บทที่ 3 ความหมายและความสาคัญของมารยาทในการแต่ งกาย 1. บอกความหมาย และความสาคัญของมารยาท ในการแต่งกายได้ 2. นาความรู ้ที่ได้ไปศึกษาในชีวิตประจาวัน 3. แต่งกายถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและ สถานที่ หน้า  Exit.

Download Report

Transcript บทที่ 3 ความหมายและความสาคัญของมารยาทในการแต่ งกาย 1. บอกความหมาย และความสาคัญของมารยาท ในการแต่งกายได้ 2. นาความรู ้ที่ได้ไปศึกษาในชีวิตประจาวัน 3. แต่งกายถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและ สถานที่ หน้า  Exit.

บทที่ 3
ความหมายและความสาคัญของมารยาทในการแต่ งกาย
1. บอกความหมาย และความสาคัญของมารยาท
ในการแต่งกายได้
2. นาความรู ้ที่ได้ไปศึกษาในชีวิตประจาวัน
3. แต่งกายถูกต้องเหมาะสมกับโอกาสและ
สถานที่
หน้า 
Exit
หน้า 
Exit
Back
การแต่ งกาย คือ การสวมใส่ สิ่งต่าง ๆ เข้าไปในร่ างกาย
ไม่วา่ จะเป็ นเสื้ อผ้า หรื อแม้แต่เครื่ องประดับ
สภาพแวดล้ อ มเป็ นองค์ ป ระกอบหนึ่ ง ที่ ท าให้ มนุ ษ ย์ ต้ อ ง
สร้ างสรรค์ สิ่ ง มาปกปิ ดร่ างกาย แต่ ล ะท้ อ งที่ จ ะมี ส ภาพ
แตกต่ างกันไป การจัดหาสิ่ งเหล่ านั้นมาใช้ ต้องให้ เหมาะสม
ด้ วย
มารยาทในการแต่ งกายแต่ ละบุคคลจะสุ ภาพมากน้ อยเพียงใด
ขึ น้ อยู่กับวัฒนธรรมของชนกลุ่มนั้น เช่ น สั งคมไทยในอดี ต
คนไทยนุ่งห่ มเหมื อนกันหมด ความแตกต่ างของชนชั้ นจะดู
จากเครื่ องประดับ ผู้ชายไทยแต่ งตัวตามสภาพแวดล้ อม โดยนุ่ง
โสร่ ง ไม่ สวมเสื ้อจะมีผ้าขาวม้ าพาดไหล่
กลับไปรายการเลือก
การแต่ งกาย มีหลักสาคัญ 3 ประการ ดังนี้
1. ความสุ ภาพเรี ยบร้อย คือ บุคลิกโดยรวมต้อง
สุ ภาพเรี ยบร้อย แต่งกายให้เหมาะสมกับโอกาส
เหมาะสมกับกาลเทศะต่างๆ ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า
2. ความถูกต้องกาลเทศ หมายถึง การต่างกายให้
ถูกกาลเทศะ คือการแต่งกายเหมาะสมกับโอกาสและ
สถานที่
3. ความสะอาด คือ การทาความสะอาดตั้งแต่ร่างกาย
ตลอดจนเสื้ อผ้า เครื่ องนุ่งห่ม เครื่ องประดับ หรื อแม้
แต่กระทัง่ รองเท้า ควรรักษาให้สะอาดตลอดเวลา
ความแตกต่ างระหว่ างชาย หญิงในการแต่ งกาย
การแต่งกายของผู้ชาย มักจะมีความคล่องตัวมากกว่าผู้หญิง เนื่องจาก
เครื่ องแต่งกายที่ดคู ล่องตัว เป็ นเสื ้อเชิ ้ต เสื ้อสูท และกางเกง ซึง่ สามารถ
ปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับวัยและโอกาส ก็คือเลือกเสื ้อผ้ าให้ เหมาะสม
กับบุคลิกภาพ รูปร่างหน้ าตา ถึงแม้ จะมีราคาแพงก็ตาม หากเลือกไม่
เหมาะสม เสื ้อผ้ าก็หมดความหมาย
ดังนัน้ เราจึงควรมีเทคนิคในการเลือกซื ้อ
และศิลปะในการแต่งกาย
การแต่งกาย จัดเป็ นภาษาทางวัตถุประเภทหนึ่งที่ใช้สื่อสาร
ระหว่างกัน การแต่งกายของบุคคลจะถูกแปลความ ประเมิน
และตัดสิ น โดยดูจากเสื้ อผ้า ทรงผม รองเท้า และ
เครื่ องประดับที่สวมใส่
กลับไปรายการเลือก
