Division Of Buildings And Grounds

Download Report

Transcript Division Of Buildings And Grounds

Division Of Buildings And Grounds
ส่วนอาคารสถานที่
สานักงานอธิการบดี
ประวัติความเป็ นมา
– ส่ วนอาคารสถานที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตั้งขึ้นพร้อมกับการจัดตั้งมหาวิทยาลัย
ในปี พ.ศ.2536 เป็ นหน่วยงานระดับส่ วน สังกัดสานักงานอธิการบดี ทาหน้าที่ให้บริ การด้านงาน
สาธารณูปโภค มีหน่วยงานภายใน ทั้งหมด 9 หน่ วยงาน เพื่อสนับสนุนภารกิจในด้านฐานข้อมูล
อาคารสถานที่ การออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง การซ่อมแซมบารุ งรักษาอาคารสถานที่
จัดหาสาธารณูปโภคต่างๆ อาทิ กระแสไฟฟ้ าและการอนุรักษ์พลังงาน น้ าประปาและการจัดการ
ขยะมูลฝอย จัดระบบการบริ การขนส่ ง ควบคุมด้านการรักษาความปลอดภัยและจราจร
การจัดดูแลภูมิทศั น์ รวมทั้งด้านการบริ การอาคารสถานที่และกิจกรรมของมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์ ( VISION ) ของส่ วนอาคารสถานที่
• เป็ นหน่วยงานที่เป็ นผูน้ าในด้านการบริ หารอาคารและระบบ
สาธารณูปโภค ในระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทย
พันธกิจ ( MISSION ) ของส่ วนอาคารสถานที่
1.พัฒนาด้ านกายภาพและสภาพแวดล้ อม ให้ เหมาะสมเพียงพอ และสวยงาม
ตอบสนองการใช้ งานเพือ่ การเรียนการสอนและการอยู่อาศัยให้ เหมาะสมกับ
เป็ นเมืองมหาวิทยาลัย ( Living and learning Center )
2.จั ด การด้ า นการใช้ บริ ก ารสนั บ สนุ น และอ านวยความสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน แก่ บุคลากร ด้ านยานพาหนะขนส่ ง ด้ านสถานที่จัดกิจกรรม
ด้ านการจราจรและ ความปลอดภัย
3.ดูแลรั กษาอาคารและสถานที่ สาธารณูปโภคให้ เพียงพอใช้ งานได้ ดีอยู่เสมอ
มีประสิ ทธิภาพและคุ้มค่ า
4. ตอบสนองนโยบาย มหาวิ ท ยาลั ย เขี ย ว สะอาด(Green&Clean
University)
โครงสร้างการบริ หารงาน ส่ วนอาคารสถานที่
งานธุรการ
มีหน้าที่ความรั บผิดชอบเกี่ ยวกับ ร่ างโต้-ตอบหนังสื อ รั บ-ส่ ง
เอกสาร จัดเก็บเอกสาร ดาเนิ นการทางด้านธุ รการ จัดเก็บรวบรวม
ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของมหาวิทยาลัย จัดเตรี ยมเอกสารการประชุม
ดาเนิ นการเกี่ยวกับการเงินและพัสดุ งานบริ หารงานบุคคล และการ
พัฒนาบุคลากร งานจัดกิจกรรมของส่ วนอาคารสถานที่ ดาเนิ นการ
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
จัดหาประมาณการวัสดุซ่อมบารุ งซ่อมแซมและเครื่ องมือช่างต่างๆ ที่
ใช้ในการซ่ อมแซมบารุ งรักษาอาคารสถานที่ (Store) รวมทั้งเป็ น
หน่ วยงานกลางประสานงาน ด้านการซ่ อมบารุ ง (Call Center)
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 4122-3
