Chapter 13 Strategic Planning for Logistics Management Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya

Download Report

Transcript Chapter 13 Strategic Planning for Logistics Management Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya

Chapter 13
Strategic Planning for
Logistics Management
Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya
Naresuan University
Payao Campus
Semester 1/50
การวางแผนกลยุทธ์ดา้ นโลจิสติกส์
• เป็ นการก าหนดนโยบายและ
กาหนดทิศทาง เกี่ยวกับระบบโลจิ
สติกส์ ของบริ ษทั โดยมากแล้วจะ
มีผูบ้ ริ หารระดับสู งเข้ามาเป็ นผูน้ า
ในการกาหนดนโยบายและ
ประกาศให้พ นัก งานทุ ก ระดับได้
รั บ ทราบเพื่ อ เป็ นแนวทางในการ
บริ หารองค์กรให้เป็ นไปในทิศทาง
เดียวกัน
Logistics Strategic Planning Frameworks
Determination of
Vision / Mission
Logistics Strategic
Logistics Planning
Analysis
Goal Setting
Customer
Service
Business
Strategic
Demand
Channel
Manage
ment
Network
Analysis
Mission
Program Setting
Project Planning
Warehouse/Transport/Material
Management
External
Environment
Scheduling
Responsibility
Organization Management
Management of Change
Assessment
Determination of Vision / Mission
• การกาหนดกลยุทธ์ธุรกิจ : เป็ นการกาหนดแนวทาง กรอบนโยบาย
มุมมองหรื อวิสัยทัศน์ของผูบ้ ริ หาร
• การค้นหาความต้องการของลูกค้า ; การวิเคราะห์ แสวงหาวัตถุประสงค์
หรื อความต้องการของลูกค้า
• วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบ ; วิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง กฎหมาย เทคโนโลยีและวัฒนธรรมที่มีผลกระทบ
ต่อระบบโลจิสติกส์
Logistics Strategic Analysis
Customer
Service
Channel
Management
Network
Analysis
บริการในระดับที่ลูกค้ายอมรับได้
ภายใต้ ต้นทุนที่บริษทั สามารถรับได้
พิจารณาช่ องทางในการจัดซื้อ แหล่ ง
ซื้อและวิธีการซื้อ
เครื อข่ ายในการสต็อคสินค้า จานวนจุด
ปริมาณที่สต็อคในแต่ ละจุด
Warehouse
Transport
Material
Management
พิจารณาการบริหารจัดการคลังสินค้ า
อุปกรณ์ ในการกระจายสินค้า ระบบการ
ทางาน โครงสร้ างในการบริหารจัดการ
ทีมงานและทักษะของแต่ ละคน
Organization
Management
ออกแบบโครงสร้ างให้ เหมาะกับ
องค์ กร
Customer
Service
Channel
Manage
ment
Network
Analysis
Warehouse/Transport/Material
Management
Organization Management
Logistic Organization
Traditional
Functional
Program
Matrix
ข้ อเสี ยของการจัดอค์ กรแบบดั้งเดิม คือ
ไ ม่ มี ฝ่ า ย ใ ด ห รื อ ผู้ บ ริ ห า ร ค น ใ ด
รั บ ผิ ด ช อ บ โ ล จิ ส ติ ก ส์ ทั้ ง ร ะ บ บ
กิจกรรมโลจิสติกส์ กระจัด กระจายอยู่
ตามหน้ า ที่ ง านต่ า งๆ ก่ อ ให้ เ กิด ความ
ขัด แย้ ง ในการท างานและยากต่ อ การ
จัดการโลจิสติกส์ ให้ เป็ นระบบ
Marketing
Vice president
Traditional
President
Financial
Vice president
Production
Vice president
Logistic Activity separated in each business function
Customer Service
Forecasting
Location planning
Warehousing
Coyle,1988
Purchasing process
Inventory policy
Budgeting for invest
Asset Management
Inventory Control
Material Mng.
MRO
Packaging
Location Planning
Functional
President
Lamert and Stock,1993
Engineer
Production
Marketing
Finance
HRM
Logistics
การจัดการโลจิสติกส์ ตามหน้ าที่ ได้ ยกระดับ Logistics ขึน้ มามีระดับเทียบเท่ ากับแผนกอื่นๆ
โดยมี Vice Prez. ดูแลและรายงานตรงต่ อผู้บริหารสู งสุ ด แต่ กอ็ าจมีความขัดแย้ งกันในสายงาน
