อบรม อสม

Download Report

Transcript อบรม อสม

นโยบาย การดาเนินงานควบคุมป้ องกันโรคเรื้ อรัง
โดย อสม.
ปัจจัย เสี่ ยง ที่ส่งผลกระทบต่อสุ ขภาพเนื่องจากพฤติกรรมสุ ขภาพ
เช่น การบริ โภค การกินอาหาร ทาให้มีความเสี่ ยงต่อโรคไม่ติดต่อ
เรื้ อรัง เบาหวาน ความดันโลหิ ตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดและ
สมอง และโรคมะเร็ ง
กระทรวงสาธารณสุ ข ออกแผนยุทธศาสตร์ เพื่อเป็ นกรอบขับเคลื่อน
การปฏิบตั ิ เพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตที่ลดเสี่ ยง ลดโรค ลด
ภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ ลดการตาย ค่าใช้จ่าย
ยุทธศาสตร์ ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพชุมชม
ชุมชน เข้าใจ รับรู ้ ตระหนัก สามารถดูแลและจัดการเกี่ยวกับสุ ขภาพ
ดีวิถีชีวิตไทยและสุ ขภาวะ
ยุทธวิธี เปิ ดโอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยเข้ามามีส่วนร่ วมในการ
ตรวจสอบ
สร้างความร่ วมมือ ขยายเครื อข่าย พัฒนารู ปแบบ เพิม่ คุณภาพ สร้าง
ความเป็ นเจ้าของให้จดั การปัจจัยเสี่ ยงเพื่อการมีวิถีชีวิตสุ ขภาพที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบเฝ้ าระวังและการ
จัดการโรค
มีระบบเฝ้ าระวังปัจจัยเสี่ ยงที่มีคุณภาพมาตรฐานโดยการมีส่วนร่ วม
ของทุกภาคส่ วน
กลุ่มเสี่ ยงได้รับการคัดกรองที่มีคุณภาพ คลอบคลุมสามารถจัดการ
ได้ดว้ ยตนเอง
กลุ่มผูป้ ่ วยมีระบบและมาตรฐานการจัดการโรคและภาวะแทรกซ้อน
และการดูแลส่ งต่อ
การพัฒนาศักยภาพระบบเฝ้ าระวังโรคที่มีคุณภาพมาตรฐาน
กระทรวงสาธารณสุ ขมีนโยบายในการคัดกรองโรคเบาหวานโดย
เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงกลุ่มความเสี่ ยง อายุต้ งั แต่ 15 ปี
ส่ งเสริ มให้ อสม. เข้ามามีส่วนร่ วมในการคัดกรองโรคเบาหวาน
ร่ วมกับเจ้าหน้าที่ โดยมีนกั เทคนิคการแพทย์เป็ นครู ฝึกและควบคุม
มาตรฐาน อสม.
หลักกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
การเจาะเลือดจากปลายนิ้ว เป็ นการทาร้ายร่ างกายผูอ้ ื่น เป็ นการ
กระทบสิ ทธิ์ในชีวิตและร่ างกาย มนุษย์ ตามกฎหมายอาญา ซึ่ง
ในทางการแพทย์น้ นั การจะกระทาต่อร่ างกายมนุษย์จะต้องได้รับ
ความยินยอมจากเจ้าตัวหรื อจากผูใ้ ช้อานาจปกครองก่อนจึงสามารถ
กระทาได้ หากไม่ได้รับความยินยอมถือเป็ นความผิดตามกฎหมาย
อาญา และความรับผิดชอบทางแพ่ง ฐานละเมิดกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ได้
กฎหมายวิชาชีพ
“ห้ามมิให้ผใู้ ดซึ่งมิได้เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมทาการประกอบ
วิชาชีพ หรื อแสดงด้วยวิธีการใดๆให้ผอู ้ ื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิเป็ นผู ้
ประกอบวิชาชีพดังกล่าวเว้นแต่ในกรณี ใดกรณี หนึ่งดังต่อไปนี้ “
