สัมมนาการเงินบัญชีเด็กไทยแก้มใส โดย อ.ปรัชญา โมธรรม

Download Report

Transcript สัมมนาการเงินบัญชีเด็กไทยแก้มใส โดย อ.ปรัชญา โมธรรม

แนวทางปฏิบตั ิดา้ นการ
ดาเนินงาน การเงินและบัญชี
โครงการเด็กไทยแก้มใส
students
education
teachers
school
children
Table of Contents
1 - การเปิ ดบัญชีเงินฝากธนาคาร
2 - เมื่อได้รบ
ั แจ้งจาก สสค. ว่าโอนเงินเข้าบัญชีโครงการแล้ว
3 - การเบิกจ่ายเงิน
4 - การจ่ายเงินทุกครั้งจะต้องได้รบ
ั อนุมตั จิ ากผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
5 - เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
6 - กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
7 - การจัดทาบัญชี
8 - การจัดทารายงานการเงิน
9 - การเก็บรักษาเอกสารทางการเงินบัญชีและพัสดุ
1. การเปิ ดบัญชีเงินฝากธนาคาร
 เปิ ดบัญชีในนาม
“โครงการ................................”
students
education
teachers
school
children
 มีผูล้ งนามถอนเงินหรือสัง่ จ่ าย 2 ใน 3 คน
โดยให้ผูร้ บั ผิดชอบโครงการเป็ นผูล้ งนามหลัก
 ไม่ควรใช้ ATM
 ไม่ควรถอนเงินมาถือไว้ในมือเกินความจาเป็ นโดยไม่มี
กิจกรรมในการใช้จ่ายเงิน
2. เมื่อได้รบั แจ้งจาก สสส. ว่าโอนเงินเข้าบัญชี
โครงการแล้ว
students
education
teachers
school
children
ให้นาสมุดคู่ฝากไปปรับสมุดทีเ่ คาน์เตอร์ธนาคารเพือ่ ให้ทราบ
ว่าได้รบั เงินงวดถูกต้องแล้ว (เครือ่ งปรับสมุดเงินฝาก
อัตโนมัติบางเครือ่ งไม่สามารถปรับรายการได้)
สามารถเบิกเงินมาเตรียมไว้ใช้จ่ายได้ตามทีไ่ ด้วางแผนการ
ทางานไว้
 เงินเปิ ดบัญชีสามารถรับคืนได้เลย
การรับเงิน
1. ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร
2. เงินยืมจากแหล่งอื่นหรือโครงการอื่น
3. เงินค่าขายของที่เกิดจากโครงการ
4. เงินรับบริจาค
3. การเบิกจ่ายเงิน
students
education
teachers
school
children
เมือ่ ต้องการใช้จ่ายเงิน โครงการสามารถจ่ ายเงินจากที่เบิกถอนมาเตรียมไว้ได้
เลย โดยต้องมีเอกสารหลักฐานการจ่ ายเงินที่สมบูรณ์ ถูกต้อง ดังนี้
3.1 บิลเงินสด/ใบเสร็จรับเงิน ที่สมบูรณ์ :
ค่าวัสดุครุภณ
ั ฑ์ ค่าจ้ างบริการ ค่าอาหารและที่พักจากโรงแรม
3.2 บิลเงินสด/ใบเสร็จรับเงิน ที่ไม่สมบูรณ์
ให้ จัดทาใบสาคัญรับเงินแนบกับใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงินสดที่ไม่สมบูรณ์
ดังที่กล่าว
3.3 ใบสาคัญรับเงิน :
ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะรถยนต์ส่วนตัว ค่าอาหารและอาหารว่าง ใน
กรณีท่ผี ้ รู ับเงินไม่สามารถออกบิลเงินสด/ใบเสร็จรับเงิน
3.1 บิลเงินสด/ใบเสร็จรับเงินที่สมบูรณ์
Example
students
education
teachers
school
children
students
3.2 ใบสาคัญรับเงิน
Example
education
teachers
school
children
4. การจ่ายเงินทุกครั้งจะต้องได้รบั อนุมต
ั ิ
จากผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
4.1 รายการจ่ายเงินบางประเภทจะต้อง
ได้รบั อนุมตั กิ ่อน
เช่น การจ่ายเงินค่าตอบแทนต่างๆ ที่ได้จดั เตรียม
เอกสารการรับเงินไว้แล้ว เช่น ค่าตอบแทน
ค่าเบี้ ยเลี้ ยง มาเป็ นใบสาคัญรับเงินเสนอ
ผูร้ บั ผิดชอบโครงการอนุ มตั ิกอ่ นจ่ายเงิน และ
เมื่อจ่ายก็ให้ผรู้ บั เงินลงชื่อในใบสาคัญรับเงิน
students
education
teachers
school
children
4. การจ่ายเงินทุกครั้งจะต้องได้รบั อนุมต
