2.การสร้างและพัฒนาเครือข่าย ภาคการผลิตทางการเกษตร

Download Report

Transcript 2.การสร้างและพัฒนาเครือข่าย ภาคการผลิตทางการเกษตร

กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การสร้ างและพัฒนาเครือข่ าย
ภาคการผลิตทางการเกษตร
โดย
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร ส่ วนพัฒนาองค์ กรเกษตรกร
สานักพัฒนาเกษตรกร กรมส่ งเสริมการเกษตร
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
กลุ่ม/เครือข่าย/คลัสเตอร์
- ปัญหา/กิจการใด ไม่ สามารถทาคนเดียวได้
ให้ รวมกลุ่มกันทา =“กลุ่ม”
-ปัญหา/กิจการใด ไม่ สามารถทากลุ่มเดียวได้
ให้ รวมกลุ่มกันหลายกลุ่ม =“เครือข่ าย”
-ปัญหา/กิจการใด ไม่ สามารถทาหลายกลุ่มได้
ให้ รวมกลุ่มกันเป็ น =“คลัสเตอร์ ”
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ทาไมต้ องเครือข่าย
-การเข้ าสู่ ASEAN
-ภาวะเศรษฐกิจ
-ภาวะสั งคมและวัฒนธรรม
-ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
-เทคโนโลยี
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
กระบวนทัศน์การพัฒนาประเทศ
พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ทรัพยากรธรรมชาติ
และแรงงานราคาถูก
ประเทศด้ อยพัฒนา
• พึ่งพิงธรรมชาติ
• พึ่งพาผู้อ่นื
ทีม่ า :สุ วชิ า มิง่ ขวัญ
ปัจจัยทุนและการ
ลงทุน
ภูมิปัญญาและ
เทคโนโลยี
ประเทศกาลังพัฒนา
• ลงทุนในปัจจัยพื้นฐาน
• ใช้ ทรัพยากรสิ้นเปลือง
• เป็ นไปตามภาวะโลก
ประเทศพัฒนาเต็มที่
• สังคมภูมิปัญญา
• พัฒนายั่งยืน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการพัฒนาเครือข่ ายภาคการเกษตร
การส่ งเสริมและพัฒนาเครือข่ ายการเกษตรเป็ นภารกิจหนึ่ง
ของงานส่ งเสริมการเกษตร
โดยมีเป้าหมาย 2 มิติ
มิติด้านองค์ กร เป็ นเครื่องมือส่ งผ่ านและสร้ างองค์ ความรู้ด้าน
เทคโนโลยีและการจัดการการเกษตรแก่เกษตรกร
มิติด้านเกษตรกร มุ่งเน้ นให้ เกษตรกรใช้ กลไกความร่ วมมือ
เพือ่ สร้ างความสามารถในการจัดการการผลิตอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพและสามารถพึง่ พาตนเองได้
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ลักษณะเครือข่ ายการเกษตรทีก่ รมดาเนินการอยู่
เครือข่ ายแลกเปลีย่ นเรียนรู้ /กิจกรรมของเกษตรกร
เครือข่ ายเชื่อมโยงการตลาดระหว่ างเกษตรกรกับคู่ค้า
เครือข่ ายบูรณาการภาคการผลิตการเกษตร
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
จัดกระบวนการสร้ างและพัฒนาเครือข่ าย
การจัดกระบวนการเครือข่ ายทีม่ ีเป้าหมายเพือ่ การสร้ าง
องค์ ความรู้สินค้ าเกษตรปลอดภัยของชุมชน
เริ่ มจาก
สร้างองค์ความรู ้ของกลุ่ม จากสภาวะปัญหาการผลิต
มากาหนดเป็ นประเด็นร่ วมการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และ
สร้างช่องทางการพัฒนาองค์ความรู ้ผา่ นเครื อข่าย
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การจั
การจัดดกระบวนการกลุ
กระบวนการเครื่มอก่ข่อานเข้
ยที่มาเครื
ีเป้ าหมายเพื
อข่ายที่ม่อีเป้การสร้
าหมายเพื
างองค์
่อการสร้
ความรูางองค์
้ ความรู ้
เกษตรกรเป้ าหมาย แยกเป็ นกลุ่ม
ทบทวนผลการจาแนกพืน้ ที่
วิเคระห์ ประเด็นเสี่ ยง/เทียบค่ าเป้ าหมาย
กลุ่มร่ วมกาหนดประเด็น
เรียนรู้ แผนการเรียนรู้
ภารกิจสมาชิก
ในกระบวนการเรียนรู้
สรุ ปเป็ นองค์ ความรู้ ของกลุ่ม
ประเมินผลการเรียนรู้ เทียบ
ค่ าเป้ าหมาย
ดาเนินการตามแผน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
จัดกระบวนการสร้ างและพัฒนาเครือข่ าย
การจัดกระบวนการเครือข่ ายทีม่ ีเป้าหมายเพือ่ การเข้ าถึง
ตลาดสิ นค้ าเกษตรปลอดภัย
เริ่มจาก
การวิเคราะห์ ปัญหาร่ วมด้ านการตลาด ที่เชื่อมโยงกับ
แผนการผลิตและคุณภาพผลผลิต กาหนดเป็ นประเด็น
แผนกลยุทธ์ ในการดาเนินงานจัดแผนการจัดการการผลิต
ของเครือข่ ายและแผนปฏิบัติการผลิตของกลุ่ม
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การจั
การจัดดกระบวนการกลุ
กระบวนการเครื่มอก่ข่อานเข้
ยที่มาเครื
ีเป้ าหมายเพื
อข่ายที่ม่อีเป้การสร้
าหมายเพื
างองค์
่อการเชื
ความรู
่อมงยงตลาด
้
เกษตรกรเป้ าหมายผลิตคุณภาพ
3 ดาว+ ตลาด+ผู้เกีย่ วข้ อง
