การวัดและประเมินผลการศึก

Download Report

Transcript การวัดและประเมินผลการศึก

การปรับปรุงหลักสูตร
และแผนการดาเนินงาน
การปรับปรุ งหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔
๑. พ.ร.บ.การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
๒. การเปลีย่ นแปลงทางวิชาการ
๓. ผลการศึ ก ษาวิ จั ย และติ ด ตามประเมิ น ผล
การใช้ หลักสู ตรเป็ นระยะๆ อย่ างต่ อเนื่อง
• การจัดการศึกษายึดหลักการกระจายอานาจ (ม. ๙)
• คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.
๓๔)
• ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็ นไทย ความเป็ นพลเมืองดีของชาติ การ
ดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ (ม. ๒๗)
• ให้สถานศึกษามีหน้าที่จดั ทาสาระของหลักสู ตรเกี่ยวกับสภาพปั ญหาใน
ชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็ น
สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (ม. ๒๗)
Curriculum Change
Centralization
Decentralization
Content-based
Standards-based
Fragmented
Integrated
Teacher-centered
Child-centered
( UNESCO : International Bureau of Education, 2003)
Examples of definition of National Standards
The term curriculum standards means set
of learning outcomes that show teachers,
parents, educational officers what they can
realistically expect students to know and be
able to do in each subject by the end of each
grade. The minimum standard means the
essential learning outcomes students should
be able to demonstrate in subject studied by
the end of the key stage of school (Ex.
Grade 3, 6, 9) (Cambodia)
Learning standards are applied as criteria to
stipulate quality of learners after graduation at
basic education level. The standards are
grouped in 8 content areas: mathematics, Thai
language, science, Social studies, religion and
culture, Health and physical education, Art,
Foreign languages, and Career and technology
(Thailand).
Education standard is a normative
document that describes the basic
National curriculum standards are the
requirements or norms to measure the
standards laid down by national government
quality of education and educational
for teaching and learning across a range of
services. Curriculum is a guiding document
subjects and the associated assessment
that is structured as such components as
arrangements. The standards should reflect the
need, goal, content, methodology and
national requirements on the students of
assessment developed in accordance with
different levels in knowledge content, skills,
process and methods, emotions and attitudes, an education standard (Mongolia).
and the value system. (China).
( UNESCO : International Bureau of Education, 2003)
แนวการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ปรับปรุงบนฐานแนวคิดและหลักการสาคัญเดิมของ
หลักสูตร แต่ม่งุ เน้นการพัฒนารายละเอียดและ แนวปฏิบตั ิ
ที่จะช่ วยคลี่คลายปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั
เพื่อช่ วยให้โรงเรียนต่าง ๆ สามารถจัดทาหลักสูตรการเรียน
การสอนได้อย่างมีคณ
ุ ภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประเด็นสาคัญในการปรับปรุ ง
๑. ปรับมาตรฐานการเรี ยนรู ้/ กาหนดตัวชี้วดั ชั้นปี
๒. จัดทาหลักสูตรแกนกลาง
๓. ปรับกระบวนการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๔. เพิม่ บทบาทเขตพื้นที่การศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
แกนกลาง
สพฐ.
สพท.
โรงเรียน
- มาตรฐานการเรี ยนรู ้
- สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง
- โครงสร้างหลักสูตร
- เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
แกนกลาง
แกนกลาง
+
+
สาระการเรียนรู้
ท้ องถิ่น
สาระ
การเรียนรู้ +
ท้ องถิ่น
ส่ วนทีส่ ถานศึกษา
เพิม่ เติม
การวัดผลและประเมินผลการเรี ยน
ปัญหาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการการเรี ยน
การวัดและการรายงานผลไม่ สามารถบอกได้ ว่าผู้เรียนบรรลุมาตรฐาน
หรือไม่
ความไม่ เป็ นมาตรฐานเดียวกันในเกณฑ์ การประเมินที่สถานศึกษา
กาหนด
ปัญหาด้ านเทคนิควิธีการวัดผล
- ขาดความรู้และทักษะในการประเมินตามสภาพจริ ง
- ขาดเครื่ องมือที่มีคุณภาพในการวัดและประเมินผลและการเทียบโอนฯ
- ขาดเทคนิคการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย
ปัญหาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการการเรี ยน (ต่อ)
ปัญหาด้ านระเบียบวิธีการวัดและประเมินผล
- พร่ องในการติดตามผลการเรี ยน
- พร่ องในการนาผลการประเมินไปใช้ปรับปรุ งและพัฒนา
การเรี ยนการสอน
- เอกสารการประเมินผลมีหลายประเภท ข้อมูลซ้ าซ้อน ทาให้
เกิดภาระงานมากขึ้น
ความต้องการให้ สพฐ. ดาเนินการเพื่อพัฒนา
ระบบวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา
กาหนดแนวปฏิบตั ิการวัดให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
 ใช้หลักการและมาตรฐานเดียวกัน ภายใต้การกากับดูแลของ
สพฐ.
 จัดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในทุกระดับชั้น ทุกปี โดยใช้ขอ
้ สอบ
ส่ วนกลาง และจัดวัดผลประเมินผลสาหรับนักเรี ยนที่มี ผล
การเรี ยนต่าให้กบั นักเรี ยนส่ วนมากอีกประเภทหนึ่ง

