การใช้การสอบขับเคลื่อนการสอน - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

Download Report

Transcript การใช้การสอบขับเคลื่อนการสอน - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

การใช้ การสอบขับเคลือ่ นการสอน
สมัยเรี ยนหนังสือผมได้ รับการสั่งสอนว่ า การจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนเป็ น “ตัวแปรต้ น” ส่ วน
การวัดและการประเมินผลเป็ น “ตัวแปรตาม” จัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอนอย่ างไร ด้ วยวัตถุ
ประสงค์ เป้าหมายอย่ างไรก็ต้องสร้ างเครื่ องมือสอบ
วัดให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายนัน้
แต่ สภาพจริงในปั จจุบัน ผมมี “ความรู้สึกว่ า”
การวัดและการประเมินผลกลายเป็ น “ตัวแปร
ต้ น” ส่ วนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กลายเป็ น “ตัวแปรตาม”
ผู้สอนจานวนไม่ น้อยจะศึกษาข้ อสอบ โดยเฉพาะ
ข้ อสอบระดับชาติเช่ น ข้ อสอบที่ใช้ ในการคัดเลือกเข้ า
ศึกษาต่ อในระดับต่ างๆ ข้ อสอบที่เรี ยก กันติดปากว่ า
“O-NET” “GAT/PAT” แล้ วจัดกิจกรรมการเรี ยน
การสอนเพื่อให้ นักเรี ยนทาข้ อสอบเหล่ านัน้ ได้ จานวน
ไม่ น้อยอาจละเลยการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่
พัฒนาศักยภาพและคุณลักษณะตามอุดมการณ์ และ
เป้าหมายของการพัฒนานักเรี ยนที่กาหนดในหลักสูตร
(ขอโทษด้ วยครั บถ้ าไม่ เป็ นจริง)
ถ้ าเป็ นเช่ นนัน้ เราก็น่าจะใช้ กระบวนการวัด
และประเมินผล เป็ นแรงกดดันหรือเป็ นตัว
ขับเคลื่อน ให้ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนตามอุดมการณ์ ท่ คี วรจะเป็ นที่กาหนดไว้ ใน
หลักสูตร จะดีหรือไม่ จะทาได้ หรือไม่
ตามทฤษฎี การวัดและประเมินผลต้ องใช้ เครื่ องมือ
ที่หลากหลาย มีความตรง และมีความเชื่อมั่นสูง แต่
สภาพจริงในปั จจุบัน เครื่ องมือที่ใช้ ในการวัดและ
ประเมินผล เราใช้ เครื่ องมือที่เรี ยกกันว่ า “กระดาษ
ดินสอ หรื อ Paper Pencil” เป็ นส่ วนใหญ่ การ
สอบภาคปฏิบัติ การประเมินจากงานที่ให้ นักเรี ยน
ทา (ในหรื อนอก ชั่วโมงสอบ) การสอบโดยการให้
นักเรี ยนได้ นาเสนอผลงานของตนเอง การสอบโดย
การสัมภาษณ์ หรื อ ซักถาม ฯลฯ ใช้ กันน้ อยมาก
ในปั จจุบัน การสอบคัดเลือกเข้ าศึกษาต่ อ และการ
สอบ “O-NET” “GAT/PAT” เน้ นการสอบโดย
ใช้ ข้ อสอบที่เรี ยกว่ า “กระดาษดินสอ หรื อ Paper
Pencil” เท่ านัน้ ในขณะที่การสอบ A-Level
ของอังกฤษมีการสอบภาคปฏิบัตดิ ้ วย ส่ วนการสอบ
ของIB (International Baccalaureate)
ก็มีการสอบภาคปฏิบัติ และประเมินจากงานที่
ให้ นักเรียนทาด้ วย
การสอบคัดเลือกเข้ าศึกษาต่ อ และการสอบ “O-NET”
“GAT/PAT” นอกจากเป็ นการสอบโดยใช้ ข้ อสอบที่
เรียกว่ า “กระดาษดินสอ หรือ Paper Pencil” แล้ ว
ส่ วนใหญ่ ยังเป็ น Paper Pencil แบบเลือกตอบ อีก