กล่าวคือผูจ้ ะประกอบวิชาชีพจะต้องเป็ นผูท้ ี่ข้ ึนทะเบียนและได้รับ
อนุญาตและทาการประกอบวิชาชีพจึงจะทาการประกอบวิชาชีพนั้นได้
หากผูใ้ ด ไม่ได้ข้ ึนทะเบียนและรับอนุญาตและทาการประกอบวิชาชีพ
หรื อทาการประกอบโรคศิลปะก็จะมีความผิดตามกฏหมายวิชาชีพซึ่ งมี
โทษตามอาญา
ข้อยกเว้น ความผิดทางอาญาไว้ตามกฎหมายวิชาชีพ
1. การประกอบวิชาชีพที่กระทาต่อตนเอง
2.นักเรี ยน นักศึกษา หรื อผูร้ ับการฝึ กอบรมซึ่งทาการฝึ กหัดหรื อ
อบรมในความควบคุมของผูป้ ระกอบวิชาชีพซึ่งเป็ นผูใ้ ห้การศึกษา
หรื อฝึ กอบรม
3.เป็ นบุคคลซึ่งมีกฎหมายอนุญาตให้ทาการประกอบวิชาชีพได้ โดย
ต้องเป็ นบุคคลได้รับมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพในความควบคุม
ของเจ้าหน้าที่ซ่ ึงเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพ เช่น อสม. พนักงานผู ้
ช่วยเหลือผูป้ ระกอบวิชาชีพ
อสม.ที่มีคุณสมบัติในการปฏิบตั ิงานต้อง
1.ปฏิบตั ิตามหลักสูตรฝึ กอบรมมาตรฐาน อสม. เรื่ องการเจาะเลือด
ฝอยจากปลายนิ้วเพื่อตรวจคัดกรองเบาหวานโดยใช้เครื่ องตรวจ
น้ าตาลปลายเลือดชนิดพกพาและปฏิบตั ิตามคู่มือการใช้เครื่ องตรวจ
น้ าตาลชนิดพกพาสาหรับ อสม.คัดกรองโรคเบาหวาน
2.ต้องเป็ นการปฏิบตั ิราชการหรื ออยูร่ ะหว่างการปฏิบตั ิราชการตาม
หน้าที่หรื อตามที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงสาธารณสุ ขมิใช่เป็ น
การปฏิบตั ิส่วนตน
3.ต้องอยูใ่ นความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซ่ ึงเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพเวช
กรรม ในทางปฏิบตั ิเจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข ซึ่งทาหน้าที่เป็ นพี่เลี้ยง
อสม. ในพื้นที่ เป็ นผูค้ วบคุมกากับการปฏิบตั ิงาน อสม. แทน
นายแพทย์ สสจ. ซึ่งในการปฏิบตั ิงานเจาะน้ าตาลปลายนิ้ว ต้องมี
เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ขดูแล อยูด่ ว้ ย
4.ต้องอยูใ่ นการควบคุมด้านคุณภาพของเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็ นผูป้ ระกอบ
วิชาชีพเวชกรรม หรื อวิชาชีพเทคนิคการแพทย์
การใช้ เครื่องตรวจนา้ ตาลในเลือด
ชนิดพกพา
โดย
.............................................
วัตถุประสงค์ของการฝึ กอบรม
1. มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามระเบียบ
กระทรวงสาธารณสุ ขที่เกี่ยวข้อง
2.มีความรู ้เรื่ องการคัดกรองเบาหวานเบื้องต้นตามแบบคัดกรอง
เบาหวานได้
3.สามารถเจาะเลือดฝอยจากปลายนิ้วได้อย่างถูกต้องและปลอดจาก
การติดเชื้อ
4.สามารถอ่านค่าระดับน้ าตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง แปลผล และ
รายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
สามารถจัดการอุปกรณ์ที่ใช้ในการเจาะเลือดที่ใช้แล้วได้อย่าง