ความต้องการให้ สพฐ. ดาเนินการเพื่อพัฒนา
ระบบวัดและประเมินผลระดับสถานศึกษา (ต่อ)
หาตาแหน่งครู วดั ผล ทะเบียนโดยเฉพาะ
 จัดอบรมให้ความรู ้ดา้ นวัดผลประเมินผลทุกโรงเรี ยน
ให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
 จัดอบรมเกี่ยวกับการใช้ ปพ.๑-๓

แนวทางการปรับปรุ ง



สถานศึกษาวัด/ประเมินและตัดสิ นผลการเรี ยนเองโดยมีเกณฑ์กลาง
ร่ วมกันสาหรับทุกโรงเรี ยน และส่ วนที่เป็ นสาระเพิม่ เติมสถานศึกษา
กาหนดเกณฑ์เอง
ส่ งเสริ มบทบาทการประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เข้มแข็งขึ้นโดย
ผลการประเมินต้องบอกได้วา่ ผูเ้ รี ยนบรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู ้หรื อไม่
หรื อทาได้ดีเพียงใดตามมาตรฐาน
เอกสารการประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้
สะดวกรวดเร็ วในการจัดทา
ระเบียบการประเมินผลกลาง
ระดับประถมศึกษา
 การเลือ่ นชั้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 การตัดสิ นผ่ านรายวิชา
 การตัดสิ นผ่ านรายวิชา
 การเลือ่ นชั้นระหว่ างปี  การแก้ ไขผลการเรียน
 การแก้ ไขผลการเรียน
 การเรียนซ้า
 การซ้ารายวิชา
 การซ้ารายวิชา
 การจบระดับประถม
 การจบระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้ น
 การจบระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
การจบการศึกษาภาคบังคับ
การจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ระดับประถมศึกษา

การเลื่อนชั้น
เวลาเรี ยน ๘๐% ของแต่ละวิชา
ทุกตัวชี้วดั ได้รับการประเมินและผ่าน
ระดับประถมศึกษา

การเลือ่ นชั้นระหว่ างปี
ผลการเรียนปี การศึกษาทีผ่ ่ านมา
และปัจจุบนั อยู่ในเกณฑ์ ดมี าก
มีวุฒภิ าวะเหมาะสมทีจ่ ะเรียนในชั้นทีส่ ู งขึน้
ทาการประเมินผลเพือ่ การตรวจสอบความรู้ ความสามารถ
ตามตัวชี้วดั ชั้นปี ทุกตัว โดยสามารถจัดขึน้ เป็ นกรณีพเิ ศษ
ทั้งนีต้ ้ องดาเนินการให้ แล้ วเสร็จภายใน ๑ กันยายนของปี การศึกษานั้น
ระดับประถมศึกษา

การเรี ยนซ้ า
มีตวั ชี้วดั อยูใ่ นระดับที่ไม่ผา่ นเป็ นจานวนมากหรื อหลาย
กลุ่มสาระจนไม่สามารถแก้ไขได้ ภายในปี การศึกษานั้น
และมีแนวโน้มจะเป็ นปัญหาต่อการเรี ยนในชั้นที่สูงขึ้น
ถ้าเป็ นประถม ๑-๒ ให้พิจารณากลุ่มสาระภาษาไทย
คณิ ตศาสตร์ เป็ นสาคัญ
ถ้าเป็ นประถม ๓-๖ ให้พิจารณาจากลุ่มสาระภาษาไทย
คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม เป็ นสาคัญ
ระดับประถมศึกษา

การจบระดับประถมศึกษา
ได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนในระดับผ่านทั้ง ๘ กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู ้
 มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับผ่าน
 เข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน และมีผลการประเมินผ่าน
 ทากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ ชัว่ โมง ตลอดการศึกษาระดับประถมศึกษา (๖ ปี )
มัธยมศึกษาตอนต้ น-มัธยมศึกษาตอนปลาย

การตัดสิ นผ่านรายวิชา
มีเวลาเรี ยนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของแต่ละรายวิชา
ตามโครงสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา
 ทุกรายวิชาต้องได้รับการตัดสิ น ผ่านทุกตัวชี้วดั
 ทุกรายวิชาต้องได้ระดับผลการเรี ยนไม่ต่ากว่า “๑”
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น-มัธยมศึกษาตอนปลาย