ั ิ
จากผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
4.2 รายการจ่ายเงินบางประเภท อาจ
ต้องจ่ายเงินก่อนจึงจะได้รบั เอกสาร
หลักฐานการจ่ายเงิน
เช่น การจ่ายเงินซื้ อวัสดุครุภณ
ั ฑ์ หรือค่าที่พกั
โรงแรม ซึ่งต้องนาเสนอผูร้ บั ผิดชอบ
โครงการอนุ มตั ิ
students
education
teachers
school
children
4. การจ่ายเงินทุกครั้งจะต้องได้รบั อนุมต
ั ิ
จากผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
students
education
teachers
school
children
4.3 การนาเสนอผูร้ บั ผิดชอบ
โครงการอนุมตั ริ ายจ่ายดังกล่าว
ให้ใช้บนั ทึกขอเบิกจ่ายปะหน้าเอกสาร
หลักฐานการจ่ายเงิน และให้
ผูร้ บั ผิดชอบโครงการอนุ มตั ิบนั ทึกขอ
เบิกจ่ายใบเดียว
ใบสาคัญรับเงินหรือใบเสร็จรับเงิน
ใบสาคัญรับเงินหรือใบเสร็จรับเงิน
students
education
teachers
school
children
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
1
ความสมบรูณ ์
Perfection
บิลเงินสด
3
ความถูกต้อง
Correction
ใบเสร็จรับเงิน
ใบสาคัญรับเงิน
2
ความครบถ้วน
Completion
students
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
1
3 ความถูกต้อง
Correction
education
teachers
school
children
ความสมบูรณ์
Perfection
2
ความครบถ้วน
Completion
1. ชื่อและที่อยูผ่ รู ้ บั เงิน
2. ชื่อและที่อยูผ่ จู ้ า่ ยเงิน (โครงการ)
3. รายละเอียด ชื่อ ชนิด ขนาด และจานวนของสินค้าและบริการ
4. ราคาของสินค้าและบริการ
5. ลายมือชื่อผูร้ บั เงิน/วันที่รบั เงิน
students
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
1
education
teachers
school
children
ความสมบูรณ์
Perfection
3 ความถูกต้อง
Correction
2
ความครบถ้วน
Completion
หมายถึง มีเอกสารหลักฐานการจ่ายเงินครบถ้วนตามจานวนเงินที่จ่ายไป
students
เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
1
education
teachers
school
children
ความสมบูรณ์
Perfection
3
ความถูกต้อง
Correction
2 ความครบถ้วน
Completion
หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงิน
กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
หมายถึง เอกสารหลักฐานการจ่ายเงินดังกล่าวต้องถูกต้องตามหลักเกณฑ์การ
เบิกจ่ายเงิน และกรอบอัตราค่าใช้จา่ ยที่กาหนดไว้
students
กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
education
teachers
school
children
หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ
หมวดรายจ่าย
อัตราเบิกจ่าย (หน่วย:บาท)
หลักการพิจารณา
ไม่เกินชัว่ โมงละ
600-1,200 บาท
200-500 บาท/วัน
พิจารณาตามคุณวุฒิและ
ประสบการณ์ ตามความเหมาะสม
ต้องทางานไม่น้อยกว่า 7 ชัว่ โมง
หมวดค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากร
2. ค่าตอบแทนอื่น หมายถึง
ค่าตอบแทนที่จา่ ยแก่
บุคคลภายนอกที่มาช่วยงาน
ชัว่ คราว
students
กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
หมวดรายจ่าย
อัตราเบิกจ่าย (หน่วย:บาท)
education
teachers
school
children
หลักการพิจารณา
หมวดค่าใช้สอย
1. ค่าเบี้ ยเลี้ ยง หมายถึง ค่าตอบแทน
ในการปฏิบตั ิงานนอกพื้ นที่ความ
รับผิดชอบ
2. ค่าที่พกั หมายถึงค่าใช้จา่ ยในการ
เช่าห้องพัก ในโรงแรมหรือสถานที่อื่น
ใดเพื่อพักแรมในการปฏิบตั ิงาน
ต่างจังหวัด
ให้เบิกจ่ายเป็ นค่าอาหารมื้ อละ