เหมาะสมปลอดภัย
เครื่องตรวจนา้ ตาลและอุปกรณ์ เจาะเลือด
วัตถุประสงค์
เพื่อตรวจคัดกรอง
การตรวจติดตาม ผลการรักษาโรคเบาหวาน
การตรวจเพื่อประเมินสภาวะของผูป้ ่ วย
หลักการตรวจวิเคราะห์
หลักการตรวจวิเคราะห์มี 2 หลักการ
1.Photometric method
วัดการเกิดแสงที่เกิดจากความเข้มของสี
2.Electrochemical technology หรื อ Biosensor
วัด อิเล็คตรอนที่เกิดจากปฏิกิริยาของน้ าตาลกลูโคส
กล่องบรรจุชุดตรวจ
ขวดและแผ่ นตรวจ
ตรวจสอบ code key ให้ ตรง
กับข้ างขวด
เมื่อเปิ ดกล่อง จะพบขวดบรรจุ
แผ่ นตรวจและ CODE KEY
สารควบคุมคุณภาพ (ตรวจสอบเครื่อง)
การเจาะเลือด
เลือดมีความสาคัญอย่ างไร
เลือดในร่ างกายของคนเรามีหน้ าทีน่ าพาออกซิเจน อาหาร
สารเคมี ฮอร์ โมน ไปเลีย้ งเซลล์ต่างๆ และขนถ่ ายของเสี ย
เพือ่ ขับออกจากร่ างกาย
เราจะตรวจเลือดได้ อย่ างไร
เจาะเลือด
เตรียมเลือด
เข้ าเครื่องตรวจ/ทาปฏิกริ ิยากับนา้ ยาตรวจ
แปลผลการตรวจ
เลือด ตรวจหาอะไรได้ บ้าง
อวัยวะ
โรค
ไต
ความผิดปกติไขมันในเลือด
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคกล้ามเนือ้ หัวใจอักเสบ
โรคไต/โรคเก๊าท์ /นิ่วในไต
ตับ
โรคตับ / ดีซ่าน
ตับอ่อน
โรคเบาหวาน / โรคตับอ่อนอักเสบ
เลือด
โรคโลหิตจาง
ระบบไขมันในเลือดและหัวใจ
เลือด ตรวจหาอะไรได้ บ้าง
มะเร็ง
การติดเชื้อต่ างๆ เช่ น เอดส์ ซิฟิลิส ฉี่หนู ไวรัสตับอักเสบ
สารพิษในเลือด
หมู่เลือด
ฯลฯ
การเจาะเบาหวาน คือการตรวจระดับนา้ ตาลในเลือด
การเตรียมตัวเพือ่ มาเจาะเลือดหาเบาหวาน
งดอาหารและเครื่องดืม่ ทุกชนิด 8 ชั่วโมง
ไม่ เคีย้ วหมาก
ไม่ เคีย้ วหมากฝรั่ง
ไม่ อมฮอลล์
ระดับน้าตาลในเลือด
คนปกติ 70-110 mg%
คนทีเ่ ป็ นเบาหวาน คือ ตรวจพบว่ าระดับนา้ ตาลในเลือด
มากกว่ า 126 mg%
• ระดับนา้ ตาลหลังกินข้ าวมา 2 ชั่วโมง น้ อยกว่ า 140 mg% *
• นา้ ตาลต่า ระดับนา้ ตาล < 70 mg %
• นา้ ตาลสู ง ระดับนา้ ตาล > 110 mg %
ทำไมต้องอดอำหำรและเครื่องดื่ม
8 ชัว่ โมง
คนปกติ น้ำตำลที่อยูใ่ นอำหำรที่เรำกิน
เข้ำไปอยูใ่ นกระแสเลือด 8 ชัว่ โมง
แล้วจะถ ูกดึงไปใช้เป็นพลังงำน
จนเหลืออยู่ 70 - 110 mg%
เพรำะฉะนัน้ ต้องอดท ุกอย่ำงมำให้เหมือนกัน
ก่อนมำเจำะเลือด
ยกตัวอย่ างคนไข้ เบาหวาน
นาง ก ไก่ กินข้ าวเช้ ามาเจาะเลือด พบว่ าระดับนา้ ตาลในเลือดสู ง
หมอสั่ งยาลดนา้ ตาล
นา้ ตาลตา่
กระวนกระวาย ไม่ เป็ นตาอยู่
ที่มาของเลือด
เจาะเลือดจากเส้ นเลือดดาทีแ่ ขน
เจาะเลือดจากเส้ นเลือดฝอยทีป่ ลายนิว้
ผิวหนังทีค่ วรรู้
ผิวหนังมี 3 ชั้น
1. ผิวหนังชั้นนอก
2. ผิวหนังแท้
3. ใต้ ผวิ หนัง
ตาแหน่ งปลายนิว้ ทีใ่ ช้ เจาะเลือด
นิว้ กลางหรือนิว้ นาง
แทงใบมีดให้ ต้งั ฉากกับเส้ นลายมือ
ด้ านข้ างของนิว้
อุปกรณ์ เจาะเลือด
สาลีแห้ง และ สาลีชุบ 70 % แอลกอฮอลล์
ใบมีด
1.
2.
3.