การติดต่อธุรกิจ จะสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั ผูท้ ี่
จะมาร่ วมทุน นอกเหนือจากคุณสมบัติในการ
พูดแล้ว การแต่งกายที่เหมาะสมก็เป็ น
องค์ประกอบที่ช่วยสร้างความประทับใจให้กบั
ผูท้ ี่จะมาร่ วมลงทุนได้
งานเลี้ยงรับรองมีหลายลักษณะด้วยกัน ซึ่งความ
ใหญ่โตและความหรู หราแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่
กับวัตถุประสงค์ของการจัดงานและสถานที่ที่ใช้
ในการจัดงาน
มารยาทของการมางานเลี้ยงรับรอง คือการสนทนากับ
คนนั้นคนนี้ โดยไม่ตอ้ งระบุตอ้ งเป็ นบุคคลใดบุคลหนึ่ง
ซึ่งถือว่าเป็ นการเสี ยมารยาทในการเลี้ยงรับรอง เนื่องจากจุดประสงค์น้ นั
ต้องการพบปะพูดคุย สนทนา แลกเปลี่ยนความรู ้ทางธุรกิจ
การจัดงานเลี้ยงรับรองหลาย ๆบริ ษทั นิยมจัดในโรงแรมส่ วนใหญ่
เพื่อต้อนรับและแนะนาตัวประธาน
งานมงคลสมรสก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากมีความสะดวกในการจัดงาน
มากกว่าจัดที่บา้ น แขกส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นเพื่อนฝูงที่อายุไล่เลี่ยกัน และ
ผูอ้ าวุโสเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
การแต่งกายไปในงานเลี้ยงรับรอง ผูห้ ญิงต้องพิจารณาอย่างพิถีพิถนั
มากกว่าผูช้ าย สาหรับผูช้ ายปกติใช้สูท
งานเลี้ยงรับรองในสถานทูต หรื อที่ทาการรัฐบาล ผูห้ ญิงมักจะเน้นเรื่ อง
ความประณี ต เรื่ องการแต่งกายเป็ นพิเศษ ให้ดูสวยงามและเรี ยบร้อย
งานเลี้ยงรับรองของบริ ษทั ส่ วนใหญ่มกั จะจัดต่อเนื่องจากการทางาน
คือ หลังเลิกงาน 1-2 ชัว่ โมง ผูห้ ญิงก็สวมใส่ เสื้ อผ้าที่ใส่ มาทางานเพียง
แต่เพิ่มเครื่ องประดับและตกแต่งเสื้ อผ้าให้สวยงาม อาจจะติดดอกไม้เพิ่ม
ก็ได้ อาจจะแต่งหน้าทาปากเล็กน้อยเพื่อให้ดูเข้มสดใสมากขึ้นกว่าเดิม
กลับไปรายการเลือก
ปัจจุบนั การแต่งกายไปงานศพทัว่ ๆ ไป นอกจากใส่ สูทสี เข้มแล้ว
ชายไทยนิยมแต่งชุดไทยพระราชทานในงานศพ การสวมเสื้ อไทยกับ
กางเกงสี ดา ก็คล้ายกับการสวมสูทของชาวตะวันตก ซึ่งดูแล้วเหมาะกับ
การสวมเสื้ อขาวกางเกงดา ส่ วนผูห้ ญิงนุ่งซิ่นยาวหรื อชุดตามความนิยม
หากเป็ นการสวมชุดสี ดา การใส่ ถุงน่องก็ควรใส่ สีดาด้วย
ในกรณี ที่เป็ นการเสด็จพระราชดาเนิ น
ซึ่ งมีการกาหนดการและระบุ
การแต่งกาย เช่น แต่งกายเต็มยศ หรื อครึ่ ง
ยศ หากข้า ราชการเป็ นชายให้ แ ต่ ง กาย
ตามที่กาหนดไว้ หากเป็ นหญิง อาจนุ่งซิ่ น
ยาวเป็ นชุดไทยหรื อแบบอื่น ๆ หากผูช้ าย
ไม่ ต ้อ งการสวมเครื่ อ งแบบข้า ราชการ
อาจแต่งชุดสากลแทน
กลับไปรายการเลือก
หากเป็ นงานพระราชทานเพลิงศพ ที่
ไม่ได้เสด็จพระราชดาเนินเป็ นประธาน
ในพิธี แต่งกายตามปกติ
ผูห้ ญิงนุ่งกระโปรงสั้นหรื อผ้าซิ่น
แขกก็แต่งตัวให้เหมาะแก่กาลเทศะ โดย
ไม่มีการระบุ
การแต่งกายที่มีมารยาท ควรให้สุภาพ
ไม่หรู หราเกินไป หรื อสวมใส่ กระโปรง
สั้น ที่ดูแล้วยัว่ ยวน ถือว่าขาดความ