80 บาท
- พื้ นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล
ตามจริง ไม่เกิน 1,500 บาท/วัน
- พื้ นที่จงั หวัดอื่น ตามจริง ไม่
เกิน 1,000 บาท/วัน
พื้ นที่กรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล ได้แก่ นครปฐม
นนทบุรี ปทุมธานี
สมุทรปราการ นับ เป็ น
พื้ นที่เดียวกัน
students
กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
หมวดรายจ่าย
หมวดค่าใช้สอย
3. ค่าพาหนะเดินทาง หมายถึง
ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางปฏิบตั ิงาน
(ทางบก ทางอากาศ และทางน้ า)
- เดินทางโดยยานพาหนะสาธารณะ
- เดินทางโดยยานพาหนะส่วนตัว
4. ค่าเช่ารถ หมายถึง การเช่ารถเพื่อ
โดยสารในการปฏิบตั ิงาน
education
teachers
school
children
อัตราเบิกจ่าย (หน่วย:บาท)
หลักการพิจารณา
ตามจริง
แสดงใบเสร็จรับเงินประกอบการ
เบิกจ่าย
ตามจริง
ไม่เกิน 4-5 บาท/กม.
ตามจริง
ไม่เกิน 1,800 บาท/วัน
เฉพาะค่าเช่า ส่วนค่าน้ ามันจ่าย
ตามจริงโดยมีใบเสร็จรับเงิน/บิล
เงินสด
students
education
teachers
school
children
กรอบอัตราค่าใช้จา่ ย
หมวดรายจ่าย
อัตราเบิกจ่าย (หน่วย:บาท)
5. ค่ารับรอง หมายถึง ค่าอาหาร เครื่องดื่ม
ในการจัดประชุม อบรม สัมมนารวมถึงงาน
อื่นใดที่ก่อให้เกิดงาน
ค่าอาหารมื้ อหลัก
- กรณีจดั ในชุมชน
- กรณีจดั ในเมือง (นอกเหนื อจากโรงแรม)
ตามจริง
- กรณีจดั ในโรงแรม
- กรณีเหมารวมต่อวัน
อัตราต่อมื้ อต่อคน
50 - 100 บาท
80 - 150 บาท
300 – 500 บาท
ไม่เกิน 1,000 บาท
ค่าอาหารว่าง
- กรณีจดั ในสถานที่ทวั ่ ไป นอกเหนื อจากโรงแรม
หลักการพิจารณา
ขึ้ นอยูก่ บั สถานที่จดั และ
จานวนมื้ อ (ทัว่ ไป 3 มื้ อ)
อัตราต่อมื้ อต่อคน
ไม่เกิน 30-70 บาท
students
การจัดทาบัญชี
education
teachers
school
children
วัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี
เงินรับ
เงินจ่าย
คงเหลือ
“เพื่อให้ผรู ้ บั ทุนหรือผูท้ ่ีเกี่ยวข้องได้
ทราบถึงสถานะการเงินของโครงการ
ว่า ณ ปั จจุบนั มีเงินรับและเงินจ่ายไป
แล้วเท่าไร คงเหลือเท่าไร ตรงกับตัว
เงินคงเหลือจริงหรือไม่ และยังช่วยให้
การจัดทารายงานการเงินง่ายและ
รวดเร็วขึ้น”
students
การจัดทาบัญชี
education
teachers
school
children
Example
สสส. ได้ออกแบบการจัดทาบัญชีอย่างง่ายไว้ โดยผูจ้ ดั ทาบัญชีเพียงบันทึก
รายการรับ - จ่ายเงินในช่องเงินฝากธนาคารหรือช่องเงินสดในมือ ดังตัวอย่าง
students
การจัดทารายงานการเงิน
>>> เมื่อโครงการได้นาเงิน
สนับสนุ นโครงการไป
ดาเนิ นงานตามข้อตกลง
เสร็จทั้งโครงการหรือเสร็จ
ตามงวดที่ 1 แล้ว
education
teachers
school
children
>>> โครงการจะต้องจัดทารายงานความก้าวหน้า
ของโครงการส่งให้ สสส. เพื่อปิ ดโครงการหรือเพื่อ
เบิกเงินงวดต่อไป ซึ่งการรายงานดังกล่าวโครงการ
จะต้องรายงานเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินด้วย ดังนี้
students
1. การจัดทารายงานการใช้จา่ ยเงินเพื่อเบิกเงินงวดต่อไป ใช้แบบฟอร์
ม
รายงาน
education
teachers
การเงินโครงการประจางวด ...... ดังตัวอย่าง
school
children
Example
students
Example
education
teachers
school
children
students
การจัดทารายงานการเงิน
education
teachers
school
children
2. การจัดทารายงานการใช้จา่ ยเงินเพื่อปิ ดโครงการ ใช้แบบฟอร์มรายงาน
การเงินโครงการประจางวด......
