ความรูเ้ กีย่ วกับวัฒนธรรม (195-197) ในยุคสมัยใหม่ มีสงิ่ มากมายทีช่ ว่ ยในการแปลและสือ่ สารให้กบั เรา แต่ยงั มีอกี หนึ่งสิง่ ที่ นักแปลควรให้ความสาคัญ คือ วัฒนธรรม เพราะปญั หาการแปลส่วนหนึ่งมาจากวัฒนธรรม นันเอง ่

Download Report

Transcript ความรูเ้ กีย่ วกับวัฒนธรรม (195-197) ในยุคสมัยใหม่ มีสงิ่ มากมายทีช่ ว่ ยในการแปลและสือ่ สารให้กบั เรา แต่ยงั มีอกี หนึ่งสิง่ ที่ นักแปลควรให้ความสาคัญ คือ วัฒนธรรม เพราะปญั หาการแปลส่วนหนึ่งมาจากวัฒนธรรม นันเอง ่

ความรูเ้ กีย่ วกับวัฒนธรรม (195-197)
ในยุคสมัยใหม่ มีสงิ่ มากมายทีช่ ว่ ยในการแปลและสือ่ สารให้กบั เรา แต่ยงั มีอกี หนึ่งสิง่ ที่
นักแปลควรให้ความสาคัญ คือ วัฒนธรรม เพราะปญั หาการแปลส่วนหนึ่งมาจากวัฒนธรรม
นันเอง
่
Ethnocentrism: นักการทูตทางวัฒนธรรม
 1. ต่างประเทศไม่ยอมรับ: ยึดถือเอานิสยั ของตนเองเป็ นหลัก และยังต่อต้านความติด
(ICC) Monolinguals พวกเขาพูดได้หลายภาษา และสาสมารถจดจา
วัฒนธรรมของแต่ละชาติ เพราะเล็งเห็นคุณค่าในการเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรม
 2. การยอมรับของพวกเขาในความแตกต่าง: ปญั หาของการใช้ภาษามาจากวัฒนธรรม
รากฐานหลักแหล่งทีอ่ าศัยทาให้ความสามารถในการปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมและ
ความรูส้ กึ ในบ้าน การพูดและภาษา ภาษามีทงั ้ การแสดงออก และความรูส้ กึ ทีส่ อ่ ถึง
วัฒนธรรม
การแปล/การชีแ้ จง: การไกล่เหลีย่ ระหว่างวัฒนธรรมและภูมหิ ลัง และคนท้องถิน่
ICC
 ICC หมายถึง แปลอย่างเข้าใจวัฒนธรรมในการเข้าใจเพียงลาพังดีทส่ี ดุ การเรียนรู้
นัน้ ตายตัว
1. ICC – สามารถ –ไม่
3. ICC – เป็ นสือ่ – ไม่
5. รวบรวม
2. ICC – สามารถ – ใช่
4. ICC – เป็ นสือ่ – ใช่
6. อดทน / ใจกว้าง
สิง่ ทีไ่ ม่เฉพาะในชัน้ ของการแปล และการแปลอย่างมีความหาย เหนือความ
คาดหมายทีท่ ุกคนคาดไม่ถงึ คือ การเข้าใจ เหนือทุกอย่างคือ การเข้าใจวัฒนธรรม
(see Gentzler 1993) (Beginning 1970S) ประชาชนชอบ James
Holmes (1975), Itamar Even – Zohar (1979, 1981),
Gideon Toury (1995), Andre Lefevere (1992), Susan
Bassnett (1992), Mary Snell – Hornby (1995), Dirk
Delabastita และ Lieven d’ Hulst (1993), Theo Hermans
(1985) สารวจวัฒนรรม ระบบในการแปล และการนาเข้ามาตรฐาน การปฏิบตั ติ าม
ความเป็ นจริงของงานแปล มีการพยายามอย่างหนักจนมีคณ
ุ ค่า เกีย่ วกับงานแปล
หนังสือ และเกีย่ วกับภาษาสนทนา ผลประโยชน์ในการเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรมเป็ นประโยชน์
ในหนทางในการแปลเป็ นอย่างมาก (Andr’e Levere 1992) หนังสือ มุมมอง
ทีไ่ ม่แน่นอน มุมมองของวัฒนธรรม การเรียนการแปลวัฒนธรรมมีผลต่อการแปลเป็ น
อย่างมาก
ในปีต่อมา1980 และ 1990 มีการเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรมเพิม่ มากขึน้ เพราะสามารถ
เล็งเห็นความสาคัญในการเรียนรู้ วัฒนธรรมมากขึน้ เพราะมันสาคัญกับการแปล
ในหลักสากลของธรรมชาติเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์ การเรียนรูม้ กั มาจากการ
บันทึกเรือ่ งราว เช่น รูปภาพบนผนังถ้า รอยขีดเขียนจนกลายเป็ นสัญลักษณ์ เช่น
เฮียโรกราฟฟิก ของอียปิ ต์ และการบันทึกเรือ่ งราวเกีย่ วกับประวัตศิ สตร์ ศาสนา เป็ น
ต้น
สรุปคือ การเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรมเกีย่ วกับเรือ่ งทีเ่ ราจะแปลนัน้ มีความสาคัญมาก
เพราะจะทาให้เราแปลด่าย และถูกต้องตามฉบับทีเ่ ราแปล