วิเคราะห์ คุณภาพมาตรฐานตามตลาด
กาหนดประเด็นเสี่ ยง/เทียบค่ าเป้ าหมาย
กลุ่มร่ วมกาหนดประเด็น
แผนควบคุมการผลิตร่ วมกัน
กาหนดภารกิจสมาชิก
ในการควบคุมคุณภาพ
สรุ ปเป็ นองค์ ความรู้ ของกลุ่ม
ในการปฏิบัตดิ ้ านการควบคุมคุณภาพ
ประเมินผลการการผลิต
กับความพึงพอใจของตลาด
ดาเนินการตามแผน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
แนวทางการจัดเวที
1.ถ้าเป้ าหมายการพัฒนาเครื อข่ายให้ความสาคัญกับการแลกเปลี่ยน
เทคงนงลยีเฉพาะและการเชื่อมงยงตลาดพืชเชิงเดี่ยว อาจกาหนดพืชใด
พืชหนึ่งมาจัดเครื อข่ายได้
2.ถ้าเป้ าหมายการพัฒนาให้ความสาคัญกับการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยน
เรี ยนรู ้ และการถ่ายทอดเทคงนงลยีอาจให้เป้ าหมายเป็ นพืชรวมๆ เพื่อ
ร่ วมกันพิจารณาถึงวิธีการที่ดีที่สุดสาหรับการถ่ายทอดเทคงนงลยี
3.ถ้าเป้ าหมายให้ความสาคัญกับเรื่ องตลาดที่สามารถดาเนินการร่ วมกัน
ในหลายๆพืชให้จดั กลุ่มพืชที่ทาตลาดร่ วมกันได้
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม
กาหนดกรอบคร่ าวๆ ให้ มกี ารพูดคุยใน 3 ประเด็น
1. การชี้แจงถึงการจัดเวทีประชุมเครือข่ าย โดยเน้ น
ถึงความสาคัญของการผนึกกาลังร่ วมกันในรู ปของ
เครือข่ ายการแนะนาตัวและกิจกรรมของแต่ ละคน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม (ต่ อ)
กาหนดกรอบคร่ าวๆ ให้ มกี ารพูดคุยใน 3 ประเด็น
2. สาระของการประชุม อาจจัดเป็ น 3 ช่วง
ช่ วงที1่ ช่วงของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ข้อมูล
ช่ วงที่ 2 ช่วงของการเสนอปัญหาที่คล้ายกัน/เหมือนกัน
ที่ตอ้ งการความร่ วมมือในการคลี่คลายปัญหา
ช่ วงที่ 3 ช่วงของการกาหนดแนวทางในการสร้างความ
ร่ วมมือเพื่อคลี่คลายปัญหาหรื อความต้องการ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม (ต่ อ)
กาหนดกรอบคร่ าวๆ ให้ มกี ารพูดคุยใน 3 ประเด็น
3. สรุ ปการประชุม ให้มีการสรุ ปผลในที่ประชุมเพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วม
เวทีประชุมทราบ/แก้ไข/ให้มติเห็นชอบร่ วมกันงดยเฉพาะ
ข้อสรุ ปแนวทางในการสร้างความร่ วมมือเพื่อคลี่คลายปั ญหา
หรื อการกาหนดแนวทาง กิจกรรมการพัฒนาร่ วมกัน งดย
- กาหนดแผนการพบปะกันในครั้งถัดไป
- กาหนดรายชื่อแกนนาที่จะเข้าร่ วมหารื อในครั้งถัดไป
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นการหารือในเวทีการประชุม (ต่ อ)
กาหนดกรอบคร่ าวๆ ให้ มกี ารพูดคุยใน 3 ประเด็น
3. สรุ ปการประชุม ให้มีการสรุ ปผลในที่ประชุมเพื่อให้ผเู ้ ข้าร่ วม
เวทีประชุมทราบ/แก้ไข/ให้มติเห็นชอบร่ วมกันงดยเฉพาะ
ข้อสรุ ปแนวทางในการสร้างความร่ วมมือเพื่อคลี่คลายปั ญหา
หรื อการกาหนดแนวทาง กิจกรรมการพัฒนาร่ วมกัน งดย
- กาหนดแผนการพบปะกันในครั้งถัดไป
- กาหนดรายชื่อแกนนาที่จะเข้าร่ วมหารื อในครั้งถัดไป
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
เทคนิคการจัดเวทีเครือข่ ายโดยสรุป
จัดเวทีพูดคุย ใคร กับ ใคร เมื่อไหร่ เรื่องอะไร
ก่อนปิ ดเวทีทุกครั้งจะต้ อง มีเรื่องนีท้ ุกครั้ง
- ต้ องได้ ข้อคิดเห็นร่ วม หรือประเด็นร่ วม
- ต้ องได้ ประเด็นทีเ่ ป็ นการบ้ านกลับไปทา
- ต้ องได้ ประเด็นที่จะพบกันครั้งต่ อไป
- กาหนดการและกาหนดกิจกรรมและบุคคลในครั้งถัดไป
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การเตรียมการวางแผนเพือ่ จัดเวที
• การวางแผนการจัดเวทีเครือข่ ายจะทาให้ การ
จัดเวทีเครือข่ ายเป็ นไปตามเป้ าหมายที่ต้องการ
และสามารถวัดผลสาเร็จในเชิงกระบวนการได้
อย่ างเป็ นระบบ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ความหมายของคลัสเตอร์
คลัสเตอร์ (cluster) คือ กลุ่มของธุรกิจและสถาบันที่
เกีย่ วข้ องมารวมตัวดาเนินกิจกรรมในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกัน มีความ
ร่ วมมือเกือ้ หนุนเชื่อมโยงและเสริมกิจการซึ่งกันและกันอย่ างครบ
วงจร ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เพือ่ บรรลุเป้าหมายร่ วมกัน คือ
การเพิม่ ผลิตภาพ (Productivity) ของคลัสเตอร์ โดยรวม
ที่มา : สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
คลัสเตอร์ ?