การแก้ไขผลการเรี ยน
๐” หมายถึง มีผลการเรี ยนไม่ผา่ นเกณฑ์ คือ ต่ากว่า ๕๐%
ซ่อมเสริ ม สอบแก้ตวั ได้ ๒ ครั้ง ถ้าไม่ผา่ น
๑. เรี ยนซ้ า ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานแกนกลาง
ทั้งนีต้ ้ องให้
๒. เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ถ้าเป็ นส่ วนที่สถานศึกษา
ครบตามเกณฑ์
เพิ่มเติม
การจบหลักสู ตร
๓. ไม่แก้ ถ้าเป็ นรายวิชาที่สถานศึกษาให้ตกได้
ร” หมายถึง ผลการเรี ยนไม่สมบูรณ์
มส” หมายถึง เวลาเรี ยนไม่พอ
การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น





เรี ยนรายวิชาตามโครงสร้างหลักสู ตรแกนกลางกาหนด และรายวิชาเพิ่มเติม
ตามที่สถานศึกษากาหนด ทั้งนี้เมื่อรวมกันแล้วไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต
ได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนผ่านทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ตามที่หลักสู ตร
แกนกลางกาหนด และต้องได้หน่วยกิตไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีผลการประเมินผ่าน
เข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน และมีผลการประเมินผ่าน
ทากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ไม่นอ้ ยกว่า ๔๕ ชัว่ โมง
ตลอดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (๓ ปี )
การจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
๑. เรี ยนรายวิชาตามโครงสร้างหลักสู ตรแกนกลาง ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชา
เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด ทั้งนี้รวมกันแล้วไม่นอ้ ยกว่า ๗๕ หน่วยกิต
๒. ได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ของ
หลักสู ตรแกนกลาง ๓๙ หน่วยกิต สาหรับสาระการเรี ยนรู ้ส่วนที่
สถานศึกษาเพิม่ เติมให้เป็ นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
๓. มีผลการเรี ยนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสู ตรไม่ต่ากว่า ๑.๕๐
๔. การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีผลการประเมินผ่าน
๕. เข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่าน
๖. ทากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ ชัว่ โมง
ตลอดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เอกสารหลักฐานการศึกษา
ประเภทที่ ๑ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิ การควบคุม
และบังคับแบบ ได้แก่
- ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.๑)
- ประกาศนียบัตร (ปพ.๒)
- แบบรายงานผูส้ าเร็ จการศึกษา (ปพ.๓)
ประเภทที่ ๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษาออกแบบเพื่อ
การบันทึกข้อมูล
- แบบรายงานประจาตัวนักเรี ยนที่แสดงผลการเรี ยน
ตามมาตรฐาน
- ระเบียนสะสม
- แบบบันทึกผลการเรี ยน
- ใบรับรองผลการเรี ยน ฯลฯ
การประชุ มรับฟังความคิดเห็น
ร่ างหลักสู ตรกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (ฉบับปรับปรุ ง) ๔ ภูมิภาค
ครั้งที่ ๑ : ๒๕ - ๒๗ ม.ค. ๕๑
กรุ งเทพฯ
ครั้งที่ ๒ : ๘ - ๑๐ ก.พ. ๕๑
สุ ราษฏร์ ธานี
ครั้งที่ ๓ : ๑๕ - ๑๗ ก.พ. ๕๑
อุบลราชธานี
ครั้งที่ ๔ : ๒๒ - ๒๔ ก.พ. ๕๑
เชียงใหม่
ผู้เข้ าร่ วมประชุ ม : ผูท้ รงคุณวุฒิ ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน ศึกษานิเทศก์
นักวิชาการ ครู ผสู ้ อน ครั้งละ ๒๕๐ คน
ฐาน
/ต
การ
วดั
ป
ระเ
โคร
มนิ
ผ
ี่
รู้
น
ลก
ารเ
รีย
น
งส
ร้าง
/ เว
ลาเ
รีย
พนื้
ท
ัวช
ี้วดั
8 95
.6
83.
82. 05
7 86
86.2.
8
85.
82. 59
7
90.
8 95
.6
44 9
90.
0.6
97.
2
86.
8
86.
84.
8 4. 7 5
3
100.0
95.0
90.0
85.0
80.0
75.0
เพมิ่
บท
บาท
เ ขต
ปร
ับม
าตร
ผลการประชุ มรับฟังความคิดเห็น 4 ภูมิภาค
กรุงเทพมหานคร
สุ ราษฎร์ ธานี
อุบลราชธานี
เชี ยงใหม่
แผนการดาเนินงาน
๑) ปรับปรุ งแก้ไขจากผลการประชุมแสดงความคิดเห็น
๒) เสนอ ศธ. เพื่อประกาศใช้หลักสู ตร
๓) พัฒนาบุคลากร สพฐ. สพท. และสถานศึกษาให้มีความพร้อมใน
การใช้หลักสูตรในปี การศึกษา ๒๕๕๒