Document 7282898

Download Report

Transcript Document 7282898

Chapter 12
IT in Logistics
Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya
Naresuan University
Payao Campus
Semester 1/50
1
เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบโลจิสติกส์
เหตุผลหลักทีต่ ้ องนำ Information Technology (IT) เข้ ำมำใช้ ในระบบโลจิสติกส์
– โลจิสติกส์ ต้องกำรควำมรวดเร็วในกำรขนส่ งอย่ ำงถูกต้ องแม่ นยำ
– ระบบโลจิสติกส์ ต้องมีกำรแลกเปลีย่ นข้ อมูลกันตลอดเวลำ
– สำรสนเทศทีถ่ ูกต้ องและทันเวลำจะช่ วยกิจกำรลดระดับสิ นค้ ำคง
คลังได้
– IT จะช่ วยเรื่ องกำรปรับเส้ นทำงและตำรำงเวลำขนส่ งให้ เหมำะสม
– ช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภำพกำรบริกำรแก่ลูกค้ ำ
– สำมำรถช่ วยลดค่ ำแรงงำนในกำรบริหำรโลจิสติกส์ ได้
– ช่ วยเพิม่ อัตรำกำรใช้ ประโยชน์ จำกปริมำตรในคลังสิ นค้ ำได้
2
Traditional Supply Chains
• Raw material suppliers may require time to increase their production to
meet FS’s larger orders, resulting in temporary shortages for the
supplier.
• By contrast, if the participants in the supply chain are part of an
integrated process, information about the increased customer demand
can be passed quickly through the supply chain, so each link in the
chain can react quickly to the change.
Goods
$
$
$
Goods
Goods
Goods
Supplier
Information
Manufacturer
Information
Wholesaler
Information
$
Goods
Retailer
Information
Supply-chain management (SCM) from raw materials to consumer
Customer
Raw Materials
$
Information
3
IT in Logistics Activities
QC &
Waste
Packaging
Forecasting Purchasing
Inbound
logistics
Warehouse transport Production transport Warehouse
Production
Planning
Scheduling
Order
Fulfillment
Return
goods
Customer/Upstream
Outbound
logistics
Suppliers / Downstream
Information Feedback
Customer
Distribution
services
RO
DC = Distribution Center
RO = Repairs Operation
Location
Planning
Information Feedback
4
IT ในระบบโลจิสติกส์
• Hardware
• Software
• Network
– ระบบเครื อข่ายในการติดต่อสื่ อสาร
เช่น เครื อข่าย EDI , Internet
หรื อ เครื อข่ายโทรศัพท์ต่างๆ
• Database ;
– Data Warehouse
– Data Mining
• Detection Technology
5
Hardware Computer
Processing
Input Unit
Output
Storage
6
Hardware
Peripherals
7
Software in Logistics
8
Software
• Software ที่ใช้ในระบบโลจิสติกส์มกั ครอบคลุมทุกๆ ส่ วนของ
Supply Chain แต่สามารถแบ่งออกเป็ นสองส่ วนใหญ่ๆ ดังนี้
– ส่ วนที่ 1 เกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมการผลิต ประกอบด้วย
•
•
•
•
•
CAD : (Computer Aided Design)
CAM : (Computer Aided Manufacturing)
CIM : (Computer Integrated Manufacturing)
PLC : (Programmable Logical Control)
ERP : (Enterprises Resource Planning)
– ส่ วนที่ 2 เกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการวัสดุ ประกอบด้วย
• โปรแกรมเกี่ยวกับการบริ หารสิ นค้าคงคลัง (Inventory Control)
• โปรแกรมบริ หารความต้องการวัสดุ (MRP ; Material Requirement
Planning)
9
ERP
ปั จจุบนั ระบบ Supply Chain Management ถูกพัฒนาให้มีการ
บริ หารที่สะดวกรวดเร็ วมากขึ้น โดยนาคอมพิวเตอร์ เข้ามาเป็ นเครื่ องช่วยสาคัญ เรี ยกว่า
ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning)
•
