ที่ นี่ - คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร กรุงเทพ

Download Report

Transcript ที่ นี่ - คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร กรุงเทพ

โดย
สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
1
การใช้ งานโปรแกรม Excel เบือ้ งต้ น
เซลล์ อ้างอิงด้ วยคอลัมน์ และแถว เช่ น A1, B3
ซึ่ง เซลล์ ต่างๆ จะอยู่บนแผ่ นงาน
2
แผ่ นงาน (worksheet) เพิม่ ได้ จาก insert worksheet
3
เปลีย่ นชื่อได้จากคลิกขวาที่sheet ที่ตอ้ งการเปลี่ยนชื่อ แล้วคลิก rename
4
การคานวณ
•Formula : รู ปแบบการคานวณที่สร้างโดยผูใ้ ช้งาน
•Function : สูตรสาเร็ จที่ excel มีอยู่
5
เครื่องหมายที่ใช้ ในการคานวณ
+ คือ เครื่ องหมายบวก
- คือ เครื่ องหมายลบ
* คือ เครื่ องหมายคูณ
/ คือ เครื่ องหมายหาร
^ คือ เครื่ องหมายยกกาลัง
6
การบวกเลข
การคานวณอืน่ ทาได้ คล้ ายกัน
พิมพ์เลขทีต่ ้ องการบวกแล้ ว enter
คลิกเซลล์ ทตี่ ้ องใส่ ผลการคานวณ ในตัวอย่ างคือ A3 พิมพ์
= A1+A2 หรือพิมพ์ = คลิกเซลล์ A1 พิมพ์ + และคลิก
เซลล์ A2
เครื่องหมายเท่ ากับเป็ นการบอก Excel ว่ ากาลังใช้ สูตร
ไม่ ใช่ การพิมพ์ข้อความธรรมดา ซึ่งจะสั งเกตเห็นสี ของ
ข้ อความ A1 และ A2 แตกต่ างไปจากสี ธรรมดา ขณะพิมพ์
หรือคลิกจะมีกรอบเกิดขึน้ ทีช่ ่ องนั้น
หลังจาก enter จะได้ผล
การคานวณและเคอร์เซอร์
จะเลื่อนลงมาช่องล่าง
7
การค
านวณ
•Formula : รู ปแบบการคานวณที่สร้างโดยผูใ้ ช้งาน
ทาได้โดยการพิมพ์ที่ formular lbar
หรื อ พิมพ์เครื่ องหมายแล้วคลิกที่เซลล์
หลังจาก enter จะได้ ผลการคานวณ
นา mouse ชี้ที่มุมขวาล่างแล้วลากลงมา
ข้างล่าง เพื่อ copy จะเป็ นการอ้างถึงจะแปร
ผันอย่างมีความสัมพันธ์ “Relative
8
Reference”
•Relative Reference : เมื่อ copy การอ้างถึงจะแปรผันอย่างมี
ความสัมพันธ์กบั ตาแหน่งที่ copy และ paste
9
•Absolute Reference : เมื่อ copy สูตร การอ้างถึงจะไม่มีเปลี่ยนแปลง
หลังจาก copy แล้ว
ได้ผลการคานวณของ
แถวถัดลงมาเท่ากับ 6
พิจารณา สูตรของแถว
ที่ copy ลงมาการอ้าง
ถึงจะไม่เปลี่ยนแปลง
10
•การประยุกต์ ใช้ Absolute Reference : เมื่อเปลี่ยนค่าคงที่ในสูตรที่
copy ผลการคานวณจะเปลี่ยนตาม
11
การป้ อนข้ อมูล
•ใส่ เครื่ องหมายเท่ากับ = สาหรับการคานวณ หรื อ อ้างถึงเซลล์น้ นั ๆ
•พิมพ์อกั ษร หรื อ ตัวเลข
•ใส่ ขาเดี่ยว ‘ (single quote) สาหรับการพิมพ์ตวั อักษรเหมือนการคานวณ
เช่น C1 และ D9
12
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น
•คลิกเลือกจากเมนู
•พิมพ์เข้าเซลล์หรื อ formular bar
13
การใช้ AutoSum
หลังจากพิมพ์เลข 8 ที่เซลล์ G1 แล้วกด enter 3