สารวมกับมารยาททางกาย
การติดต่อธุรกิจมีอยูห่ ลายระดับ หลายขนาดดังนั้นเราควรแต่งกายให้
เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ รู ้วา่ เราไปทาหน้าที่อะไร ช่วงเวลาใด
และรู ้สถานที่งานที่เรากาลังทา มีระยะเวลานานอีกกี่วนั มีการจัดเลี้ยง
หรื อไม่ อย่างไร
หากประเทศที่เราไปทางานนั้น ภูมิอากาศพอเหมาะแล้ว เราก็ไม่ตอ้ ง
เตรี ยมเสื้ ออะไรมากนัก มีเพียงสูทและชุดที่ดูสุภาพ
จุดสาคัญก็คือ การแต่งกายที่สุภาพเป็ นงานเป็ นการ ผูช้ ายใส่ สูท
ชุดเดียว ผูห้ ญิงก็อาจใส่ สูทได้เช่นเดียวกัน บางครั้งอาจจะดัดแปลง
เพิ่มเติมความเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
มารยาทในการแต่งกายเนื่องในโอกาสต่าง ๆ
การแต่งกายควรให้เกียรติแก่เจ้าของงานสถานที่ ตลอดจน
ผูท้ ี่มาร่ วมงานด้วยกันเอง การแต่งกายที่ถูกต้องจะช่วยเพิ่ม
ความมัน่ ใจให้กบั ตัวเอง เสริ มสร้างบุคลิกภาพที่ดี
อีกด้วย
การแต่งกายเป็ นเครื่ องชี้บอกถึง
รสนิยมอุปนิสยั ผูแ้ ต่งกายดีมกั จะ
แต่งตัวเรี ยบ แต่ดูเก๋ และมีสง่าใช้ผา้
คุณภาพดีไม่ยบั ยูย่ ี่ ตัดได้รูปแบบ
ไม่คบั หรื อหลวมเกินไป เข้ากับ
รู ปร่ างและสมวัยของผูแ้ ต่ง ไม่แต่งสี
ฉูดฉาดถูกต้องตามเวลาสถานที่
กลับไปรายการเลือก
มีขอ้ ปฏิบตั ิ 9 ประการ คือ
1. ต้องรู ้ให้แน่นอนว่าเราจะไปงานอะไร
2. ต้องประเมินให้ทราบว่า งานนั้นมีความสาคัญมากน้อยแค่ไหน
3. ควรทราบว่างานที่ตนจะไปร่ วมนั้น เขานิยมแต่งกายแบบไหน
งานบางแห่งเจ้าภาพจะระบุไว้ชดั เจนว่าแต่งกายตามสบาย
4. ควรแต่งกายให้ถูกเวลาของงาน
5. ควรราลึกถึงความเหมาะสมของวัยอายุ ผูส้ ูงอายุควรแต่งกาย
ให้งามสง่า สมวัย ไม่ควรแต่งตามสมัยนิยม
6.ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับสถานภาพและบทบาทของตน
ไม่มากหรื อน้อยเกินไป
7. การเลือกเครื่ องแต่งกายควรคานึงถึงสิ่ งของเสื้ อผ้ากับผิวพรรณ
ผูส้ วมใส่ ดว้ ย รวมทั้งเครื่ องประดับ
8. ตกแต่งไม่ควรมากเกินไป
9. ควรแต่งกายให้สุภาพตามยุคสมัยนิยมอย่างเหมาะสม ไม่ควร
แต่งกายที่ล้ าสมัยหรื อล้าสมัยจนเกินไป
10. ควรแต่งกายโดยให้เกียติกบั เจ้าภาพที่เชิญไปร่ วมพิธี
ของเครื่องแต่ งกาย
ต้นแบบสี เครื่ องแต่งกาย โบราณจะใช้สีประจาวัน
ต่อมาได้ดดั แปลงให้เข้ากับสมัยนิยม และความชอบ
แต่ละบุคคล บางคนก็สวมใส่ ตามสี ประจาวัน
บางคนแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าสี ตดั กัน ตัวอย่างดังนี้
ของเครื่องแต่ งกาย
วันพระ
วันจันทร์
วันอังคาร
วันพุธ
วันพฤหัสบดี
วันศุกร์
วันเสาร์
วันอาทิตย์
ห่ มสี ชมพู
ห่มสี ฟ้า
ห่มสี เขียวอ่อน
ห่มสี จาปาหรื อชมพู
ห่มสี เขียวอ่อน
ห่มสี น้ าเงินหรื อสี ทอง
ห่มสี เขียว
ห่มสี เขียวอ่อน
นุ่งสี แดง
นุ่งสี เหลือง
นุ่งสี ม่วงแดง
นุ่งสี เขียว
นุ่งสี ทอง
นุ่งสี ฟ้าหรื อน้ าเงิน
นุ่งสี ม่วงดา
นุ่งสี ชมพูหรื อเลือดหมู