มีบริ ษทั ขนาดใหญ่หลายรายได้นาระบบนี้ เข้ามาใช้งาน โดยหลักการเบื้องต้นของ
Supply Chain Management เป็ นเรื่ องของการจัดการวัตถุดิบเป็ น
หลักก่อน ต่อมาก็จะเป็ นเรื่ องของการดูแลสิ นค้าคงคลัง และเป็ นที่นิยมมากขึ้น จนเป็ น
เรื่ องของการตอบสนองลูกค้าอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และทั้งหมดจะใช้บาร์ โค้ดเป็ นตัว
หลักเพื่อเป็ นการประหยัดเวลา เพราะหากสต็อกของผูท้ ี่ รับสิ นค้าเราไปขายหมดลง
เมื่อไหร่ ระบบ Supply Chain จะแจ้งเราทันทีทางคอมพิวเตอร์ และแจ้งต่อไป
ยังซัพพลายเออร์ ที่ขายวัตถุ ดิบให้กบั เรา ส่ งต่อไปให้โกดังที่ ทากล่องกระดาษบรรจุ
สิ นค้ า เราโดยจะส่ งต่ อ ไปหมดทุ ก ที่ เช่ น หากมี ค นไปซื้ อสิ นค้ า ของเราใน
ห้างสรรพสิ นค้า เมื่ อไปถึงแคชเชี ยร์ แคชเชี ยร์ อ่านรหัสบาร์ โค้ด ระบบก็จะตัดสต็อก
ทันที ซึ่ งระบบจะเป็ นแบบนี้ ตลอดไปทาให้ง่ายต่อการควบคุมสต็อกและการทางาน จึง
สามารถลดต้นทุนค่าแรงงานคนงาน ค่าจ้างพนักงานขายและต้นทุนอื่นๆ ได้อีกมาก
• ERP เป็ น Software ขนาดใหญ่ที่บริ หารองค์กรได้ท้ งั ต้นน้ าตลอดปลายน้ า10
•
คุณลักษณะและการใช้งานโปรแกรม ERP
Planning
Source
Make
Deliver
Marketing
Enterprises
Management
System
Purchasing
Management
Manufacturing
planning
-Aggregate plan
Warehouse
Management
-Inventory control
CRM
Marketing
Management
Human resource
Management
System
-Order system
-EOQ
-P/O
-MPS
-MRP
-CRP
Distribution
Management
Product
Development
Accounting
-VMI
-QC/inspection
Production
Planning
Fleet
Management ;
-GPS
Market
Analysis
-GL,AR,AP,IC,
-AS ,PR,CHQ
Finance
- Capital / Asset
Management
Sales Support
-Call center
-Order entry
-Sales
Quotation
11
หน้ ำต่ ำง Interface ของ Program ERP ยีห่ ้ อ SAP R/3
SAP R/3
12
Computer Networks
เครื อข่ายการสื่ อสารและคอมพิวเตอร์ในระบบโลจิสติกส์
•
•
•
•
•
•
Internet , Extranet , Intranet
Simplified Networks Topology
EDI (Electronic Data Interchange)
VPN (Virtual Private Networks)
GSM (Global System for Mobile Communication)
GPRS (General Packets Radio Services)
• GPS (Global Positioning System)
• Tracking System
13
Internet
INTERNET (อินเทอร์ เน็ต) เป็ นระบบเครื อข่ายขนาดใหญ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทวั่ โลก
สามารถเชื่ อมต่อกันได้โดยใช้มาตรฐานในการรับส่ งข้อมูลที่เป็ นหนึ่ งเดียวทัว่ โลก ใน
ระบบโลจิ สติกส์ สามารถใช้อินเทอร์ เนต ในการส่ งผ่านข้อมูลต่างๆ ระหว่างกิจกรรม
เพื่อประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันอย่างเปิ ดเผย
14
ทีม่ ำของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
Extranet
Network @ Factory
Network @ Retail store
• การติดต่อระบบเครื อข่ายออกไปภายนอกองค์กร เช่น การติดต่อระหว่างโรงงาน
ของ Supplier กับ ร้านค้าปลีกที่มีสัญญาระหว่างกัน การเชื่อมต่อโครงข่าย
แบบ Extranet จะมีผใู ้ ห้บริ การเครื อข่ายที่มีหน้าที่เข้ารหัสสัญญาณ ไม่ให้
ข้อมูลสาคัญถูกลักลอบในเครื อข่าย
ทีม่ ำของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
15
Intranet
เครื อข่ ำยในคลังสิ นค้ ำ
เครื อข่ ำยในโรงงำน
• เครื อข่ายตั้งแต่ 2 เครื อข่าย ขึ้นไปเชื่อมโยงติดต่อกัน ตัวอย่างเช่นในการติดต่อ
ระหว่าง แผนก 1 กับแผนก 2 ภายในองค์กรเดียวกันมิได้ติดต่อออกไปภายนอก
ใช้สาหรับสานักงานสาขา หรื อการติดต่อภายในระบบโลจิสติกส์ของบริ ษทั
เดียวกัน เช่น โกดังสิ นค้ากับโรงงานเป็ นต้น เพื่อให้สะดวกต่อการติดต่อสื่ อสาร