ครั้ง ขณะนี้เคอร์ เซอร์ จะมาอยูท่ ี่เซลล์ G4 คลิกปุ่ ม
∑ หรื อ เครื่ องหมาย AutoSum บนเมนูบาร์ จะ
เห็นว่า เซลล์ G1 ถึง G3 ถูกเลือก ดังภาพ
หลังจากนั้นกด enter เพื่อตอบตกลงจะได้ผลการ
คานวณดังภาพ
14
การใช้ จากเมนูบาร์ รายการอืน่ ๆ ทีน่ ่ าสนใจ
การเรี ยงค่าจากสู งไปต่า คือ
การเรี ยงค่าจากต่าไปสู ง คือ
เลือกเซลล์ที่ตอ้ งการ
เรี ยงข้อมูล แล้วนา
เคอร์เซอร์ไปคลิกตรง
เมนูบาร์
จะได้ผลดังภาพถัดไป
15
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Sum
หลังจากพิมพ์เลข 8 ที่เซลล์ C1 แล้วกด enter 3
ครั้ง ขณะนี้เคอร์ เซอร์ จะมาอยูท่ ี่เซลล์ C4 ดังภาพ
คลิกที่ เครื่ องหมาย fx
16
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Sum
 พิมพ์ ข้อความสาหรับค้ นหาฟังก์ ชั่น แล้ วกดปุ่ ม Go หรือ
 เลือกประเภทของฟังก์ชั่น
 เลือกฟังก์ชั่นที่ต้องการ หาก
ไม่ พบใช้ scroll bar ลงมาดูได้
 แสดงรู ปแบบของฟังก์ ชั่นทีเ่ ลือก
17
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Sum
โปรแกรมจะเปิ ดหน้าจอการใช้ฟังก์ชนั่ sum โดยเปิ ดโอกาสให้ผใู ้ ช้คลิกเลือกเซลล์ที่ตอ้ งการนามารวมกัน
 เซลล์ทโี่ ปรแกรมเลือกให้
 คลิกที่นี่ หากต้ องการเปลีย่ นแปลงเซลล์
 ผลลัพธ์
หน้าจอนี้ และหน้าจอการใช้ฟังก์ชนั่ อื่นๆ จะมีลกั ษณะคล้ายกัน โดยหน้าจอจะเปิ ดโอกาสให้ผใู้ ช้
18
คลิกเลือกเซลล์ที่ตอ้ งการจาก worksheet โดยตรง
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่นอืน่ ๆ ที่น่าสนใจ
การหาค่ าเฉลีย่ fx คือ AVERAGE
การหาค่ าตา่ สุ ด fx คือ MIN
การหาค่ าสู งสุ ด fx คือ MAX
การนับจานวน fx คือ COUNT
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่นอืน่ ๆ มีข้นั ตอนการทางานคล้ าย
กับการใช้ ฟังก์ชั่น Sum ข้ างต้ น
19
การประยุกต์ ใช้ Excel
1 การนับจานวนแบบมีเงือ่ นไข
2 การวิเคราะห์ ข้อมูลเกีย่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม
3 การหาค่ าระดับคะแนน
4 การพิมพ์ ใบเสร็จแบบเติมข้ อมูลโดยอัตโนมัติ
5 การพลอตกราฟ
20
1 การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น COUNTIF การนับจานวนแบบมีเงื่อนไข
การนับแบบมีเงื่อนไข ใช้นบั จานวน เช่น มีเพศชายกี่คน เพศหญิงกี่คน หมือผูท้ ี่มีอายุ
มากกว่า 18 ปี กี่คน เป็ นต้น การนับลักษณะนี้จาเป็ นต้องระบุเงื่อนไขในการนับ
หลังจากป้ อนข้อมูลเรี ยบร้อยแล้ว คลิกที่เซลล์ที่ตอ้ งการวางคาตอบ แล้วนาลูกศรไป
คลิก fx แล้วเลือก COUNTIF ซึ่ งมีรูปแบบดังนี้ COUNTIF (ขอบเขต, เงื่อนไข)
21
นาลูกศรไปเลือกคลุมเซลล์ ทตี่ ้ องการ ได้ ผลดังภาพ
นาเคอร์เซอร์วางในช่อง criteria แล้วพิมพ์ เกณฑ์ที่ตอ้ งการ แล้วคลิก OK