อยู่บ้าง เช่ น ฝ่ ายตลาดต้ องการการสนับสนุนเพื่อรณรงค์ การขายแต่ โลจิสติกส์ ไม่ จัดการให้ มสี ิ นค้ าคง
คลังอย่ างเพียงพอ หรื อขัดแย้ งกับฝ่ ายผลิตในการกาหนดตารางการผลิตของฝ่ ายผลิต
องค์ กรโลจิสติกส์ ตามโปรแกรมนี้
ใช้ ได้ ดีกับองค์ กรที่ผ้ ูบริ หารมอง
และให้ ความสาคัญกับโลจิสติ กส์
เป็ นกลยุ ท ธ์ โดยหวั ง ให้ เป็ น
หน่ วยงานที่สาคัญต่ อทุกๆ แผนก
ในโครงสร้ าง จะมีข้อเสี ยทันทีถ้า
ผู้บริหารไม่ ให้ ความสาคัญ
Program
President
Logistics
Engineer
Production
Dehayes,1972
Marketing
Finance
HRM
Divisional
President
Acc
Product A
Product B
Product C
Marketing
Logistics
Production
Transport
Inventory
Warehouse
HRM
การบริหารองค์กรโลจิสติกส์ ตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ลักษณะนีแ้ ต่ ละกลุ่มผลิตภัณฑ์จะมีหน้ าที่ทางธุรกิจเป็ นของตนเอง และ
มีโลจิสติกส์ ของตนเอง ทาให้ เกิดความอิสระในการจัดการ แต่ จะทาให้ องค์กรใหญ่ โตเทอะทะ มีความซ้าซ้ อนในหน้ าที่การ
งาน และทาให้ ใช้ ทรัพยากรองค์กรไม่ ได้ เต็มที่
General Manager
Production
HRM
Marketing
Transport
Acc/Fin
Planning
Recruitment
Forecasting
Fleet Mng.
IT
Purchasing
Performance
Appraisals
Customer
service
Packing
Banking
Horizontal Flow
Logistics
Vertical Flow
โครงสร้ างองค์ กรแบบตาข่ าย (Matrix)
Lambert,1993
โครงสร้ างแบบมีผ้ ูให้ บริการโลจิสติกส์ ตามสั ญญา
(Third Party/Logistics Contract)
“Outsourcing Strategy”
• โครงสร้างแบบนี้ คือมีผูใ้ ห้บริ การโลจิสติกส์จากองค์กรภายนอกมาทา
สัญญาว่าจ้างให้บริ การโลจิสติกส์แก่องค์กร ซึ่ งอาจจะให้บริ การในบาง
หน่วยงานของบริ ษทั
• ควรใช้แนวทางบริ หารโลจิสติกส์ลกั ษณะนี้กต็ ่อเมื่อ ระบบโลจิสติกส์
ไม่ได้ช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจหรื อกรณี ที่
บริ ษทั ขาดผูเ้ ชี่ยวชาญและผูบ้ ริ หารไม่ได้มองความสาคัญของโลจิสติกส์
ในระดับกลยุทธ์
• การเลือกใช้โครงสร้างโลจิสติกส์จากบุคคลภายนอกอาจช่วยลดค่าใช้จ่าย
ต่างในด้านสิ นทรัพยืและบุคคลากร
Strategic Planning for
Logistics Management
Performance
Appraisals
Responsibility
Person
Goal
Setting
Strategic Planning
Mission
Scheduling
Project
Planning
Program
Setting
Strategic Logistic Planning
• Goal ; การกาหนดเป้าหมายหลัก เช่น สร้างรายได้ ลดต้นทุน เพิ่มกาไร
• Mission ; การกาหนดภารกิจหลัก เช่น ตลาดเป้าหมาย สิ นค้า บริ การหลังขาย การ
ใช้เทคโนโลยี แนวคิดกิจการ ภาพพจน์ต่อสาธารณชน
• Program ; การวางแผนโครงการ งบประมาณ หรื อกรอบวิธีปฏิบตั ิการ เป็ น
กิจกรรมคร่ าวที่ตอ้ งดาเนินให้บรรลุเป้ าหมายหลัก
• Project Planning ; กานดเวลาที่ตอ้ งทาในแต่ละกิจกรรม ระยะเวลาที่แล้ว
เสร็ จและงบประมาณที่ตอ้ งใช้ในแต่ละกิจกรรม
• Schedule ; สร้างตารางในการทางาน ปฏิทินทางาน (Gantt charts)
• Responsibility Person ; กาหนดผูร้ ับผิดชองแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน
• Performance Appraisals ; การวัดผล/ประเมินศักยภาพในการทางาน
กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเชน
• To be continue
บรรณานุกรม
คานาย อภิปรัชญาสกุล. โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน
“กลยุทธ์สาหรับลดต้นทุนและเพิม่ กาไร”,--กรุ งเทพฯ : ซี วาย.ซิ สเทิมพริ นติ้ง
จากัด , 2550.
ไชยยศ ไชยมัน่ คงและมยุขพันธุ์ ไชยมัน่ คง กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเชน : เพื่อ
การแข่งขันในตลาดโลก , --กรุ งเทพฯ : ซี วาย.ซิ สเทิมพริ นติ้ง จากัด , 2550.