ข้อมูลการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ในเครื อข่าย โดยที่บุคคลภายนอกเข้ามาไม่ได้เลย
ทีม่ ำของข้ อมูล http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
16
Client/Customer
Simplified
Network
Topology
Router
Exchange / Staging Server
Web server
Private Network
DMZ
Database Server
Client/Office PC
17
EDI (Electronic Data Interchange)
EDI เป็ นเครื อข่ายการสื อสารข้อมูลสาหรับการบริ หารโลจิสติกส์ที่มีมานานแล้ว
ส่ วนมากเริ่ มต้นในวงการส่ งออก ชิปปิ้ ง การศุลกากร ปั จจุบนั เครื อข่าย EDI
เปลี่ยนชื่อเรี ยกไปหลายอย่าง เช่น VPN , Extranet
18
ทีม่ ำของภำพ http://www.infomining.co.th/InfoMining/Service/EDI/What's%20EDIWeb.html
EDI คือวิธีกำรแลกเปลีย่ นข้ อมูลเอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่ ำงองค์ กร ด้ วยรูปแบบมำตรฐำน โดยองค์กร
ส่ วนใหญ่เลือกใช้มาตรฐาน X12 จากANSI (American National Standard) และ EDIFACT
องค์กรส่ วนใหญ่ที่ใช้ระบบ EDI ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลจะเป็ นบริ ษทั ผลิตวัตถุดิบ บริ ษทั จัด
จาหน่ายสิ นค้า บริ ษทั ทางการเงิน ธนาคาร บริ ษทั ขนส่ ง ผูส้ ่ งออกสิ นค้า ผูน้ าเข้าสิ นค้า ศุลกากร
ท่าเรื อ คลังสิ นค้าสนามบิน และหน่วยงานราชการเป็ นต้น
รู ปแบบในกำรใช้ งำนระบบ EDI สำมำรถแบ่ งออกเป็ น 2 รูปแบบ
สามารถรับข้อมูลได้อย่างเดียว(EDIFax) หรื อทั้งรับและส่ งข้อมูลได้ (EDI/EDIWeb)
ในระบบ EDI/EDIWeb ผูส้ ่ งสามารถส่ งข้อมูลโดยคียข้อมูลผ่านโปรแกรม EDI หรื อ Web Browser เข้าสู่
ระบบเครื อข่าย EDI และคอมพิวเตอร์ในระบบเครื อข่าย EDI ส่ งข้อมูลผ่านไปยังผูร้ ับ ซึ่ งผูร้ ับ
สามารถอ่านข้อมูลได้บนจอคอมพิวเตอร์ผา่ นโปรแกรม EDI หรื อ Web Browser
รู ปแบบการใช้งานของระบบ EDI/EDIWeb สาหรับผูส้ ่ งและผูร้ ับสามารถใช้ Web Browser และระบบ
เครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในการส่ งข้อมูลเข้าเครื อข่าย EDI จะเหมาะสมกับบริ ษทั ขนาดเล็กและขนาด
กลางที่ไม่ตอ้ งการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กบั ระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่นระบบบัญชี ระบบ
คงคลัง ระบบวางแผนการผลิต เป็ นต้น หากผูร้ ับหรื อผูส้ ่ งใช้โปรแกรม EDI ในการรับส่ งข้อมูลจะ
สามารถเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ ระบบงานอื่น ๆ ได้ประโยชน์ในการใช้ระบบ EDI
http://www.infomining.co.th/InfoMining/Service/EDI/What's%20EDIWeb.html 19
EDI Services
•
•
•
•
Purchase Order
Good Receiving
Return & Credit Notes Request
Advanced EDI Services
– Closed System for member only
– Connect with UserID & Password and firewall
– MS-Internet Explorer , Modem &PSTN or
Leads-line
20
Supply Chain Management Framework
(S2S Model ; Stock-to-Stock)
Digital Phase
Bank
Bank
E-Payment
VPN
Virtual or Private
Inter-network
Suppliers
Stock
EDI or Virtual Private Network
Retailer
Stock
VPN or EDI Service Provider
Logistics
Physical Phase
Management
Automatic Replenishment
Retailer,Wholesaler
Manufacturer
21
EDI ; Virtual Private Network
EDI or VPN
Service Provider
Virtual or Private
Inter-network
Encryption
(Cryptography)
Suppliers
Retailer
http://mkpayap.payap.ac.th/course/mk361/Homepages/Content/Collaboration.ppt
22
Thai Trade Net Co.,Ltd
www.ttn.co.th/
EDI Service
Provider
Tiffa EDI Services
Co.,Ltd.