•
•
•
•
•
กลุ่มสิ นค้ า (Category of Products)
กลุ่มจังหวัด (CEO Clustering)
นิคมอุตสาหกรรม (Industrial Zone)
สมาคม / ชมรม / สภา
พันธมิตรทางการค้า (Business Alliance)
เหล่ านีย้ งั อาจไม่ ใช่ Cluster
ทีม่ ีองค์ ประกอบสมบูรณ์
ที่มา : สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
สภาพภูมิศาสตร์ กบั คลัสเตอร์
การเกาะตัวตามธรรมชาติ
การเกาะตัวหลังการพัฒนา
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ลักษณะการเกาะตัวทางภูมิศาสตร์
1. มีแหล่งวัตถุดิบทีเ่ ข้ าถึงง่ าย
2. มีเงื่อนไขของสภาพดิน สภาพอากาศทีเ่ หมาะสม
3. มีโอกาสทีเ่ อือ้ อานวยให้ เกิดการรวมตัวกันของธุรกิจ
4. เกิดจากการผลักดันของภาครัฐ เช่ นการเกิดนิคม
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ลักษณะการเชื่อมโยงของเครือข่ าย
เชื่อมโยงแนวตั้ง
การเชื่อมโยงกันของธุรกิจตั้งแต่ ต้นนา้ ถึงปลายนา้
เชื่อมโยงแนวนอน
การเชื่อมโยงกันของธุรกิจสนับสนุนต่ างๆ เช่ นสถาบันการ
เงิน ภาคการบริการ ธุรกิจทีส่ ั มพันธ์ กนั องค์ กรด้ านการ
วิจัยพัฒนา สมาคมองค์ กรที่เกีย่ วข้ อง
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
องค์ ประกอบสาคัญของคลัสเตอร์
1. มีการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน (Connectivity)
2. มีความร่ วมมือ (Collaboration)
3. มีการแข่ งขัน (Competition)
4. เกิดประสิ ทธิภาพโดยรวม (Collective Efficiency)
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
1. การเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน (Connectivity)
ก่ อให้ เกิดการแลกเปลีย่ นและถ่ ายทอดความรู้
ข้ อมูลข่ าวสาร
เป็ นการเชื่อมโยง ทั้งแนวตั้งและแนวนอน
การเชื่อมโยงไม่ ได้ จากัดอยู่เพียงผู้ประกอบการเท่ านั้น
แต่ รวมถึงสถาบันการศึกษา/วิจยั และพัฒนา
สถาบันการเงิน องค์ กรภาครัฐ สมาคม เอกชน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
2. ความร่ วมมือ (Collaboration)
สมาชิกใน Cluster จะร่ วมมือกัน โดยมีการกาหนด
เป้าหมายร่ วมกัน (Core Objective/Value)
รวมทั้งกลยุทธ์ โดยมีเครื่องมือวิเคราะห์ ความสามารถ
ทางการแข่ งขันในทางเศรษฐกิจเป็ นกลไกในการกาหนด
เป้าหมาย และกลยุทธ์ ร่วมในการพัฒนา
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
3. การแข่ งขัน (Competition)
Cluster มิใช่ ระบบผูกขาดทางการค้ าทีม่ ่ ุงกาหนด
กลไกราคาหรือปริมาณ เพือ่ ผลประโยชน์ ร่วมของ
สมาชิก
การรวมกลุ่มแบบ Cluster จะต้ องอยู่บนพืน้ ฐาน
ของการแข่ งขัน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
4. ประสิ ทธิภาพโดยรวม (Collective Efficiency)
ความร่ วมมือท่ ามกลางการแข่ งขันประกอบกับ
การเชื่อมโยงทีเ่ ป็ นระบบ การแลกเปลีย่ นข้ อมูล
ความรู้ ตลอดจนทรัพยากรต่ างๆ จะทาให้ เกิด
ประสิ ทธิภาพโดยรวม
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
คลัสเตอร์ ทาให้ เกิดการเพิม่ ผลิตภาพโดยรวมและนาไปสู่ ความสามารถในการแข่ งขัน
ภาคเอกชน :
ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้ อง
ตั้งแต่ ต้นนา้
ถึงปลายนา้
สถาบันการศึกษา
และ R&D : พัฒนา
เสริมสร้ างพืน้ ฐานด้ าน
ทรัพยากรมนุษย์
และนวัตกรรม
CLUSTER
ภาครัฐบาล :
นโยบาย กฎ
ระเบียบเกีย่ วกับ
อุตสาหกรรม
ทีม่ า : สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
สถาบัน/สมาคม/
ผู้ให้ บริการต่ างๆ :
พืน้ ฐานการพัฒนา
เทคนิคและการรวม
กลุ่มธุรรกิจ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
บทบาทของฝ่ ายต่ างๆ ในคลัสเตอร์
• ริเริ่ม รวมกลุ่ม
• เชื่อมโยงความคิดและ
ประสบการณ์
• เป็ นแกนหลักดาเนิน
โครงการทีเ่ ป็ นความ
ต้ องการร่ วมกัน
• สนับสนุนข้ อมูล
องค์ ความรู้
• ร่ วมวิจัย คิดค้ น
นวัตกรรม
• ร่ วมพัฒนาบุคลากร
ของธุรกิจ
องค์กร
ภาครัฐ
ผูป้ ระกอบการ
เอกชน
Cluster
สถาบันการ
ศึกษา/วิจยั
• ประสานการดาเนินงาน
• สนับสนุนโครงการทีเ่ ป็ น
โครงสร้ างพืน้ ฐาน/
ภาพรวมของอุตสาหกรรม
• สร้ างสภาวะแวดล้ อมที่
เอือ้ ต่ อการพัฒนาธุรกิจ/
อุตสาหกรรม
หน่ วยสนับสนุน • เป็ นที่ปรึกษา
อื่นๆ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทีม่ า : สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