เงินงวดสุดท้าย
“ตามข้อตกลง สสส. ได้กนั เงินจานวนหนึ่งเป็ นเงินงวด
สุดท้ายไว้ เพื่อจะเบิกจ่ายให้กบั โครงการเมื่อได้ส่งรายงาน
ปิ ดโครงการให้ สสส. แล้ว ซึ่งอาจทาให้โครงการต้อง
จ่ายเงินเป็ นค่าใช้จา่ ยในตอนท้ายโครงการไปก่อน แล้วจึง
ขอเบิกเงินงวดสุดท้ายเท่ากับจานวนที่จ่ายไป ดังตัวอย่าง”
students
Example
education
teachers
school
children
students
Example
education
teachers
school
children
students
การควบคุมครุภณ
ั ฑ์
education
teachers
school
children
ครุภณ
ั ฑ์ หมายถึง สิ่งของที่มีลกั ษณะคงทนถาวรหรือมีอายุใช้งานมากกว่า
1 ปี และมีราคาเกินกว่า 5,000 บาทขึ้นไป
1. จัดทาทะเบียนครุภณ
ั ฑ์
2. ให้รหัสที่ตวั ครุภณ
ั ฑ์
3. ดูแลรักษาให้อยูใ่ นสถานที่ที่เหมาะสมปลอดภัย
4. สารวจตรวจนับทุก 6 เดือน
students
การควบคุมครุภณ
ั ฑ์
ทะเบียนคุมครุภณ
ั ฑ์
education
teachers
school
children
students
การควบคุมวัสดุ
วัสดุ
หมายถึง
education
teachers
school
children
สิ่งของที่มีความหมดเปลืองไปจากการใช้ เช่น สื่อรณรงค์
สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ฯลฯ
1. จัดทาทะเบียนคุมวัสดุ หรือ Stock Card
2. เก็บรักษาให้ปลอดภัยและเป็ นระเบียบ
3. ควรตรวจนับทุกเดือน
students
education
teachers
school
children
การควบคุมวัสดุ
ทะเบียนคุมวัสดุ (Stock Card)
ชื่อวัสดุ............................................................ ชนิ ด/ขนาด.............................
หน่ วยนับ...............................สถานที่เก็บ.........................................................
วันที่
เลขที่
เอกสาร
รายการ
รับ
จ่าย
คงเหลือ
หมายเหตุ
students
การเก็บรักษาเอกสารทางการเงินบัญชีและพัสดุ
1
2
3
4
education
teachers
school
children
5
>>> ให้เก็บรักษาไว้เป็ นเวลา 5 ปี
>>> สาหรับเอกสารที่ได้รบั การตรวจสอบจาก สตง. แล้ว ไม่มีปัญหา
และไม่จาเป็ นต้องตรวจสอบอีก ให้เก็บรักษาไว้เป็ นเวลา 1 ปี
+1
Thank You
สอบถามเพิ่มเติม
โทร. : 0-2615-7042-3 ต่อ
101
E-mail : [email protected]