22
ผลการเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น COUNTIF
กลับไปหน้23าหลัก
2 การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น DCOUNT การนับจานวนแบบมี 2 เงื่อนไข
24
หลังจากป้ อนข้อมูลเรี ยบร้อยแล้ว คลิกที่เซลล์ที่ตอ้ งการวางคาตอบ แล้วนาลูกศรไปคลิก fx แล้ว
เลือก DCOUNT ซึ่ งมีรูปแบบดังนี้ DCOUNT (ข้อมูล, ขอบเขต, เงื่อนไข)
 นาลูกศรไปเลือกคลุมเซลล์ ที่ต้องการ
 พิมพ์คอลัมน์ ทตี่ ้ องการใช้ คานวณ
พิมพ์หรือลากคลุมเซลล์ criteria
25
ผลการเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น DCOUNT หลังจากกด enter
26
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น DCOUNT โดยมีเงือ่ นไขในการนับเปลีย่ นไป
กลับไปหน้27าหลัก
3 การหาค่ าระดับคะแนน
3.1 การหาค่ าระดับคะแนนจากฟังก์ ชั่นแบบมีเงือ่ นไข IF
เซลล์ที่ตอ้ งการใส่ ค่าระดับคะแนน fx = IF(cell>เกณฑ์,”ค่าระดับคะแนน”)
28
29
3.2 การตัดเกรดนักเรียน
3.2.1 การใช้ ฟังก์ ชั่นแบบมีเงือ่ นไขสาหรับตัดเกรดนักเรียน
30
3.2.2 การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Vlookup สาหรับตัดเกรดนักเรียน
พิมพ์ฟังก์ชนั่ Vlookup(lookup_value,table_array,col_index_num,range_lookup)ในเซลล์ C3
1. ข้อมูลคะแนนนักเรี ยน
2. เกณฑ์ในการตัดเกรด เพื่อความสะดวก
จึงตั้งชื่อเกณฑ์ มีวธิ ี อยูห่ น้าถัดไป
31
การตั้งชื่อเกณฑ์ สาหรับตัดเกรด
1 คลุมเลือก หรื อ ลากดา E3:F7 โดยไม่รวมชื่อคอลัมน์
2 ไปที่ Insert > Name > Define
3 พิมพ์ชื่อ criteria
32
การตั้งชื่อเกณฑ์ สาหรับตัดเกรด
4 คลิก Add และคลิก OK ตามลาดับ
5 การทางานจะอ้างถึงตาแหน่งที่เป็ นตารางเกณฑ์การคิดเกรดว่าเป็ น criteria
33
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Vlookup สาหรับตัดเกรด
คลิกเซลล์ C3 แล้วพิมพ์ที่ช่อง Formula bar ให้พิมพ์ =VLOOKUP($B3,criteria,2,ture)
แล้วคลิก จะเห็นเกรด 1 ปรากฏที่ C3 ซึ่ งเป็ นตาแหน่งที่ระบุไว้ต้ งั แต่แรก
หรือ คลิกเลือก VLOOKUP จากเมนู ซึ่งมีวธิ ีการคล้ ายกับการใช้ ฟังก์ ชั่นอืน่ ข้ างต้ น มีรายละเอียดดังภาพข้ างบน
คลิก OK จะเห็นเกรด 1 ปรากฏที่ C3 ซึ่งเป็ นตาแหน่ งทีร่ ะบุไว้ ต้งั แต่ แรก
34
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Vlookup สาหรับตัดเกรด
คัดลอกสูตรจาก
C3 มาไว้จาก
C4 จนถึง C7
35
เปรียบเทียบการตัดเกรดนักเรียน
•การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Vlookup
•การใช้ ฟังก์ ชั่นแบบมีเงื่อนไข
36าหลัก
กลับไปหน้
4 การพิมพ์ใบเสร็จแบบเติมข้ อมูลโดยอัตโนมัติ
ส่ วนหัวของใบเสร็ จ
ชื่อ
คอลัมน์
37
การพิมพ์เกณฑ์ สาหรับใบเสร็จ