• ผู้ประสานงาน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประโยชน์ ของคลัสเตอร์
ช่ วยให้ เกิดการ
แลกเปลีย่ นข้ อมูล
และองค์ ความรู้ ของ
สมาชิก
ส่ งเสริมการเกิด
ธุรกิจใหม่ และ
การขยายตัวของ
ธุรกิจเดิม
ช่ วยลดต้ นทุนของ
ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้ อง
ช่ วยเพิม่
ประสิ ทธิภาพและ
คุณภาพอย่ าง
ต่ อเนื่อง
ทีม่ า : สานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
ส่ งเสริมการสร้ าง
นวัตกรรม
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
มีเจ้ าภาพหรือแกนกลาง
ในการริเริ่ม ผลักดันและ
มีกลไกในการบริหาร
จัดการทีเ่ ข้ มแข็งและ
มีประสิ ทธิภาพ
การมีส่วนร่ วมของทุก
ฝ่ ายที่เกีย่ วข้ อง ทั้งภาค
รัฐ เอกชนและประชาชน
ในท้ องถิ่น โดยแสดงบทบาท
ทีเ่ หมาะสมของตน
มีระบบข้ อมูลทีท่ ุกฝ่ าย
สามารถเข้ าถึง และใช้
ประโยชน์ ได้ และมีการ
แลกเปลีย่ นข้ อมูลซึ่งกัน
และกัน ภายในคลัสเตอร์
ปัจจัยแห่ งความสาเร็จ
ในการพัฒนาคลัสเตอร์
การมีวิสยั ทัศน์และ
ยุทธศาสตร์ร่วมของ
ผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ าย
ในการพัฒนาคลัสเตอร์
สมาชิกเชื่อใจวางใจกัน
และสมัครใจในการลงทุน
เพือ่ พัฒนาคลัสเตอร์
มีผ้ ปู ระสานงานคลัสเตอร์
ทาหน้ าทีผ่ ลักดันให้ เป็ น
ไปตามแนวทางทีก่ าหนด
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์
การสร้ างความร่ วมมือบนพืน้ ฐานของการแข่ งขันกัน
การกาหนดทิศทางและเป้าหมายและกลยุทธ์ การพัฒนา
การแลกเปลีย่ นข้ อมูล ข่ าวสาร ความรู้ ตลอดจน
ทรัพยากรต่ างๆ ระหว่ างกัน เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ขั้นตอนการพัฒนาคลัสเตอร์
กระตุ้น/สร้ างจิตสานึกของการรวมกลุ่ม
ให้ เข้ าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ
(Promotion and Mobilization)
วิเคราะห์ สถานภาพของ
คลัสเตอร์ (Diagnosis)
นาไปสู่ การปฏิบัติ
(Implementation)
จัดทายุทธศาสตร์
ทีเ่ ป็ นความเห็นร่ วมกัน
(Collaborative Strategy)
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการสร้ างเครือข่ ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร
(Agriculture-base Supply Chain network : Cluster Competitiveness)
เน้ นการนาเอาแนวคิดและเครื่องมือ
การพัฒนาคลัสเตอร์ มาใช้ ในการดาเนินงาน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
แนวคิดการสร้ างเครือข่ ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร
(Agriculture-base Supply Chain network : Cluster Competitiveness)
สร้ างโอกาสให้ ทุกภาคส่ วนได้ มีส่วนร่ วมในการระดม
ทั้งความคิดและทรัพยากรในการสนับสนุนการการ
พัฒนาสิ นค้ าเกษตรปลอดภัยและได้ มาตรฐาน โดยมุ่งที่
เสริมสร้ างความสามารถในการแข่ งขัน โดยมีการกาหนด
เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กิจกรรม ทีเ่ อือ้ กันอย่ างชัดเจน
และก่อประโยชน์ แก่ทุกฝ่ าย
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ความหมาย เครือข่ ายบูรณาการภาคการผลิตทางการเกษตร
(Agriculture-base Supply Chain network)
เครือข่ ายประเภทหนึ่งทีป่ ระกอบด้ วยผู้แทนกลุ่มผู้ประกอบการตลอด
สายการผลิตและองค์ กรสนับสนุนการขับเคลือ่ นผู้ประกอบการดังกล่าว
ได้ แก่ องค์ กรด้ านทุน การขนส่ ง/บริการ สถาบันงานทางวิชาการ และ
หน่ วยงานภาครัฐ มาดาเนินงานร่ วมกันโดยมุ่งเน้ นทีก่ าหนดเป้าหมาย
การพัฒนาคุณภาพของสิ นค้ าเกษตรและการตลาดของสิ นค้ าเกษตร เพือ่
นามาวางยุทธศาสตร์ และ ดาเนินการการขับเคลือ่ นการพัฒนาของกลุ่ม
สิ นค้ าเกษตรของพืน้ ที่ให้ สามารถแข่ งขันได้
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประโยชน์ ของเครือข่ ายบูรณาการฯ
ความเข้ าใจและความร่ วมมือกันของทุกภาคส่ วนในพืน้ ทีใ่ น
การพัฒนากลุ่มสิ นค้ าเกษตรหนึ่งๆ ผ่ านกระบวนการวิเคราะห์
ปัญหาและการวางเป้าหมายการพัฒนาร่ วมกัน
เกิดการบูรณาการทางความคิด และการกาหนดยุทธศาสตร์
แผนงานกิจกรรมทีเ่ พือ่ การบรรลุเป้าหมายทีม่ ีเจ้ าภาพใน
แต่ ละกิจกรรมชัดเจน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประโยชน์ ของเครือข่ ายบูรณาการฯ
เกิดการขับเคลือ่ นการพัฒนาผ่ านกระบวนการกลุ่มเพือ่
ปฏิบัติและขับเคลือ่ นกิจกรรม