ด้ วย ในขณะที่ข้อสอบมาตรฐานระดับโลก เช่ น TOEFL,
SAT ได้ เปลี่ยนแปลงไปหมดแล้ ว มีการถาม ให้ นักเรี ยน
เขียนคาตอบ แสดงเหตุแสดงผล แสดงวิธีคิด แสดงวิธที า
ทาไมเขาต้ องเปลี่ยน และทาไมเขา ทาได้ ทัง้ ๆที่เป็ น
ข้ อสอบมาตรฐานที่มีผ้ ูสอบจานวนมากเป็ นหมื่นเป็ นแสน
คงต้ องมีอะไรดีเขาจึงทา
ข้ อสอบ PISA ก็เป็ นอีกตัวอย่ างหนึ่งที่มีรูปแบบ
ลีลาการถามให้ นักเรี ยนได้ คิดวิเคราะห์ ได้ เขียน
คาตอบ ได้ แสดงเหตุ แสดงผล แสดงวิธีคดิ แสดงวิธี
ทา ทาไม PISA จึงใช้ ข้อสอบลักษณะนี ้ เขาคงคิด
แล้ ว ว่ าต้ องมีประโยชน์ และมีคุณค่ าอย่ างแน่ นอน
ถ้ าเราปรั บการสอบทุกอย่ าง ทัง้ การสอบในโรงเรี ยน การสอบ
คัดเลือกเข้ าศึกษาต่ อ และการสอบ “O-NET”
“GAT/PAT” ให้ เป็ นข้ อสอบที่มีรูปแบบลีลาการถามให้
นักเรี ยนได้ คดิ วิเคราะห์ ได้ เขียนคาตอบ ได้ แสดงเหตุ แสดงผล
แสดงวิธีคดิ แสดงวิธีทา มีการสอบภาคปฏิบัติ มีการสอบโดย
การประเมินจากงาน ที่ให้ นักเรี ยนทา (ในหรื อนอกชั่วโมงสอบ)
มีการสอบโดยการให้ นักเรี ยนได้ นาเสนอผลงานของตนเอง
และการสอบโดยการสัมภาษณ์ หรื อซักถาม หรื อการสอบ
รู ปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา นัน้ ๆ ก็เชื่อ
แน่ ว่า การสอบลักษณะนีจ้ ะเป็ นตัวขับเคลื่อนให้ เกิดการปฏิรูป
การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ไปในทิศทางที่ถูกต้ องมาก
ยิ่งขึน้ อย่ างแน่ นอน ควรทาหรื อไม่ จะทาอย่ างไร จะทาได้
หรื อไม่
การประเมินผลเพื่อเลื่อนชัน้ (เช่ น ป. 1 ขึน้ ป. 2, ม.
2 ขึน้ ม. 3 ฯลฯ) และการประเมินผลเพื่อการ จบ
ช่ วงชัน้ (การจบ ป. 6, การจบ ม. 3, และการจบ ม.
6) ระเบียบปั จจุบันเป็ นอานาจของโรงเรี ยน เป็ นการ
ประเมินโดยใช้ วิธีการ เครื่ องมือ และข้ อสอบที่
ครู ผ้ ูสอนแต่ ละคนได้ สร้ างขึน้ ใช้ เอง เครื องมือและ
ข้ อสอบที่ สร้ างขึน้ ใช้ เองเหล่ านัน้ มีความตรง มี
ความเชื่อมั่น เพียงใด มีการศึกษาวิจัยในเรื่องนีม้ าก
น้ อยเพียงใด
ขอสมมุตติ วั อย่ างกรณีท่ แี ย่ ท่ สี ุด ผมเป็ นครู สอนเคมี
โรงเรียนมีนักเรียน ชัน้ ม. ปลาย 3 ห้ อง (ม. 4, ม. 5, ม. 6
ระดับละ 1 ห้ อง) มีครูเคมีคนเดียว มีบางเรื่องที่ผมไม่ ถนัด
จึงสอนเพียงผ่ านๆไป และบังเอิญ ภาคเรียนนีผ้ มมีปัญหา
ครอบครัวและสุขภาพ ทาให้ สอนไม่ ทนั ในบางเรื่อง จึงเร่ ง
สอนให้ ผ่านๆไป เมื่อออก ข้ อสอบผมจึงออกข้ อสอบเน้ น
เฉพาะในเรื่องที่ผมสอนเต็มเม็ดเต็มหน่ วยเท่ านัน้ จึงตัง้
คาถามว่ า ระดับคะแนน (เกรด)รายวิชาเคมีของนักเรียน
โรงเรียนนี ้ แปลผลได้ อย่ างไร ไม่ ทราบว่ ามีเหตุการณ์
อย่ างนีเ้ กิดขึน้ บ้ าง หรือไม่ หวังว่ าคงไม่ เกิดนะ
มีการศึกษาวิเคราะห์ ข้อสอบที่โรงเรี ยนต่ างๆออก
และใช้ บ้างหรื อไม่ ว่ามีความเหมาะสม มีความตรง มี
ความเชื่อถือได้ เพียงใด ถ้ ายัง น่ าจะทาโดยรีบด่ วน
ขอข้ อสอบจากโรงเรี ยนต่ างๆมาศึกษาวิเคราะห์