www.tiffaedi.com/
23
VPN (Virtual Private Network) ; Extranet)
(Extranet VPN) allows you to connect your strategic
partners, customers, and suppliers to your network to
share resources and to give them full or restricted
access to corporate information.
Being an alternative to a Private Network that you run
over leased lines, the Extranet VPN offers you a
economical and hassle-free solution to create your
extranet.
Secure communication over VPN is realized though
network layer encryption
The service includes a router at the premises that you
want to connect to the Extranet VPN. These routers are
installed, configured and managed by Service Provider
in order to guarantee the highest quality services.
24
Infinitum
Service Provider
ลักษณะของโครงข่ ำย VPN จะมีกำรเข้ ำรหัส
เพื่อป้ องกันควำมลับในเครื อข่ ำยโลจิสติ กส์ โดยมี
ผู้ให้ บริ กำรเครื อข่ ำยเป็ นตัวกลำงในกำรเชื่ อมต่ อ
ข้ อมูลสำคัญ
25
GSM
• ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ Cellular
GSM Global System for Mobile communications
(GSM: originally from Groupe Special Mobile) is the
most popular standard for mobile phones in the world.
Its promoter, the GSM Association, estimates that the
GSM service is used by over 2 billion people across
more than 212 countries and territories. Its ubiquity
makes international roaming very common between
mobile phone operators, enabling subscribers to use
their phones in many parts of the world. GSM differs
significantly from its predecessors in that both
signaling and speech channels are digital call quality,
and so is considered a second generation (2G) mobile
phone system. This has also meant that data
communication were built into the system using the
26
3rd Generation Partnership Project (3GPP).
http://en.wikipedia.org/wiki/Global_System_for_Mobile_Communications
GPRS (General Packet Radio Service)
เป็ นเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ไม่คิดค่าใช้จ่ายในแบบ Air Time แต่จะคิดตามอัตรา
การส่ งข้อมู ล เช่ น 10 สตางค์ต่อการส่ งข้อมู ลจานวน 1 KB (ประมาณ 1024
ตัวอักษร) เครื่ องโทรศัพท์ที่สามารถใช้ระบบ GPRS ๆได้ จะออนไลน์กบั ระบบ
อินเทอร์ เน็ตอยูต่ ลอดเวลา โดยไม่มีการจองช่องสัญญาณเหมือนกับระบบ GSM
GPRS ยังมีอตั ราการส่ งข้อมูลที่สูงกว่าระบบ GSM ด้วย โดยถ้าอ้างอิงตามทฤษฎี อัตรา
การส่ งข้อมูลจะสู งถึง 171.2 Kbps (ปั จจุบนั อยูท่ ี่ประมาณ 40 Kbps) ในระหว่างการ
ส่ งข้อมูล ผูใ้ ช้สามารถที่จะพูดคุยโทรศัพท์ได้ตามปกติ
GPRS สามารถเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์ เน็ตเพื่อใช้บริ การต่างๆ เช่นการรับส่ ง E-mail
การค้นหาข้อมู ล ข่าวสาร หรื อติ ดต่อกับบุ คคลต่างๆ ได้ในลักษณะ Anytime ,
Anywhere ในระบบโลจิสติกส์ จึงสามารถประยุกต์นาระบบ GPRS ไปใช้ใน
ระหว่างกระบวนการขนส่ งได้ เพื่อ ติ ดตามข่ าวสาร รั บ ข้อ มู ลสาคัญ ระหว่างการ
ขนส่ ง ทาให้เกิดการประสานงานติดต่อกันได้ตลอดเวลา (Anytime Anywhere)
27
GPRS
Hand Set
Topology of GPRS
28
GPS
(Global Positioning System)
• GPS เป็ นระบบเดี ยวในปั จจุบนั ที่สามารถ
แสดงต าแหน่ งที่ อ ยู่ ที่ แ น่ นอนว่ า อยู่ ณ.