เกิดการพัฒนานัวตกรรมทีส่ ามารถสร้ างให้ กลุ่มสิ นค้า
การเกษตรมีความแตกต่ างและได้ เปรียบในการแข่ งขัน
เกิดการวางรากฐานของผลประโยชน์ ร่วมกันทีน่ ามาสู่ การ
ร่ วมมือเชิงแข่ งขัน( win win position)ในกลุ่มผู้ผลิตตลอด
supply chain
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ขั้นตอนการสร้ างและพัฒนาเครือข่ ายบูรณาการฯ
วิเคราะห์ สถานภาพสิ นค้ า
และเครือข่ าย
กระตุ้น/สร้ างจิตสานึกของการรวมกลุ่ม
ให้ เข้ าใจยุทธศาสตร์ และกระบวนการ
จัดเวทีแกนนา
วิเคราะห์ ศักยภาพสิ นค้ า/
เครือข่ ายเชิงลึก
ปฏิบัต/ิ ติดตาม/ประเมิน
กาหนดแผนปฏิบัติ
ภารกิจของสมาชิกเครือข่ าย
บูรณาการยุทศาสตร์
ในแผนพัฒนาพืชจังหวัด
กาหนดเป้ าหมาย/
ยุทธศาสตร์ การพัฒนา
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การคัดเลือกเครือข่ ายบูรณาการฯ
เป็ นกลุ่มสิ นค้ าเกษตรอาหารทีเ่ ป็ นยุทธศาสตร์ จังหวัด
มีการกระจุกตัวและมีผลกระทบต่ อเศรษฐกิจของจังหวัด
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยครอบคลุมห่ วงโซ่ อุปทาน และมีความ
สนใจกระตือรือร้ น
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
เครื่องมือช่ วยวิเคราะห์ ศักยภาพสิ นค้ า/เครือข่ าย
การวิเคราะห์ ห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain Analysis)
การวิเคราะห์ แผนภูมิเครือข่ าย ( Cluster Mapping)
การวิเคราะห์ ศักยภาพในการแข่ งขัน (Daimond Model Analysis)
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การวิเคราะห์ ห่วงโซ่ อุปทาน
ห่ วงโซ่ อปุ ทาน ( Supply Chain)
หมายถึงการเชื่อมต่ อของหน่ วยต่ างๆในการผลิตสิ นค้ าโดยเริ่มตั้งแต่ ต้น
สายการผลิตไปยังขั้นตอนการผลิตต่ อๆมาจนถึง ลูกค้ าผู้จัดจาหน่ าย และ
ลูกค้ าทีเ่ ป็ นผู้บริโภค
ประโยชน์
เพือ่ มองการเลือ่ นไหลของสิ นค้ าทีเ่ ครือข่ ายผลิตตั้งแต่ ต้นทางจนถึง
ปลายทาง ซึ่งจะทาให้ เครือข่ ายเห็นภาพสิ นค้ าของตนชัดเจน และ
มองเห็นผู้ทเี่ ข้ ามาเกีย่ วข้ องกับกระบวนการผลิตของตน
ตัวอย่ างวิถีตลาดปาล์ มน้ามันไทย
(1) ชาวสวน
ของ
เหลือ
(2) ลาน
(3) โรงหีบ
นา้ มันเมล็ดใน
ปาล์ มดิบ
ส่ งออก
(4) โรงกลัน่ บริสุทธิ์
กรดปาล์ ม
นา้ มันปาล์ มดิบ
สบู่
นา้ มันบริสุทธิ์ไม่ แยกไข
ไขปาล์ มบริสุทธิ์
ไบโอดีเซล
อาหารสัตว์
อาหาร
นา้ มันบริสุทธิ์ใส
นา้ มันพืช
ยา /สาอางค์
โรงกลัน่
(ผสมนา้ มันมะพร้ าว
ส่ งออก
บริโภค
ตัวอย่ าง
ห่ วงโซ่ อุปทานของเห็ดจากทะลายปาล์ ม
ผู้ขนส่ ง
ทะลายปาล์ ม
ตลาดใน
จังหวัด
ผู้จาหน่ าย
ทะลายปาล์ ม
ผู้ค้าเชื้อเห็ด
เกษตรกร
เพาะเห็ด
ผู้รวบรวม
ผู้
บริโภค
ตลาดค้ าส่ ง
กรุ งเทพ
โรงแรม/
ร้ านอาหาร
ผู้ค้าวัสดุเพาะ
ปัจจัยอืน้ ๆ
เส้ นทางปัจจุบนั
เส้ นทางอนาคต
โรงงานอุตสาหกรรม
แปรรู ป
สด
ผู้ผลิพลังงาน
ทดแทน
Bio desel
ตัวอย่ าง2
สวนโรงงาน
กลุ่มเมล็ด
พันธุ์
ผู้ผลิตกล้ า
สวนใหญ่
สวน
เกษตรกร
นาเข้ า.
โรงงาน
หีบย่ อย
ลานเทอิสระ
ผลิตเอง
ผู้ส่งออก
โรงกลัน่
บริโภค
ผู้
ส่ งออก
อุตสาหกรร
มอาหาร
โรงงาน
สบู่
อาหารสั ตว์
อุตสาหกรร
มเคมี
ผู้จัดหา/ผู้
ขนส่ ง
โรงงาน
กรมวิชา
การฯ
เมล็ด
โรงงาน
หีบใหญ่
ประมง?
สหกรณ์ /กลุ่ม
กล้า
สวน
ลาน
หี บ
ขนส่ ง
แปรรู ป
พ่อค้า
แปรรู ป
จัดจาหน่าย
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การวิเคราะห์ แผนผังเครือข่ าย
คือการวิเคราะห์และจัดกลุ่มแกนนาการผลิต การหารระดับ
ความสัมพันธ์ของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในกลุ่มการค้าหนึ่งๆที่มีความ
เชื่อมงยงกันทั้งแนวตั้งแนวนอน
•เชื่อมโยงแนวตั้ง คือการเชื่อมโยงกันของธุรกิจตั้งแต่ ต้นนา้ ถึงปลายนา้
•เชื่อมโยงแนวนอน คือการเชื่อมโยงกันธุรกิจสนับสนุนต่ าง เช่ นสถาบัน
การเงิน ภาคการบริการ ธุรกิจทีส่ ั มพันธ์ กนั องค์ กรด้ านการวิจัยพัฒนา
สมาคมองค์ กรทีเ่ กีย่ วข้ อง
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ตัวอย่ างแผนภูมิเครือข่ าย
หน่ วยงานภาครัฐ
ธุรกิจ
เกีย่ วข้ อง
ธุรกิจหลัก
องค์ กรวิจัย
พัฒนา
องค์ กรพัฒนา
เครือข่ าย
ธุรกิจ
บริการ/
สนับสนุน
ตัวอย่ างแผนผังเครือข่ ายบูรณาการเห็ดฟางจ.กระบี่
( Krabi Mushroom Cluster Map )
เกษตรจังหวัด
สาธารณสุ
ขจังหวัด
หน่
ว
ยงานภาครั
ฐ
พาณิชย์ จงั หวัด การค้าภายในจังหวัด
อุตสาหกรรมจังหวัด
อปท.
