากับ
มรณบัตร
วิเคราะห์รหัสโรคจาก ICD-10 จานวน 3 หลัก
พบว่ามีระดับความสอดคล้องกันเพียงร้อยละ 29.3
เปรียบเทียบข้อมูลสาเหตุการตายระหว่างมรณบัตรกับการสอบสวนสาเหตุการตาย
40
35
มรณบัตร
30
สอบสวนสาเหตุการตาย
25
%20
มีความสอดคล้องในภาพรวม
29.3%
15
10
5
0
A B C D E F G H I J K L M N O
A : อาการ, อาการแสดง
B : ระบบไหลเวียนเลือด
C : สาเหตุภายนอก
D : มะเร็ง
E : โรคติดเชื้อ
F : ระบบหายใจ
G : สาเหตุไม่ชดั แจ้ง
H : ตับและถุงน้ าดี
I : ไตและ ระบบปสั สาวะ
J : ระบบประสาท
K : เบาหวาน
L : ระบบเลือด
M : ระบบย่อยอาหาร
N : กล้ามเนื้อ
O : พิการแต่กาเนิด
สาเหตุการตายในเพศชาย รวมทุกอายุ
อื่นๆ 39.0%
ชราภาพ 7.7%
โรคติดเชื้อ
6.8%
ชราภาพ
13.5%
สาเหตุภายนอก
13.3%
มะเร็ง 9.6%
ระบบไหลเวียนเลือด
17.8%
อื่นๆ 23.7%
มะเร็ง
15.7%
ระบบไหลเวียนเลือด
16.2%
โรคติดเชื้อ
19%
สาเหตุภายนอก
17.5%
สาเหตุการตายในเพศหญิง รวมทุกอายุ
สาเหตุภายนอก
4.8%
มะเร็ง
9.3%
ระบบไหลเวียนเลือด
16.0%
สาเหตุภายนอก
9.1%
อื่นๆ 37.5%
มะเร็ง
โรคติดเชื้อ
15.5%
4.7%
ชราภาพ 27.8%
ระบบไหลเวียนเลือด
18.2%
อื่นๆ 24.9%
โรคติดเชื้อ
12.8%
ชราภาพ 19.5%
เพศชาย สูญเสียวัยอันสมควร (YLL) รวม 4.2
Diarrhea
ล้ านปี
Nephritis,
Accident, CA
Colon
LBW, LRT
Infection, Birth
Truama
Drowning,
Diabetes, TB
Suicide, COPD,
Lung CA
Homicide, Suicide
IHD
Stroke
Liver Cancer
Traffic Accident
HIV
0
5
10
15
Percent
20
25
เพศหญิง สูญเสียวัยอันสมควร (YLL) รวม 2.6 ล้ านปี
Drowning, Lung
CA Colon,
CA, Diarrhea
Cirrhosis, Breast
CA
TB, CA Cervix,
COPD, Birth
Suicide
trauma, Nephritis
LRT Infection,
LBW
IHD
Traffic Accident
Liver Cancer
Diabetes
Stroke
HIV
0
2
4 Percent 6
8
10
12
14
นโยบายการพัฒนาระบบข้ อมูลการตาย
กระทรวงมหาดไทย และ กระทรวงสาธารณสุ ข
 เพิม่ พูนความร้ ูและทักษะให้ แก่ แพทย์ ทุกคน โดย
จัดทาค่ มู ือการบันทึกสาเหตุการตาย และ ฝึ กอบรม
บรรจลุ งในหลักสูตรแพทยศาสตร์ ศึกษา
จัดระบบรายงานการตายใหม่ โดย ให้ แพทย์ เป็ นผ้ ู
วินิจฉัยสาเหตุการตายทุกราย
คาจากัดความ - สาเหตุการตาย
UNDERLYING CAUSES OF DEATHS
โรคแรกที่เกิดขึ้ น อันทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
ตามต่อเนือ่ งกันมา จนนาไปสู่การเสียชีวิต