ตาแหน่ งใด บนพื้นโลกได้ทุกเวลา ทุกสภาพ
อากาศ ระบบนี้ มี ด าวเที ย ม 24 ดวง หมุ น อยู่
รอบโลก อยูส่ ู งขึ้นไป 11,000 nautical miles
หรื อ ประมาณ 20,200 kms. จากพื้ น โลก
ดาวเที ย มหมุ น รอบโลก แบ่ ง เป็ น 6 ระนาบ
ระนาบละ 4 ดวง โดยท ามุ ม เอี ย ง 55 องศา
ดาวเทียมทั้งหมดจะได้รับการควบคุมดูแล จาก
สถานีภาคพื้นดินทัว่ โลกตลอดเวลา
• ระบบโลจิสติกส์ปัจจุบนั ประยุกต์ใช้ GPS ใน
การติดตามระบบขนส่ ง ทาให้ทราบตาแหน่ ง
ของยานพานะได้ตลอดเวลา
http://www.thaitechnics.com/nav/gps_t.html
29
GPS Satellite
Navigator Interfacing
30
Tracking System
ระบบติดตำมยำนพำหนะ
เป็ นอีกเทคโนโลยีหนึ่งได้ถูกคิดค้นขึ้นมา
เป็ นศูนย์รวมข้อมูลที่แสดงตาแหน่ง
รถยนต์ เครื่ องบิน เรื อ เพื่อติดตาม
พฤติกรรมการขับขี่ การตรวจสอบ
ตาแหน่งของพาหนะ อาศัยระบบหา
พิกดั ( GPS ) เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพ
ในการทางานให้เป็ นไปด้วย ความ
รวดเร็ ว ถูกต้อง แม่นยา และเก็บ
ข้อมูลการทางานต่างๆ ได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
31
Database
• Database
• Data warehouse
• Data Mining
32
Database
• A collection of data organized to serve many
applications efficiently by centralizing the data
and minimizing redundant data
• ฐานข้อ มู ล เป็ นส่ ว นส าคัญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ เพราะเป็ นแหล่ ง
รวบรวมข้อมูลทั้งระบบเพื่อการคานวณค่าต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการบริ หารโลจิ
สติกส์ เพื่อความแม่นยา ถูกต้องและให้มีขอ้ มูลอยูท่ ี่แหล่งเดียว
Production
data
Inventory
data
Purchasing
data
ERP
Database
CAD
Inventory Control
Data from different sources
Applications
33
Data Warehouse / Data Mining
Data Mining / Pattern
Logistics Data
Warehouse
34
Data Warehouse / Data Mining
• Data Warehouse เป็ นคลังเก็บข้อมูล
จานวนมาก เป็ นแหล่งเก็บข้อมูลที่มีการ
คัดกรอง รวบรวม จับกลุ่มพร้อมต่อการ
ถูกสกัดในขั้นตอน Mining ต่อไป
• Data Mining คือ การร่ อนตะแกรงข้อมูล
ที่ได้มาจาก Database แม้วา่ Data Base
จะมีระบบ Inquiry ที่ดีแต่ Mining
เหมือนการขุดเหมืองแร่ ที่มีการสกัด
เฉพาะข้อมูลที่สาคัญ เกี่ยวกับเรื่ องที่
ต้องการวิเคราะห์ มีการคัดเลือกข้อมูล
และเปลี่ยนแปลงรู ปแบบข้อมูลให้พร้อม
ต่อการประเมินและนาเสนอ
35
Data Warehouse / Data Mining
36
Detection Technology
• Barcode and Peripherals
• RFID Technology
37
Barcode & Peripherals
Barcode เป็ นแท่งสี ขาวดาสลับกัน
สามารถอ่านและแปลค่ารหัสแท่งเหล่านี้
ได้ดว้ ย Reader ซึ่ งเป็ นเครื่ องให้
กาเนิ ดแสงอินฟราเรด อ่านและแปลเป็ น
ค่ า ดิ จิ ต อลออกมาเป็ นรหั ส ที่ เ ครื่ อง
คอมพิวเตอร์ หรื อคนสามารถรั บรู ้ แ ละ
นาค่าไปใช้งานได้
Barcode จึงเป็ นตัวแทนสิ นค้าหรื อ
สิ่ งของ เพื่อให้ง่ายต่อการระบุตวั ตนของ
สิ่ งของที่ จ ะทาการขนส่ งในระบบโลจิ
สติ ก ส์ ไ ด้เ ป็ นอย่า งดี เป็ นที่ นิ ย มใช้ใ น