ธุรกิ
โรงหีบนา้ มันปาล์ม........โรง
เกี
่
ย
วข้
อ
ผู้เพาะเชื้อเห็ด........ราย
ผู้คง
้าวัสดุเพาะ........ราย
อุตสาหกรรมแปรรูป ..ราย
ธุรกิจหลัก
ผู้ค้าเชื้อเห็ด...ราย
ผู้รับซื้อ.....ราย
ผู้เพาะเห็ด...........กลุ่ม.......คน
ธุรกิจบริการ/
ผู้ประกอบการขนส่
สนั
บสนุน ง...ราย
สถาบันการเงิน..........ราย
สถาบันรัลรองฯ.........ราย
ผู้ประกอบการส่ งออก..ราย
ิ
องค์
ก
รว
จ
ย
ั
วิทยาลัยเกษตรฯกระบี่
พั
ฒ
นา
ชมรมเห็ดแห่ งประเทศ
องค์
ก
รพั
ฒ
นา
สานักพัฒนาเกษตรกร
เครือข่าย
ไทย
คลัสแตอร์ ปาล์ม จ.กระบี่
สภาอุตสาหกรรมกระบี่
ตัวอย่ างการจัดทารายละเอียดศักยภาพเครือข่ าย
ประเด็น
1 กลุ่มผลิตหลัก
- ชาวสวน
ขนาด
สิ่ งทีพ่ บ
- ลานเท
22,418 ราย
- 40 กลุ่มผู้ปลูก
- 24 เอกชน
- 1 สหกรณ์
107 ลานเท
- การรวมกลุ่มหลวม ๆ
-ไม่ มีการเชื่อมโยงเครือข่ าย
-ไม่ มั่นใจผลผลิต ไม่ มีมาตรฐาน
- ลานเทอิสระ/เครือข่ ายโรงงาน
- โรงงานสกัด
15 โรง
- ขนาดกลาง
- การรวมกลุ่มหลวมๆ
- โรงกลัน่
1 โรง
ตัวอย่ างการจัดทารายละเอียดศักยภาพเครือข่ าย(ต่ อ)
ประเด็น
ขนาด
สิ่ งทีพ่ บ
2 ธุรกิจเกีย่ วข้ อง
- แปลงเพาะกล้า
42 ราย (6 อาเภอ) - ผ่ านการรับรอง 23 ราย
- ปุ๋ ย /สารเคมี
92 ราย
- อุตสาหกรรมอาหาร/ยา
- ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ จาก
ชีวมวล
- ร้ านค้ าอิสระ เชื่อมโยงกับ
ผู้ผลิตโดยตรง
ตัวอย่ างการจัดทารายละเอียดศักยภาพเครือข่ าย(ต่ อ)
ประเด็น
3 สถาบันเฉพาะทาง
- มอ.
- แม่ โจ้
- วิทยาลัยเกษตร
ชุมพร
- ม. จุฬาฯ
- ม. มหิดล
- ม. ลาดกระบัง
- ม.เกษตรฯ
ลักษณะงาน
ศึกษาวิจัยปาล์ มนา้ มันทั้งระบบ
เพิม่ ผลผลิต การทดสอบพันธุ์ ระบบนา้
ศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากชีวมวล
และBy Product อืน่ ๆ
ระบบนา้
ไบโอดีเซล
ตัวอย่ างการจัดทารายละเอียดศักยภาพเครือข่ าย(ต่ อ)
ประเด็น
4 ธุรกิจ/บริการสนับสนุน
- สถาบันการเงิน
- ธกส.