งานออกแบบและก่ อสร้ าง
ราคาควบคุมการมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการสารวจเพื่อออกแบบ
เขียนแบบงานการก่อสร้าง งานปรับปรุ งอาคารสถานที่ และประมาณก่อสร้าง
ตรวจสอบรายงานผลตรวจสอบสิ่ งก่อสร้างในระยะประกันผลงาน งานจัดทา
และปรับปรุ งฐานข้อมูลอาคารและจัดทารายการงบประมาณสิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 4124-7
งานซ่ อมบารุงและรั กษา
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับดูแลบารุ งรักษาสภาพอาคารและสถานที่
ให้เหมาะสมพร้อมใช้งานได้ดีอยูเ่ สมอและยืดอายุการใช้งานให้คุม้ ค่า
อย่างมีประสิ ทธิภาพ ควบคุมการซ่อมแซมงานระบบโยธา-สถาปัตย์ท้ งั
ภายในและภายนอกอาคาร และอานวยความสะดวกบริ การงานซ่อมแซม
ตรวจเช็คความเรี ยบร้อยของอาคารภายในมหาวิทยาลัย
ควบคุมดูแลงานจ้างเหมาบริ การรักษาความสะอาด
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 4121,4123
งานระบบไฟฟ้ าและปรั บอากาศ
มี ห น้า ที่ รับ ผิด ชอบระบบส่ ง จ่ ายไฟฟ้ าแรงสู ง ระบบหม้อ แปลง
ไฟฟ้ าและอุปกรณ์แรงสู ง ระบบส่ งจ่ายไฟฟ้ าแรงต่า ระบบควบคุมและ
ป้ องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่ องกลไฟฟ้ า ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างและการ
จ่ายกาลังไฟฟ้ า ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ น ระบบเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า
ส ารอง ระบบสั ญ ญาณแจ้ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ แ ละลิ ฟ ต์ ตรวจวัด ค่ า
กระแสไฟฟ้ าประจาอาคารและบ้านพักอาศัย การอนุ รักษ์พลังงานและ
ดาเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานไฟฟ้ า
ควบคุมงานจ้างเหมาซ่อมบารุ งรักษาหม้อแปลง สถานีไฟฟ้ าย่อย ตู ้
MDB ระบบปรับอากาศรวม-แยกส่ วน ระบบลิฟท์ เป็ นต้น
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 5199,5200
งานประปาและสิ่ งแวดล้ อม
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมดูแลระบบการผลิตน้ า การ
จ่ายน้ าประปาและน้ าบาดาล พร้อมตรวจสอบระบบส่ งจ่าย จัดหาแหล่ง
น้ าดิบ ซ่อมแซมบารุ งรักษาระบบสุ ขาภิบาล ควบคุมดูแลระบบบาบัดน้ า
เสี ยรวมของมหาวิทยาลัย ตรวจสอบคุณภาพน้ าที่ใช้คุณภาพน้ าเสี ยและ
คุณภาพน้ าดิบ ตรวจสอบอัตราการใช้น้ าประปา บันทึกหน่ วยการใช้น้ า
การจัดการโรงคัดแยกขยะ การจัดการธนาคารขยะรี ไซเคิ้ล การนาน้ า
เสี ยกลับมาใช้ใหม่
ควบคุมดูแลการจ้างเหมาบริ การกาจัดขยะ สิ่ งปฏิกลู
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 5051,5052
งานยานพาหนะ
มี หน้าที่ ควบคุ มดู แ ลจัด การ การบริ ก ารการด้านงานยานพาหนะ
ของมหาวิทยาลัยและรถยนต์เช่าเหมาบริ การ อานวยความสะดวกในการ