ตั้งชื่อตารางรายการสิ นค้ าว่ า product
1 ลากดา F4:H8 (ไม่ รวมชื่อคอลัมน์ )
2 ไปที่ Insert > Name > Define …
3 พิมพ์ชื่อ products
4 คลิก Add และคลิก OK ตามลาดับ
38
การเรียกใช้ ฟังก์ ชั่น Vlookup สาหรับพิมพ์ใบเสร็จ
เซลล์ A6 จะเป็ นที่สาหรับเขียนรหัสสิ นค้า เซลล์ B6 เป็ นที่เขียนสูตรให้นารหัสสิ นค้า
ไปเปรี ยบเทียบในตาราง products และนาชื่อของสิ นค้าที่ตรงกับรหัสนี้ มาไว้ที่นี่
39
คลิกเซลล์ B6 นาเคอร์ เซอร์ ไปคลิกฟังก์ชนั่ Vlookup
 พิมพ์ $A6 เป็ นที่นารหัสสิ นค้ าไปเปรียบเทียบในตาราง products
 พิมพ์ products ซึ่งเป็ นเกณฑ์
 พิมพ์ 2 ซึ่งเป็ นคอลัมน์ ในเกณฑ์ ทตี่ ้ องการนารหัสสิ นค้ าไปเปรี ยบเทียบ
 พิมพ์ TRUE แล้วคลิก OK
40
หากเซลล์ A6 ไม่มีขอ้ มูลใดๆ ผลที่ได้ในเซลล์ที่เขียนสู ตรไว้จะปรากฏ #N/A ดังภาพ
แก้ไขโดยพิมพ์ IF(cell=“”,””,…………)
41
เซลล์ C6 ก็จะเขียนสู ตรให้ นารหัสสิ นค้ าไปเปรียบเทียบในตาราง
products และนาราคาของสิ นค้ าที่ตรงกับรหัสนี้ มาไว้ ที่นี่
(ราคาของสิ นค้ าอยู่มรคอลัมน์ ที่ 3 ในตาราง products)
42
เซลล์ E6 ให้ เขียนสู ตรให้ นาราคา/หน่ วยไปคูณกับจานวน มาไว้ ที่นี่
(เพือ่ ไม่ ให้ ปรากฏ #N/A จึงพิมพ์ IF(cell=“”,””,......) ก่ อนสู ตรการคูณ
คัดลอกสูตรจากแถวที่ 6 มาไว้จากแถวที่ 7 จนถึงแถวที่ 15 ดังตัวอย่าง
หรื อตามต้องการ
43
ผลจากการคัดลอกสูตรจากแถวที่ 6 มาไว้จากแถวที่ 7 จนถึงแถวที่ 15
44
เซลล์ C16 พิมพ์สูตรการบวกเซลล์ C6 จนถึง C15
45
เซลล์ C17 ใช้ฟังก์ชนั่ BAHTTEXT() เพื่อเปลี่ยนตัวเลขเป็ นตัวอักษร
46าหลัก
กลับไปหน้
5 การพลอตกราฟ
ลากดาเซลล์ A3:B6 ไปที่
47
ต้องการแสดงสมการและรายละเอียด
อื่นๆ ไปที่ Format Trendline
48
การอ้ างอิงข้ ามแผ่ นงาน
ชื่อแผ่นงาน
receipt1
การอ้ างอิงข้ ามแผ่ นงาน
1. พิมพ์ = ที่เซลล์ E7 ของแผ่นงาน receipt2
2. คลิกแผ่นงาน receipt1
3. คลิกเซลล์ E12 แล้วกด enter
ชื่อแผ่นงาน
receipt2
49
ผลการเปลีย่ นแปลงค่าทีถ่ ูกอ้างอิงข้ ามแผ่ นงาน
1. เปลี่ยนรายการ D8 ของแผ่นงาน
receipt1 จาก 6 เป็ น 24
2. คลิกแผ่นงาน receipt2 พบว่าผลการ
คานวณและจานวนเงินรวมปลี่ยน
ตามค่าที่เปลี่ยนไป
50
ตัวอย่ างการประยุกต์ ใช้ Excel
1 ตรวจรายงานวิชาเคมีวเิ คราะห์
2 ตัดเกรด และทานายเกรดของนักศึกษา
3 คานวณแต้ มสะสมของนักศึกษา สาหรับงานอาจารย์ ทปี่ รึกษา
4 การคานวณงบประมาณวิจัยทีเ่ สนอขอ
5 คิดเงินลงทุนโครงการสาหรับธุรกิจขนาดย่ อม
51
ตัวอย่ าง การประยุกต์ ใช้ Excel
6 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
7 การเก็บข้ อมูลในการทารายงานการประเมินตนเอง
(SAR)
8 การคานวณภาษี กรณีมีตกเบิก
52
53