- สหกรณ์
- ธนาคารพานิชย์
- ประกันภัยโรงงาน
5 องค์ กรพัฒนาเครือข่ าย
ขนาด
สิ่งที่พบ
คีนันแห่ งเอเซีย
ตัวอย่ างการจัดทารายละเอียดศักยภาพเครือข่ าย(ต่ อ)
ประเด็น
6 ส่ วนภาครัฐ
1 กระทรวงเกษตรฯ
-กรมส่ งเสริมการเกษตร
-กรมวิชาการเกษตร
2 กระทรวงอุตสาหกรรม
- กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม
3 กระทรวงพาณิชย์
4 กระทรวงพลังงาน
5 ราชการส่ วนภูมิภาค
องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ลักษณะงาน
การส่ งเสริมการผลิต การรวมกลุ่ม
สนับสนุนพันธุ์ดี รับรองพันธุ์ รับรองระบบ
การผลิต กฎระเบียบการผลิต
ส่ งเสริมอุตสาหกรรม มาตรฐานกฎระเบียบ
โรงงาน การรับรองระบบโรงงาน
กฎระเบียบการค้ า
พัฒนาพลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล)
สนับสนุนการพัฒนาเครือข่ ายและกลุ่มการ
ผลิตทั้งวงจร
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การวิเคราะห์ ศักยภาพการแข่ งขัน
เพือ่ วิเคราะห์ จุดอ่ อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค
และปัจจัยทีก่ าหนดความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
เครื่องมือ
SWOT และ ไดมอนด์ โมเดล (Diamond Analysis)
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การวิเคราะห์ ศักยภาพการแข่ งขัน
การใช้ SWOT
4 ประเด็นสาคัญคือ
- จุดอ่อน/แข็ง ของตัวเครือข่ าย และสิ นค้ าทีเ่ ครือข่ าย ดาเนินการผลิต
- จุดอ่อน/แข็ง ของปัจจัยด้ านทรัพยากร แรงงาน ทุน เทคโนโลยีการ
ผลิตของตัวสิ นค้ า
- โอกาส/ อุปสรรคทีจ่ ะมีอุตสาหกรรมต่ อเนื่องของสิ นค้ าทีผ่ ลิต
- โอกาส/อุปสรรคในเรื่องของตลาดได้ แก่ความต้ องการ
ความคาดหวัง และการมีส่วนแบ่ งในตลาด
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การวิเคราะห์ ศักยภาพการแข่ งขัน
การใช้ Diamond
วิเคราะห์ ขีดความสามารถในการแข่ งขันโดยวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
4 ด้ านทีม่ ีความเกีย่ วพันซึ่งกันและกันได้ แก่
 ทรัพยากรและโครงสร้ างพืน้ ฐาน
 ปัจจัยทางอุปสงค์ และความต้ องการของตลาด
 ธุรกิจและอุตสาหกรรมสนับสนุนที่
 ปัจจัยแวดล้อมธุรกิจและสภาวะการแข่ งขัน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
Diamond Model
บริบทการแข่งข ัน
และการดาเนิน
กลยุทธ์ทางธุรกิจ
เงือ
่ นไข
ของปัจจ ัย
การผลิต
เงือ
่ นไขด้าน
ตลาด
อุตสาหกรรมที่
เกีย
่ วโยงและ
สน ับสนุน
ร ัฐบาล
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
สภาพของปัจจัยการผลิต (Factor Conditions)
ประกอบด้ วย
วัตถุดิบ แรงงาน เงินทุน ทีด่ ิน เทคโนโลยี ความรู้ ระบบสาธารณูปโภคที่
ครบถ้ วนเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ ง
ปัจจัยพืน้ ฐาน ได้ แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศ ต่าแหน่ งที่ต้งั
แรงงาน ชานญ/ไม่ ชานาญ รวมถึงทุน
ปัจจัยขั้นสู ง ได้ แก่ ระบบสาธารณูประโภค ระดับความรู้ความสามารถของ
บุคลากรทุกส่ วนทีเ่ กือ้ หนุน ระดับการวิจัย และเทคโนโลยี
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ประเด็นพิจารณา สภาพของปัจจัยการผลิต (Factor Conditions)
ถ้ ากลุ่มการผลิตมีปัจจัยทีม่ ีความพร้ อม ทั้งปริมาณทีห่ ลากหลาย
คุณภาพทีด่ ี สามารถยกระดับให้ มีคุณภาพและขีดความสามารถ
สู งขึน้ จะแสดงถึงระดับความได้ เปรียบในการแข่ งขันได้
ความได้ เปรียบ พิจารณาที่
1. ความพร้ อม
2. สั ดส่ วนของปัจจัยทีม่ ีในประเทศ
3. ความสามารถในการเสร้ างเสริมและยกระดับให้ มีคุณภาพ
4. ผลกระทบหากมีการปรับปรุงหรือลดทอน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
สภาพของตลาด (Demand Conditions)
จะมุ่งพิจารณาทีต่ ลาดภายในเป็ นอันดับแรก ตลาดภายในถือว่ าเป็ นตัวบ่ ม
เพาะความสามารถในการแข่ งขัน ในขณะทีต่ ลาดภายนอกจะทาหน้ าที่
กระตุ้นและเป็ นตัววางค่ าเป้าหมายเปรียบเทียบถ้ าตลาดภายในมีการแข่ งขัน
มากจะเกิดความได้ เปรียบในการแข่ งขันสู ง พิจารณาจาก
ส่ วนแบ่ งตลาด/ขนาดตลาด
การพัฒนาเพือ่ สนองตอบต่ อความต้ องการในเรื่องคุณาภาพของผู้ซื้อ
ความอ่อนไหวของการเปลีย่ นแปลงความต้ องการสิ นค้ าของผู้ซื้อ/
การปรับตัวของตลาด
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
สภาพของอุตสาหกรรมทีส่ นับสนุน และอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วเนื่อง
คือระดับเข้ มแข็งของอุตสาหกรรมต่ อเนื่องทั้งจากปัจจัย และอุตสาหกรรมที่
ต่ อยอดออกไป ยิง่ มีอุตสาหกรรมต่ อยอดทีเ่ ข็มแข็ง ยิง่ ได้ เปรียบ
ซึ่งพิจารณาถึง
การเข้ าถึงปัจจัยทีร่ วดเร็วมีประสิ ทธิภาพ