เดินทาง ซ่อมบารุ งรักษารถยนต์ รวมทั้งเบิกจ่ายน้ ามันเชื้อเพลิงควบคุม
การใช้น้ ามันเชื้อเพลิง การนาร่ องการใช้E85 ทาประกันภัยรถยนต์และ
ต่อทะเบียนรถยนต์
การควบคุมดูแลการจ้างเหมาบริ การยานพาหนะรถยนต์ -รถโดยสาร
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 4862,4863
งานรักษาความปลอดภัย
มีหน้าที่ ควบคุ มดู แลเกี่ ยวกับการรั กษาความปลอดภัยในชี วิตและ
ทรัพย์สิน ภายในมหาวิทยาลัย ดูแลการจัดเวรยาม ดาเนินโครงการด้าน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย( การป้ องกันพิษสุ นขั บ้า การกาจัดยุงลาย
การรณรงค์ขบั ขี่ปลอดภัย การอบรมป้ องกันและระงับอัคคีภยั ) ดูแล
ตรวจตรารถยนต์ วิ่งเข้า-ออกภายในมหาวิทยาลัย ดูแลการใช้ระบบที วี
วงจรปิ ด กากับดูแลความปลอดภัยทางการจราจรและการจัดการจราจร-ที่
จอดรถยนต์
ควบคุมตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั รับจ้างเหมาบริ การรักษา
ความปลอดภัย
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 1234,4567
งานภูมิทศั น์
มี หน้าที่ รับผิดชอบเกี่ ยวกับงานด้านภูมิทศั น์และสภาพแวดล้อม
ดาเนิ นการพัฒนาพื้นที่-บารุ งรักษางานภูมิทศั น์ จัดตกแต่งไม้ดอก ไม้
ประดับภายในภายนอกอาคาร โรงเรื อนเพาะชากล้าไม้ เพื่อใช้ตกแต่ง
ภายในอาคารและปลูกประดับเพื่อความร่ มรื่ นของมหาวิทยาลัย งานจัด
สวนหย่อม งานปลูกป่ า งานซ่อมบารุ งเครื่ องมือเครื่ องจักร และเบิกจ่าย
ควบคุมน้ ามันเชื้อเพลิงที่ใช้ในงานภูมิทศั น์
ควบคุมการจ้างเหมาบริ การแรงงานภูมิทศั น์
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 4131,4132
งานบริ การอาคารสถานที่และกิจกรรม
มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ออกแบบวางผังการประดับตกแต่งงาน
และจัดเตรี ยมสถานที่การจัดกิจกรรมต่างๆ งานบริ การขนย้ายวัสดุและ
ครุ ภณ
ั ฑ์ การบริ การรถบรรทุก
หมายเลขโทรศัพท์ 0 4422 5204,5205
ส่ วนอาคารสถานที่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นครราชสีมา
• แนวทางการพัฒนาทางกายภาพสู่
มหาวิทยาลัยเขียว-สะอาด
(Green-Clean University)
7 แนวทางสู่ ความสาเร็จ
• Master plan review การปรับปรุ งแผนแม่บทด้านกายภาพ
• Clean energy standard การใช้พลังงานสะอาด
• Recycling & waste management การจัดการของเสี ยและ
นามาใช้ใหม่
• Reduce & reuse practicesลดการใช้/ประหยัดและใช้ซ้ า
• Healthy & safety community สร้างให้ชุมชนน่าอยูม่ ีสุขภาพดี
และปลอดภัย
• Save materials จัดหาและทดแทนด้วยวัสดุอุปกรณ์ที่ประหยัดทรัพยากร
• Green building designสร้างอาคารที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
แนวทางที่ 1
Master plan review การปรับปรุงแผนแม่ บท