ในกรณี การบาดเจ็ บ สาเหตุการตาย คือ เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้ นอันทาให้เกิดการบาดเจ็ บ เช่น อุบตั ิเหตุตก
จากทีส่ ูง, ฆาตกรรมโดยอาวุธปื น, หรือขับมอเตอร์ไซด์
ชนรถยนต์
รูปแบบการตาย (MODE
OF DEATH)
 คาที่แสดงว่า อวัยวะสาคัญหยุดทางาน
เกิดขึ้ นก่อนเสียชีวิตไม่นาน
หัวใจล้มเหลว, หายใจล้มเหลว
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
สมองหยุดทางาน
หัวใจหยุดเต้น
หัวรถจักร
สาเหตุ
การตาย
รู ปแบบ
การตาย
1
2
ตัวอย่างที่ 1 - วิธเี ขียนสาเหตุการตาย
 (a) ASPIRATION PNEUMONIA 7 Ds
 (b) CRYPTOCOCCAL MENINGITIS 17 Ds
 (b) PULMONARY TUBERCULOSIS 17 Ds
 (c) HIV INFECTION 7 Yrs
2.5 สาเหตุการตายคือ ติดเชื้อเอชไอวี หรือ ภูมคิ ุ้มกันบกพร่ อง
6
ตัวอย่างที่ 2 - วิธเี ขียนหนังสือรับรองการตาย
(a) BRONCHOPNEUMONIA
7 Ds
(b) METASTASIS CARCINOMA OF BOTH
FRONTAL LOBES
4 Wks
(c) CARCINOMA OF RIGHT BREAST 4 Ys
2.5 สาเหตุการตายคือ มะเร็ งเต้ านมข้ างขวา
3
PEDESTRIAN
HIT BY PICK-UP
30 Ds
3
ตัวอย่างที่ 3 - วิธเี ขียนหนังสือรับรองการตาย
(a) SEPTIC SHOCK 2 Ds
(b) URINARY TRACT INFECTION 7 Ds
(c) INTRACEREBRAL HAEMORRAGE
30 Ds
(d) PEDESTRIAN HIT BY PICK-UP 30 Ds
2.5 สาเหตุการตายคือ เดินข้ ามถนนถูกปิ คอัพชน
4
5
ข้ อพึงสั งเกตในการลงสาเหตุการตาย
1. ถึงแม้ เราทราบแน่ ชัดว่ าโรคติดเชื้อหรือปรสิ ตบาง
ชนิดเป็ นสาเหตุของโรคมะเร็งบางอย่ าง เช่ น พยาธิ
ใบไม้ ในตับ เป็ นสาเหตุของมะเร็งท่ อนา้ ดีในตับ แต่ เวลา
ตายเราจะลงสาเหตุตายเป็ นโรคมะเร็ง ยกเว้ น HIV ที่
ทาให้ เกิด Kaposi’s sarcoma, Burkitt Tumor แล้ ว
ตายให้ สาเหตุการตายเป็ นติดเชื้อเอชไอวี HIV
ข้ อพึงสั งเกตในการลงสาเหตุการตาย
2. วัณโรคของระบบประสาทหรือวัณโรค
อวัยวะอืน่ ร่ วมกับวัณโรคปอดให้ ลง
สาเหตุการตายเป็ นวัณโรคปอด ยกเว้ น
ทราบแน่ ชัดว่ าเป็ นมาก่ อนเป็ นวัณโรคปอด
3. ห้ ามลงการบาดเจ็บเล็กน้ อย เช่ น
แผลถลอก ฟกช้า ห้ อเลือด แมลงไม่ มพี ษิ
กัด นา้ ร้ อนลวก (first degree burn ให้
ลงสาเหตุการตายเป็ นแผลติดเชื้อรุนแรง
หรือไฟลามท่ ุง
4. ไม่ ลงสาเหตุการตายว่ าจากการสู บบุหรี่ ถึงแม้ ว่า
น่ าจะเป็ นสาเหตุ เช่ น มะเร็งปอด และหลอดลม
โรคหัวใจขาดเลือด ถุงลมปอดโป่ งพอง หรือโรค
ปอดเรื้อรัง
-สุ รา ลงได้ 3-4 สาเหตุคอื พิษสุ ราเรื้อรัง ตับแข็ง
