อ่านรายละเอียดได้ที่นี่จ้า .... ^o

Download Report

Transcript อ่านรายละเอียดได้ที่นี่จ้า .... ^o

การเก็บตัวอย่ างเลือดเพือ่ ส่ งตรวจ
ทางห้ องปฏิบัติการ
โดย น.ส.จรวยพร ซุยกุย
งานชันสูตรสาธารณสุ ข โรงพยาบาลลอง
การเก็บตัวอย่ างเลือด
Tube ที่ใช้เก็บตัวอย่างเลือดมี 2 แบบ คือ
1. Tube ที่มี anti-coagulant
2.
Tube ที่ไม่มี anti-coagulant
Tube ที่มี anti-coagulant

Tube EDTA → CBC , Plt. count , ESR , OF/DCIP , G-6-PD ,
Hb. typing, DHF

Tube NaF → FBS , blood sugar
Tube ที่ไม่ มี anti-coagulant

Chemistry → cholesterol, triglyceride, BUN, Cr, uric acid,
LFT, electrolyte, P, Ca 2+

Immunology → thyroid hormone, anti-HIV, HBV, RF, VDRL,
Widal-Weil felix, Lepto titer

Blood bank → blood group, cross- matching, Coomb’s test
ปริมาณเลือดที่ต้องการใช้
ปริมาณเลือด
2.5 - 3 cc.
3 – 5 cc.
5 cc.
ชนิดของการตรวจ
CBC, Plt. count, G-6-PD, OF/DCIP, ESR, Hb. typing,
reticulocyte count, glucose, FBS, blood sugar, BUN,
Cr, uric acid, cholesterol, triglyceride, DHF
Cross-matching, Coomb’ s test
Thyroid hormone, amylase, calcium, phosphorus, LFT,
Widal-Weil felix, RF, HBV, anti-HIV, Lepto titer
Hemoculture



ผูใ้ หญ่ เจาะเลือด 3 -10 cc. ใส่ ขวดฉลากสี เงิน จุกขวดสี เงิน
อลูมิเนียมที่หุม้ ปากขวด สี นา้ เงิน
เด็ก เจาะเลือด 1-4 cc. ใส่ ขวดฉลากสี ชมพู จุกขวดสี ชมพู
อลูมิเนียมที่หุม้ ปากขวด สี เงิน
เจาะเลือดห่างกัน 30 นาที ส่ ง 2-3 ขวด / ตามแพทย์สงั่
เขย่าขวดเบาๆให้เลือดผสมกับอาหารเลี้ยงเชื้อเป็ นเนื้อเดียวกัน
วิธีการเก็บตัวอย่ างเลือด
1. Sterile technique
2. ระวังการ clot
สาเหตุจาก - ขณะเจาะเลือดเกิดการ clot ใน syringe
- ใช้ tube ที่ไม่มี anti-coagulant
- ไม่ได้ mix, mix ไม่ถูกวิธี หรื อ mix น้อยเกินไป
วิธีแก้ไข - ใส่ เลือดแล้วปิ ดฝา → mix เบา ๆ ทันที
โดยกลับ tube ไป-มา ประมาณ 20-30 ครั้ง
วิธีการเก็บตัวอย่ างเลือด (ต่อ)
3. ระวังการเกิด hemolysis
สาเหตุจาก -ไม่ปลดเข็มออกก่อน
- ไม่แตะปลาย syringe ข้าง tube
- mix แรงเกินไป
- tube ไม่แห้ง ไม่สะอาด
ข้ อควรระวัง / ข้ อแนะนา
1.
กรณี ส่ง hemoculture
- ห้ามเช็ดฝาขวดด้วย providine
- เก็บสิ่ งส่ งตรวจที่อุณหภูมิหอ้ ง ห้ามแช่ตเู ้ ย็น
- ควรระวังการปนเปื้ อนให้มากที่สุด
ควรเก็บตัวอย่ างก่อนให้ antibiotic ทุกชนิด
- ห้ามปิ ดฉลากป้ ายชื่อผูป้ ่ วยทับบริ เวณบาร์โค้ด
2.
การเจาะเก็บตัวอย่างส่ งตรวจทุกชนิด
ต้ องเป็ นข้ างทีไ่ ม่ ได้ ให้ สารนา้ (IV)
ข้ อควรระวัง / ข้ อแนะนา (ต่อ)
3.
การส่ งตรวจ FBS, blood sugar ต้องให้ผปู ้ ่ วยงดอาหารอย่าง
น้อย 6 ชัว่ โมง และการตรวจหาระดับไขมัน เช่น Cholesterol,
Triglyceride ต้องให้งดอาหารอย่างน้อย 10 – 12 ชัว่ โมง
* * การงดอาหาร หมายถึง งดรับประทานอาหารและเครื่ องดื่ม
ทุกชนิด ยกเว้ น นา้ เปล่า * *
4.
การส่ งตรวจ Microbilirubin ควรนา capillary tube ใส่ ในขวด
สี ชาทันทีหลังจากอุดด้วยดินน้ ามันแล้ว ระวังอย่ าให้ ถูกแสง
ข้ อควรระวัง / ข้ อแนะนา (ต่อ)
5.
การเจาะ / เก็บตัวอย่างส่ งตรวจ Calcium ห้ ามใช้ อุปกรณ์ ทเี่ ป็ น
พลาสติก ให้ใช้ syringe แก้ว และ tube แก้ว
6.
กรณี ที่แพทย์สงั่ PBS (Peripheral Blood Smear) ให้เจาะเลือด
ใส่ ใน tube EDTA เหมือนการเจาะตรวจ CBC
7.
กรณี ที่แพทย์สงั่ electrolyte ควบคู่กบั CBC ให้เจาะเลือดใส่ ใน
tube แก้วที่จะส่ งตรวจ electrolyte ก่อนแล้วค่อยใส่ เลือดส่ วนที่
เหลือใน tube CBC เพื่อป้ องกันไม่ให้ EDTA ปนเปื้ อนลงใน
tube ตรวจ electrolyte
ข้ อควรระวัง / ข้ อแนะนา (ต่อ)
8. ระบุชื่อ-นามสกุล HN. และ วันที่เก็บตัวอย่างของผูป้ ่ วยให้ ถูกต้ อง
และชัดเจน ทุกครั้ง
อย่ าลืม !! ตรวจสอบรายละเอียดในใบนาส่ งตรวจและในฉลากป้าย
ชื่อทีต่ ิดบนภาชนะบรรจุสิ่งส่ งตรวจให้ ถูกต้ องตรงกัน
Thanks for attention