ระดับความร่ วมมือระหว่ างกัน
ความร่ วมมือด้ านนวัตกรรมและการยกระดับการผลิต
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
กลยุทธ์ /โครงสร้ างของกลุ่มการผลิตหลัก และสภาวะการแข่ งขัน
คือระดับการแข่ งขันกันของกลุ่มการผลิตหลักทั้งด้ านราคาและคุณภาพที่
นามาสู่ การสร้ างและพัฒนานัตกรรมใหม่ ๆ ทีส่ ร้ างโอกาสทีไ่ ด้ เปรียบในการ
แข่ งขันมากขึน้
ความรุนแรงของการแข่ งขัน
ระดับความร่ วมมือในเชิงนวัตกรรม
ระดับของความหนาแน่ นของการกระจุกตัวของกลุ่มสิ นค้ า
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
อิทธิพลที่กระทบต่ อการสร้ างโอกาส/อุปสรรค
คือการส่ งเสริมและการขัดขวางของภาครัฐ ใน
เชิงนโยบาย กฎหมาย กฎระเบียบมางการค้ า
มาตรการสนับสนุน/ยกเลิก เป็ นต้ น
ตัวอย่ างผลการวิเคราะห์ เครือข่ ายเห็ดจากทะลายปาล์ ม
- ยังมาสามารถผลิตได้ อย่ างสม่าเสมอ/ต้ นทุนเหมาะสม
- การควบคุมและประกันคุณภาพในระบบการผลิตยังไม่ มี
+ มีกลุ่มการผลิตกระจายในพืน้ ที่
- การประสานกันของเครือข่ ายยังอยู่ในลักษณะหลวมๆ
+ แรงงานมีความชานาญในการผลิต
+ สถาบันการศึกษาในท้ องถิน่ ให้ ความสนใจ
-วัตถุดบิ มีแนวโน้ มขาดแคลนเนื่องจาก
ธุรกิจหลัก
ความต้ องการทะลายปาล์มในธุรกิจอืน่
มีสูงขึน้
-ไม่ มีแหล่งผลิตเชื้อเห็ดเองในจังหวัด
+มีแหล่งทุนวนับสนุนที่หลากหลาย
-ไม่ มีการเชื่องโยงสถาบัทรั
น พยากร/
การเงินสนับสนุนการ
ลงทุนทั้งระบบ ปัจจัยสนับสนุน
(ผู้จาหน่ ายเชื้อ ผู้ผลิต
ผู้รับซื้อ)
ธุรกิจ
- ยังไม่ มีระบบการขนส่ งที่ช่วยในการลดต้ นทุนและ
ต่ อเนื่อง/
รักษาคุณภาพวัตถุดบิ /ผลผลิต
สนับสนุน
- ขาดการวิจยั และพัฒนาอุตสาหกรรม
+ มีแนวโน้ มดีในการลงทุน
ต่ อเนื่องจากเห็ดสด
เรื่องของอุตสาหกรรมต่ อเนื่องทั้ง
อุตสาหกรรมด้ านเชื้อเห็ด และการ
แปรรูปสินค้าจากเห็ด
+คุณภาพเรื่องความสด ขนาด
ความต้ องการ +ช่ องทางโอกาสขยายตลาด
ของตลาด ในจังหวัดและนอกพืน้ ที่
จังหวัดมีมาก
กฎระเบียบ
/นโยบาย
+ รัฐสนับสนุนการรับรองคุณภาพ/มาตรฐาน
แก่ผ้ปู ระกอบการทั้งระบบ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
การกาหนดกลยุทธ์
องค์ ประกอบแผนกลยุทธ์
•
•
•
•
•
วิสัยทัศน์ ระยะ 1 – 3 ปี
พันธกิจ
เป้าประสงค์
ประเด็นยุทธศาสตร์
แผนงานและกิจกรรม
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
กาหนดทางเดินร่ วมกัน
กาหนดเป้าหมายร่ วมกัน
กาหนดกรอบของเส้ นทางที่จะเดิน
กาหนดเป้าหมายความสาเร็จ
กาหนดแนวทางการมุ่งสู่ เป้าหมาย
กาหนดวิธีการปฎิบัตติ ามแนวทาง
= วิสัยทัศน์
= พันธกิจ
= เป้าประสงค์
= กลยุทธ์
= แผนปฏิบัตงิ าน
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
เทคนิคการสร้ างยุทธศาสตร์
• วางตาแหน่ งทางการตลาดทั้งระบบ
• กาหนดเป้าหมายสู งสุ ดของการพัฒนาให้ สอดคล้องกับความสามารถปัจจุบนั
และศักยภาพในอนาคต
• เน้ นสร้ างขีดความสามารถในการแข่ งขันให้ สนองต่ อการวางตาแหน่ งทางการ
ตลาด
• ปรับเปลีย่ นสภาพและระบบต่ างๆ ให้ เกิดขีดความสามารถตามที่ต้องการ
• ติดตามกิจกรรมให้ ทนั กับการพัฒนาของตลาด เทคโนโลยี และคู่แข่ งขัน
• เน้ นการประสานผลประโยชน์ ของทุกกลุ่ม ตั้งแต่ ต้นนา้ กลางนา้ ปลายนา้
ตลอดทั้งผู้บริโภค และการแก้ไขปัญหาต่ างๆทีเ่ กีย่ วข้ อง
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ยุทธศาสตร์ ทมี่ ีนัยสาเร็จ
1. ต้ องให้ ประโยชน์ แก่ ทุกฝ่ าย มิได้ เฉพาะบางกลุ่ม
2. ต้ องเกิดการเปลีย่ นถึงระดับทีม่ ีนัยสาคัญ Quick win
3. ต้ องตั้งอยู่บนสมมติฐานของข้ อเท็จจริงและเทีย่ งธรรม
4. เป็ นทีร่ ับรู้ และเห็นชอบจากทุกฝ่ าย
5. ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยทุกฝ่ ายควรมีส่วนร่ วมในการกาหนด โดย
ได้ รับคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
ตัวอย่ างการวิเคราะห์ และจัดทายุทธศาสตร์
ปาล์ มนา้ มัม ชุมพร .ppt
เห็ดฟาง กระบี่.ppt
กลุ่มงานพัฒนากลุ่มเกษตรกร สานักพัฒนาเกษตรกร
บทสร ุปการพัฒนา
เครือข่ ายเป็ นเรื่องของผู้ร่วมในสายการผลิตมาทางานร่ วมกันบน
ฐานของ
• การสร้ างความเข้ าใจ ไว้ ใจ เต็มใจ พอใจ ร่ วมกัน
• อยู่บนพืน้ ฐานข้ อมูล และการแบ่ งปันข้ อมูลร่ วมกัน
• ดาเนินการพัฒนาไปพร้ อมๆ กัน
• ก้ าวสู่ ความแข็งแกร่ งทางเศรษฐกิจร่ วมกัน
แหล่ งข้ อมูลประกอบการนาเสนอ
สถาบันคีนันแห่ งเอเชีย : คุณสุ วชิ า มิง่ ขวัญ คุณเฉลียว วรรณสวัสดิ์
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
คุณภานี บุณญเกือ้ กูล กลุ่มเครือข่ าย(คลัสเตอร์ )ผักปลอดภัยภาคตะวันตก
สานักงานเกษตรจังหวัดชุ มพร
GTZ-Business and Financial Services Component