ไม่ ใช่ เพื่อจับผิดแต่ เพื่อการพัฒนา
เสนอให้ มีการศึกษาค้ นคว้ าว่ า นานาประเทศเขามี
วิธีการวัดและประเมินผลเพื่อการจบช่ วงชัน้ กัน
อย่ างไร แล้ วประเทศไทยควรจะทาอย่ างไร ถึงเวลา
ที่ควรจะมีการเปลี่ยนแปลงแล้ วหรื อยัง
สิ่งที่อาจทาได้ ทนั ทีในปั จจุบัน คือ กระทรวงโดย สพฐ. ออก
ระเบียบหรือกาหนดเป็ นนโยบายให้ โรงเรียนต้ องใช้ ข้อสอบของ
เขตพืน้ ที่ ในการสอบกลางภาคและปลายภาคเรียนอย่ างน้ อย
20%-30% หรือมากกว่ า ข้ อสอบดังกล่ าวออกโดยครูท่ ไี ด้ รับการ
คัดเลือกและผ่ านฝึ กอบรม ออกข้ อสอบร่ วมกับ ผู้ทรงคุณวุฒิ
เป็ นข้ อสอบที่มีรูปแบบลีลาการถามให้ นักเรียนได้ คดิ วิเคราะห์ ได้
เขียนคาตอบ ได้ แสดงเหตุ แสดงผล แสดงวิธีคิด แสดงวิธีทา
นอกจากนัน้ ยังต้ องกาหนดให้ เขตพืน้ ที่ฯจัดให้ มี การสอบ
ภาคปฏิบัติ การสอบโดยการประเมินจากงานที่ให้ นักเรียนทา (ใน
หรือนอกชั่วโมงสอบ) การสอบโดยการให้ นักเรียน ได้ นาเสนอ
ผลงานของตนเอง การสอบโดยการสัมภาษณ์ หรือซักถาม หรือ
การสอบรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสม กับธรรมชาติของรายวิชานัน้ ๆ
โดยมีการตัง้ กรรมการระดับเขตพืน้ ที่ฯทาหน้ าที่กากับดูแล
การจบช่ วงชัน้ (การจบ ป. 6 การจบ ม. 3 และการจบ ม. 6) ของ
นักเรียนไทยปั จจุบันเป็ นอานาจ ของโรงเรียน ได้ มีการศึกษาบ้ าง
หรือไม่ ว่า มีจุดดีจุดด้ อยอย่ างไรบ้ าง ประเทศอื่นๆเขาทากัน
อย่ างไร เท่ าที่ทราบ เกือบทุกประเทศจะมีหน่ วยงานกลางเข้ าไป
จัดสอบเพื่อการจบช่ วงชัน้ บางประเทศให้ นา้ หนัก การสอบจาก
หน่ วยงานกลาง 40%-50% ที่เหลือเป็ นของโรงเรียน บาง
ประเทศอาจให้ นา้ หนักการสอบ จากหน่ วยงานกลาง ถึง 80%
หรือสูงกว่ า
สิ่งที่อาจทาได้ ทนั ทีในปั จจุบัน คือ กระทรวงโดย สพฐ. ออก
ระเบียบหรือกาหนดเป็ นนโยบายให้ โรงเรียนต้ องใช้ ข้อสอบของ
เขตพืน้ ที่ ในการสอบกลางภาคและปลายภาคเรียนอย่ างน้ อย
20%-30% หรือมากกว่ า ข้ อสอบดังกล่ าวออกโดยครูท่ ไี ด้ รับการ
คัดเลือกและผ่ านฝึ กอบรม ออกข้ อสอบร่ วมกับ ผู้ทรงคุณวุฒิ
เป็ นข้ อสอบที่มีรูปแบบลีลาการถามให้ นักเรียนได้ คดิ วิเคราะห์ ได้
เขียนคาตอบ ได้ แสดงเหตุ แสดงผล แสดงวิธีคิด แสดงวิธีทา
นอกจากนัน้ ยังต้ องกาหนดให้ เขตพืน้ ที่ฯจัดให้ มี การสอบ
ภาคปฏิบัติ การสอบโดยการประเมินจากงานที่ให้ นักเรียนทา (ใน
หรือนอกชั่วโมงสอบ) การสอบโดยการให้ นักเรียน ได้ นาเสนอ
ผลงานของตนเอง การสอบโดยการสัมภาษณ์ หรือซักถาม หรือ
การสอบรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสม กับธรรมชาติของรายวิชานัน้ ๆ
โดยมีการตัง้ กรรมการระดับเขตพืน้ ที่ฯทาหน้ าที่กากับดูแล
เห็นด้ วยหรื อไม่ ถ้ าเห็นด้ วย ทุกคนต้ องช่ วยกัน
เผยแพร่ แนวคิด และผลักดันให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่ าว
14 กุมภาพันธ์ 2555
วันแห่ งความรั ก