ปั จ จุ บั น เ พร า ะ เ ป็ น เท ค โ น โ ล ยี ที่
แพ ร่ หล า ย แล ะ ใช้ กั น ทั่ ว โ ลก ด้ ว ย
38
มาตรฐานเดียวกัน
• Barcode Printing
• Handheld Barcode reader
• Portable Barcode Printing
39
RFID
Radio
Frequently
Identify
Detection
• RFID เป็ นระบบที่นาคลื่นวิทยุมาเป็ นคลื่นพาหะในการระบุลกั ษณะ
เฉพาะของวัตถุแต่ละชิ้น เพื่อใช้ในการสื่ อสาร ข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์สอง
ชนิด ที่เรี ยกว่าแท็ก (Tag) และตัวอ่านข้อมูล ( Reader หรื อ Interrogator/
Self Check-Out ) โดยมีลกั ษณะการทางานนั้น เช่นเดียวกับบาร์โค้ด แต่
รองรับการใช้งานหลายอย่างที่บาร์โค้ด ไม่สามารถทาได้ เช่น แท็กของ
ระบบ RFID จะสามารถทั้งอ่านและบันทึกข้อมูลได้ผดิ จากบาร์โค้ดที่อ่าน
ได้อย่างเดียว และไม่สามารถเปลี่ยนข้อมูลที่อยูบ่ นบาร์โค้ดได้
40
RFID Excellent tools for Logistics
41
RFID Configuration
42
43
44
การใช้ IT/RFID ในซัพพลายเชนและโลจิสติกส์
45
An example of an in-vehicle system is shown below with individual items tracked and
monitored for critical condition during transit - using active tag technology:
CHIEFS: Item-level tracking
• Active RFID technology, combined
with accurate GPS positioning and
reliable communication links, allows
real-time automated monitoring of
individual items throughout the
distribution process.
• TRI-MEX addresses cargo theft at the
full-load level through its Electronic
Freight Security (EFS) service.
• CHIEFS (CHIpped EFS) is an
extension of this service at the
individual item level within the
distribution process - whether mobile
or in fixed facilities.
46
RFID
Increased security and logistic efficiency
• real-time location at item level
• real-time condition monitoring throughout the
distribution process
• 24x7 monitoring (24 hrs x 7 Days)
• fast identification of out-of-limits conditions and
response
• customer optimized website display
• automated identification (no need for manual
scanning)
• confirmation of delivery at correct destination
47
บรรณำนุกรม
คานาย อภิปรัชญาสกุล. โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน
---“กลยุทธ์ทาให้รวยช่วยประหยัด”,--กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์นฎั พร, 2546.
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา เอกสารประกอบการสอน ระบบสารสนเทศทางการตลาด
--- เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยพายัพ , 2548.
http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/educate/edu48/les16.htm
http://www.infomining.co.th/InfoMining/Service/EDI/What's%20EDIWeb.html
http://www.thaitechnics.com/nav/gps_t.html
http://en.wikipedia.org/wiki/Global_System_for_Mobile_Communications
http://mkpayap.payap.ac.th/course/mk361/Homepages/Content/Collaboration.ppt
48