การจัดเก็บตัวอย่างสำหรับส่งต่อทางห้องปฏิบัติการ

Download Report

Transcript การจัดเก็บตัวอย่างสำหรับส่งต่อทางห้องปฏิบัติการ

การจัดเก็บตัวอย่าง ข้อควรระวัง ในการเก็บ
ตัวอย่างและการนาส่งตัวอย่าง
โ ด ย น า ง รั ต น า ภ ร ณ์ ปิ ย ก ะ โ พ ธิ์
นั ก เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย์ ชา น า ญ ก า ร
โ ร ง พ ย า บ า ล บ้ า น ม่ ว ง
การจัดเก็บตัวอย่างสาหรับส่งต่อทางห้องปฏิบตั กิ าร
 การส่งสิ่งส่งตรวจทุกครัง้ ควรทาดังนีค
้ ือ
เขียนชือ่ – นามสกุล, วันที่ ลงบนสติก๊ เกอร์ บน
ภาชนะที่บรรจุสิ่งส่งตรวจให้ชดั เจน
นาสิ่งส่งตรวจพร้อมใบส่งตรวจที่ระบุชอื่ เจ้าของสิ่ง
ส่งตรวจ วันที่สง่ ตรวจและรายการทดสอบที่สง่ ตรวจหรือ
อื่นๆ ให้ชดั เจน
การนาส่งให้ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดเรื่องการนาส่งส่ง
ส่งตรวจ (Specimen Transportation) ของแต่
ละการทดสอบ
ปัญหาทีพ่ บในการรับสิ่ งส่ งตรวจ
Human error
• เก็บตัวอย่างผิดคน (identification)
• ใช้ภาชนะไม่ถ ูกชนิด (Containner)
• นาส่งผิดเวลา / อ ุณหภ ูมิไม่เหมาะสม (Transport)
• ปริมาณไม่ถ ูกต้อง – พอเพียง (Volume)
เปลีย่ นพยาบาล/
• ใบนาส่งไม่ถ ูกต้อง (Request form)
เจ้ าหน้ าทีใ่ หม่
• ตัวอย่างอยูใ่ นสภาพไม่เหมาะสมต่อการตรวจ (Quality)
• label ไม่ชดั เจน / ผิด (Labeling)
ย้ ายห้ องแล็ป
ก็ไม่ บอก??
อุปกรณ์ในการเก็บบรรจุสิ่งส่งตรวจ
 EDTA Ethylene diamine tatra-acitic acid)
นิยมใช้ Dipotassium salt มากกว่า เพราะละลายนา้ ได้ดี
 EDTA เป็ นสารกันเลือดแข็งตัวที่เหมาะสาหรับ เก็บเลือดเพื่อ ตรวจค่าโลหิตวิทยา เพราะป้องกัน
การแข็งตัวของเลือดได้อย่างสมบูรณ์ ไม่ทาให้รปู ร่างและปริมาตรของเม็ดเลือดเปลี่ยนแปลง
ป้องกันการเกาะกลุม่ ของเกร็ดเลือด (Surface adhesion)
 เหมาะสาหรับการเก็บเลือดไว้ทดสอบหาอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
(Erythrocyte Sedimentation Rate; ESR) ค่า Complete Blood
Count (CBC) และการนับเกร็ดเลือด ความเข้มข้นที่ใช้คือ EDTA 1-2 มิลลิกรัมต่อ
เลือด 1 มิลลิลิตร
 ข้อควรระวัง ถ้าใช้ EDTA ในปริมาณที่มากเกินไป จ ะ ทาให้เม็ดเลือดแดงเหี่ยว ซึ่งจะทาให้ค่า
เม็ดเลือดแดง ตา่ กว่าความเป็ นจริง และมีค่าดัชนีเม็ดเลือดแดง (Mean corpuscular
volume; MCV, Mean corpuscular hemoglobin; MCH และ Mean
corpuscular hemoglobin concentration; MCHC) ไม่เป็ นไปตามจริง
ด้วย
 NaF ( sodium fluoride )
 เป็ นสารกันเลือดแข็งที่มีคณ
ุ สมบัติยบั ยัง้ กระบวนการ
เกิด glycosis เหมาะสาหรับการตรวจ glucose
เพื่อให้ระดับนา้ ตาลในเลือดไม่เปลี่ยนแปลง เมือ่ ทาการตรวจ
 เฮปาริน ( Heparin )
เป็ นภาชนะสาหรับเก็บตัวอย่างตรวจทางเคมีคลินกิ
 Tube Clotted Blood (ฝาสีแดง)
สาหรับตรวจทางภูมคิ มุ้ กันวิทยา
การบันทึกผลการตรวจวิเคราะห์
 1. ระบุ ยี่หอ้ lot วันหมดอายุ ของแถบตรวจ ต่างๆ ใน work sheet และ
วันเวลาที่เปิ ดขวด วันหมดอายุหลังจากเปิ ดขวด
 2. ระบุผตู้ รวจวิเคราะห์ ทุกครั้งหลังการตรวจ
 3. บันทึก รายชือ่ ผูป้ ่ วย และปฏิกิริยา ของการตรวจวิเคราะห์ใน work sheet
การนาส่ง
 บรรจุในภาชนะ ที่ มีการควบคุมอุณหภูมเิ พื่อรักษาสภาพของตัวอย่างให้เหมาะสมใน





การตรวจ 4-8 องศา และควรนาส่งภายใน 6-8 ชัว่ โมง เพื่อให้ได้ตวั อย่างที่มี
ความเหมาะสม ในการตรวจวิเคราะห์ และได้ผลการตรวจวิเคราะห์ที่มีความถูกต้อง
แม่นยา
ขัน้ ตอนการแพ็ค ตัวอย่างส่งทางห้องปฏิบัติการ
ภาชนะ ที่ใช้ กล่องไฟม หรือ กล่องพลาสติก
1. บรรจุ Ice pack ลงไป
2. ใช้กระดาษรอง ก่อนบรรจุ
3. ตัวอย่างบรรจุใส่ในถุงซิป วางบนกระดาษ ใช้กระดาษ ทับอีก 1 ชัน้ ก่อนใส่
Ice pack ทับอีก ปิ ดฝา
Thank u for attention