ขั้นตอนการเจาะเลือด
ล้างมือให้สะอาดก่อนเจาะเลือดทุกครั้ง
นวดคลึง ปลายนิ้วที่จะทาการเจาะ ( นิ้วกลางหรื อนิ้วนาง) เพื่อให้
เลือดไหลเวียนดีข้ ึน
ใช้สาลีแห้ง ชุบ 70% alcohol เช็ดบริ เวณที่จะทาการเจาะเลือดรอ
ให้แห้ง
ใช้อุปกรณ์ เจาะเลือด( ใบมีดหรื อเข็ม) เจาะด้านข้างของปลายนิ้ว
เช็ดเลือดหยดแรกออกก่อนด้วยสาลีแห้ง ทดสอบกับแถบตรวจด้วย
หยดเลือดหยดที่สอง
การตรวจเลือดหาเบาหวาน คือ
การตรวจนา้ ตาลในเลือด
ข้อแนะนาในการใช้เข็มเจาะปลายนิ้ว
เลือกใช้เข็มที่ใช้แล้วทิ้งทันที ห้ามใช้เข็มเจาะเลือด หรื อใบมีด ที่ไม่
สามารถควบคุมความลึกของการเจาะเลือดฝอย ต้องไม่บีบเค้นเลือด
มากไป และเปลี่ยนอุปกรณ์เจาะเลือด ชุดใหม่ต่อหน้า ผูป้ ่ วยรายต่อ
ราย
การกาจัดเข็มเจาะเลือด ทิ้งใส่ กล่องที่มีความแข็งแรง ป้ องกันการ
ทะลุของวัสดุมีคม
คุณสมบัติเครื่ อง
ถ้าไม่ได้ใช้งาน เครื่ องจะปิ ดตัวเองภายใน 90 วินาที หรื อ 5 วินาที หลังดึง
แถบตรวจออก
ถ้าใส่ เลือดไม่เต็ม สามารถเติมเลือดได้ภายใน 15 วินาที
เปิ ดขวดแล้วปิ ดฝาทันที
แผ่นตรวจ ที่ออกจากขวดต้องตรวจภายใน 3 นาที ถ้าเกิน --- ทิ้งเลย
ตรวจได้ต้ งั แต่ 10 – 600 mg/dl (หมายความว่า ถ้าระดับน้ าตาลต่ากว่า 10
เครื่ องจะขึ้น LO และ ขึ้น HI เมื่อน้ าตาลมากกว่า 600 mg/dl)
ถ้าทาผิดเครื่ องจะเตือน ERR ที่หน้าจอ
เครื่ องรุ่ นใหม่ ไม่ตอ้ งเปิ ด เพียงใส่ แถบตรวจเครื่ องก็ทางานได้เลย
ชนิดของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ ที่ใช้กบั เครื่ องตรวจน้ าตาลมีหลายแบบ เช่น
การเปลี่ยนแบตเตอรี่ ตอ้ งกดปุ่ มปิ ดเครื่ องก่อน ค่อยนาแบตเตอรี่ เก่า
ออกแล้วใส่ กอ้ นใหม่ แล้วค่อยเปิ ดปุ่ มใช้งานตามปกติ
การสอบเทียบเครื่ อง
ข้อกาหนดสากลทัว่ ไป ให้ ค่า น้ าตาล มีความถูกต้อง accuracy
10% เมื่อเทียบกับค่าที่ได้จากแลบ
สมาคมโรคเบาหวาน แห่ง สหรัฐอเมริ กา กาหนดให้เครื่ องมีความ
คลาดเคลื่อน น้อยกว่า 5 %
เครื่ องตรวจน้ าตาลแต่ละเครื่ องอาจมีวิธีการสอบเทียบต่างกัน
วิธีการสอบเทียบ
1.เปิ ดเครื่ องโดยการกดปุ่ ม ปิ ด เปิ ด ( Power on ) หรื อใส่ แถบ
ตรวจ เพื่อเปิ ดเครื่ อง
2.เครื่ องจะแสดง Code ที่ใช้ หรื อแสดงว่า พร้อมใช้งาน
3.ใส่ code ตามที่กาหนดข้างกล่อง เครื่ องจะสนอง ตอบ Code
นั้น แสดงว่า เครื่ องผ่านการสอบเทียบแล้ว
ควรมีการทดสอบกับวัสดุควบคุมคุณภาพเพื่อยืนยัน ผลการสอบ
เทียบโดยทดสอบกับแถบทดสอบ ค่าที่ได้อยูใ่ นเกณฑ์ที่กาหนด
การประกันคุณภาพ
ก่อนการใช้งาน จะต้องทาการตรวจประสิ ทธิภาพ
โดยสารควบคุมคุณภาพอย่างน้อย 2 ระดับ คือ ค่าต่า ค่าสูง
การควบคุมคุณภาพ ควรทาอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และนาผลการ
ทดสอบมา plot graph ตามหลักวิชาการ
ข้อจากัดด้านการใช้งาน
1.ปัจจัยด้านแถบทดสอบ- อายุของแถบทดสอบ ความชื้น การเก็บรักษา
ที่ถูกต้อง
2.ปัจจัยด้านกายภาพ เช่นอุณหภูมิในการตรวจ ความสู งจาก
ระดับน้ าทะเล
3.ปัจจัยจากตัวของผูป้ ่ วย
4.ปัจจัยของค่าความเข้มข้นของเลือด Hct สู ง ค่า น้ าตาลต่า
Hct ต่า ค่าน้ าตาลสู ง ศึกษาตามคุณสมบัติของเครื่ องตรวจ
5. สารชีวเคมี เช่น ระดับ ไขมัน ระดับ uric ที่มีค่าสู ง
การแปลผลเลือด
1..นา้ ตาลเมื่ออดอาหาร ค่ าปกติ 70-110 mg%
เมื่อกินข้ าวมาแล้ ว 2 ชั่วโมง น้ อยกว่ า 140 mg%
ผู้ป่วยเบาหวาน มีระดับนา้ ตาลในเลือด FBS > 126 mg %
ขอบคุณค่ ะ