จากสุ รา พิษสุ ราเฉียบพลัน ตับอักเสบจากสุ รา
5. ไม่ ลงอัมพาต เป็ นสาเหตุการตายถ้ าทราบสาเหตุ
ของอัมพาต
6. ไม่ ลงความดันโลหิตสู งเป็ นสาเหตุการตาย ถ้ ามีความผิดปกติ
บางอย่ างด้ วย
- ควรลงเป็ นโรคหัวใจจากความดันโลหิตสู ง ถ้ าหัวใจผิดปกติหรือ
มี Heart failure
- ควรลงเป็ นโรคไตจากความดันโลหิตสู ง ถ้ าไตผิดปกติ เช่ น ไต
วาย ไตหดเล็กลง
- ควรลงเป็ นโรคหัวใจและไต จากความดันโลหิตสู ง ถ้ าทั้งหัวใจ
และไตผิดปกติ
- ควรลงเป็ นโรคหัวใจขาดเลือดถ้ ามี Ischeamic heart disease
- ควรลงเป็ นเส้ นเลือดสมองแตกหรือตีบตัน ถ้ ามี CVA
7. ไม่ ลงสาเหตุการตายเป็ น ไข้ หวัด
(Common cold) หรือทางเดินหายใจ
ส่ วนต้ นอักเสบเฉียบพลันถึงแม้ จะ
เป็ นเหตุนาของหลายโรค แต่ ลงชื่อโรค
ไปเลย เช่ น เยือ่ ห้ ุมสมองอักเสบ ฝี
ในสมอง หูนา้ หนวก
8. ถ้ ามีบาดแผลจากอะไรก็ตามแล้ วเป็ น
บาดทะยักตาย ให้ ลงสาเหตุตายเป็ น
บาดทะยัก
9. ถ้ าเป็ นลมชัก (Epilepsy) แล้ วทาให้ เกิด
อุบัตเิ หตุถงึ ตายให้ ลงสาเหตุตายเป็ นโรค
ลมชัก
คนไทยตายปี ละ
450,000
ตายใน + นอก รพ.
เหตุธรรมชาติ
ผิดธรรมชาติ
(ฆ่าตัวตาย ฆาตกรรม อุบตั ิเหตุ สัตว์ทาร้าย ภัยธรรมชาติ )
ไม่ทราบสาเหตุ
 เจ็ บป่ วย
ต้องปฏิบตั ิตาม พรบ.
- ตายในสถานพยาบาล
การรักษา รพ. วินิจฉัยโดยแพทย์ แพทย์ออกชันสูตรพลิกศพร่วมกับตารวจ
(แพทย์เขียน ทร 4/1)
ลงสาเหตุการตายอย่าง
- ตายนอกสถานพยาบาล
ถูกต้อง (ระบบ ICD-10)
ซักประวัติและลงสาเหตุการตายโดย
เอกสารรับรองการตาย
เจ้าหน้าทีท่ ะเบียนอาเภอ/เทศบาล
มรณบัตร
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ภำคสำธำรณสุข
นำยทะเบียน
-ปร ับปรุง Family Folders
ให้เป็นปัจจุบ ัน
ื่ ม/ขอข้อมูล รพช.
-เชอ
ั อ
้ มขนตอนก
-ซกซ
ั้
ับกำน ัน
ผูใ้ หญ่บำ้ น จนท.ทะเบียน
ั
-ฝึ กท ักษะกำรซกประว
ัติ
และ ทำควำมเข้ำใจ
มำตรฐำนกำรให้สำเหตุกำร
ตำย
-เป็นทีป
่ รึกษำให้นำย
ทะเบียนอำเภอ/จ ังหว ัด
ั ันธ์ประชำชน
-ประชำสมพ
ให้เข้ำใจขนตอน
ั้
และเน้น
เรือ
่ งกำรให้ญำติสนิทมำแจ้ง
ตำย
- อ่ำนคูม
่ อ
ื และ ให้สำเหตุ
กำรตำยตำมมำตรฐำน
องค์กำรอนำม ัยโลก
หลังดาเนินการทดลองใน 5 จังหวัด
45
40
41.6
36.9
35.4
35
30
23.5
25
20
18.4
17.7
ยโสธร
15
2554
10
2555
5
60
50.3
0
ตค
ศรีสะเกษ
พย
ธค
50
49
48
40
2554
30
2555
20
10
11.1
10.1
พย
ธค
6.6
0
ตค