สี ขาว ถือว่าเป็ นสี มงคล ใช้แต่งเข้าไปบาเพ็ญศีลภาวนาในวัด
เครื่องแต่ งกายชุดไทยพระราชนิยม
ในแผ่นดิ นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลดุ ลยเดช
ได้ เ สด็ จ ไปเจริ ญสั ม พัน ธ์ ไ มตรี กั บ ต่ า งประเทศ สมเด็ จ
พระบรมราชิ นีนาถ ทรงรั บสั่งให้ผูร้ ู ้หลายคนค้นคว้าและหา
เครื่ องแบบที่เป็ นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย เป็ น “ เครื่ องแต่ง
กายชุ ดพระราชนิ ยม”
ซึ่ งใช้มาปั จจุบนั นี้ โดยมีโอกาส
ต่างๆกันตามความเหมาะสม ดังนี้
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยจิตรลดา
สาหรับในพิธีกลางวันใช้ผา้ ไหมเกลี้ยง
มีเชิงหรื อยกดอกทั้งตัว ผ้าซิ่นยาวป้ ายหน้า
คนละท่อนกับตัวเสื้ อซึ่งแขนยาว ผ่าอก
คอกลม มีขอบตั้งน้อยๆ สาหรับงาน
พิธีนิยมเครื่ องประดับที่หรู หราขึ้น
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยอัมรินทร์
สาหรับงานพิธีตอนต่า ไม่คาดเข็มขัด ใช้ผา้ ยกไหม
ที่มีทองแถบ หรื อยกทองทั้งชุ ดผูส้ ู งอายุอาจใช้คอ
กลมกว้า ง ไม่ มี ข อบตั้ งและแขนสามส่ วนได้
เครื่ องประดับ เป็ นชุดสร้อยคอ ต่างหู สร้อยข้อมือ
ซึ่งเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน เฉพาะวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษาผูห้ ญิงประดับเครื่ องราชอิ สริ ยาภรณ์
ด้วย
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยบรมพิมาน
ใช้ในพิธีตอนค่าที่ใช้เข็มขัด ใช้ฟ้ายกไหม
หรื อยกทองมีเชิงหรื อยกทั้งตัวก็ได้ เป็ นชุด
ติดกัน ซิ่ นมีจีบยกข้างหน้า ยาวจรดข้อเท้า
ที่ชายพกใช้เข็มขัด ไทยคาด เสื้ อแขนยาว
คอกลม มีขอบตั้ง ผ่าด้านหน้าหรื อด้านหลัง
ก็ได้ ชุดนี้ ใช้ในงานเต็มยศหรื อครึ่ งยศ งาน
เลี้ ย งอย่า งเป็ นทางการ ใช้เ ครื่ อ งประดับ
งดงาม
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยจักรี
ใช้ใ นพิ ธี เ ต็ ม ยศ งานราตรี ผ้า นุ่ ง จี บ ยก
ข้างหน้า มีชายพก คาดเข็มขัดไทยและห่ ม
สไบ ผ้า ยกเป็ นแบบมี เ ชิ ง หรื อยกทั้ง ตัว
ท่อนสไบจะเย็บติดกับซิ่นหรื อแยกต่างหาก
ก็ได้ เปิ ดบ่าข้างหนึ่ ง ชายสไบคลุมไหล่ทิ้ง
ชายยาวด้านหลังพอสมควร เครื่ องประดับ
งดงาม
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยจักรพรรดิ์
ใช้ผา้ ยกทั้งตัว มีเชิ งยกไหมทองหรื อ
ดิ้ น ทอง ผ้า ซิ่ น จี บ หน้า นางมี ช ายพก
คาดเข็มขัด ไทยแล้ว ห่ มสไบปั ก ด้ว ย
ดิ้ น และพลอยทับ บนสไบอัด จี บ ใช้
เครื่ องประดับสวยงามที่สุด
เครื่องแต่ งกายชุ ดไทยพระราชนิยม
ชุ ดไทยศิวาลัย
ใช้ผา้ ยกไหมหรื อยกทอง ตัดแบบติด กัน
ซิ่ น ย า ว จี บ ห น้ า น า ง มี ช า ย พ ก
ใช้เ ข็มขัดไทยคาด ตัว เสื้ อแขนยาว คอ
กลมมีขอบตั้งเล็กน้อย ผ่าหลัง ตัวเสื้ อ
ตัดติดกับซิ่ น คล้ายแบบไทยบรมพิมาน
แต่ห่มผ้าปั กลายไทย ใช้ในโอกาสพิเศษ
ที่กาหนดให้แต่งกายเต็มยศ
Exit
กลับไปรายการเลือก