กิจกรรม
• ปรับปรุ งและพิจารณาการกาหนดแผนผังแม่บททางด้านกายภาพ สาธารณูปโภค
ในการรองรับการขยายตัวของมหาวิทยาลัย เช่น
-จัดทาแผนแม่บท ด้านภูมิทศั น์
-จัดทาแผนแม่บท ด้านการขนส่ งมวลชน
-จัดทาแผนแม่บท ด้านการจราจร/ความปลอดภัย
-จัดทาแผนแม่บท ด้านการซ่อมบารุ ง/ครุ ภณ
ั ฑ์ทดแทน
-จัดทาแผนแม่บท ด้านการจัดการ/พัฒนาแหล่งน้ า
-จัดทาแผนแม่บท ด้านการจัดการขยะ/ของเสี ย
Clean energy standard
การอนุรักษ์ พลังงานและการใช้ พลังงานสะอาด
กิจกรรม
• ใช้พลังงานสะอาดในยานพาหนะของมหาวิทยาลัย และ การจ้างเหมา
รถบริ การต่างๆให้เป็ น GREEN CAR เช่นรถCNG , รถโดยสารไฟฟ้ า
• มุ่งเน้นให้รถของมหาวิทยาลัยใช้ น้ ามันE85 ,E75เป็ นโครงการนาร่ อง
• ส่ งเสริ มให้ใช้เชื้อเพลิง NGV, ไบโอดีเซล มากขึ้น
• ส่ งเสริ มการใช้พลังงานทดแทน พลังงานทางเลือก เช่นโซล่าเซลล์
แนวทางที่ 3
Recycling &waste management
การจัดการของเสี ยและการนากลับมาใช้ ใหม่
กิจกรรม
• พัฒนาและส่ งเสริ มการคัดแยกขยะ การจัดการธนาคารขยะรี ไซเคิลให้
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วม
• พัฒนาระบบการกาจัดขยะแบบยัง่ ยืนและการแปรสภาพขยะเช่น ทาเป็ นปุ๋ ย
การทาไฟฟ้ าชีวมวล ไบโอแก๊ส เป็ นต้น
• การปรับปรุ งระบบนาน้ าเสี ยกลับมาใช้ใหม่เพื่องานภูมิทศั น์หรื อใช้ใน
ระบบชะล้างในสุ ขภัณฑ์
แนวทางที่ 4
Reduce & reuse practices
ลดการใช้ และนากลับมาใช้ ซ้า
กิจกรรม
• รณรงค์ในการลดการใช้พลังงานไฟฟ้ า น้ ามันเชื้อเพลิง น้ า และวัสดุ
สิ้ นเปลือง เช่น ติดมิเตอร์ไฟฟ้ า-ประปาทุกห้องพักนักศึกษา
• นาวัสดุสิ้นเปลือง น้ าที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้ าใหม่ เช่น บล็อกปูพ้นื
โครงเหล็ก บานประตู-หน้าต่าง เป็ นต้น
• การเปลี่ยนอุปกรณ์ที่มีปสภ.สูง เช่นหลอด T5, AIR INVERTER,เบอร์5
• การนาน้ าฝนกลับมาใช้ใหม่ในอาคาร
แนวทางที่ 5
Healthy& safety community
ชุมชนทีม่ ีสุขภาพทีด่ แี ละมีความปลอดภัย
กิจกรรม
• ปรับปรุ งสภาพแวดล้อมให้ร่มรื่ น มีสวนสาธารณะและสถานที่ออกกาลัง
กายตามจุดต่างๆ และมีแผนพัฒนาภูมิทศั น์ที่ชดั เจน
• ปรับปรุ งและส่ งเสริ มให้ใช้ทางเดินและทางจักรยานหลังคาคลุมมากขึ้น
• ปรับปรุ งระบบถนนให้มีความปลอดภัยในการสัญจรมากยิง่ ขึ้น
• ปรับปรุ งระบบการรักษาความปลอดภัยทั้งพื้นที่ มีร้ ัวรอบมิดชิด อุปกรณ์
ครบถ้วน ใช้มาตรการต่างๆอย่างจริ งจังเช่น โครงการถนนสี ขาว จับไม่
ปรับ การรณรงค์ขบั ขี่ปลอดภัย สวมหมวกนิรภัย100% เป็ นต้น
แนวทางที่ 6
Save materials
จัดหาและทดแทนด้ วยวัสดุและอุปกรณ์ ทปี่ ระหยัดทรัพยากร
กิจกรรม
•
•
•
•
•
ศึกษาและวางแผนจัดหา ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ที่ประหยัดทรัพยากรมาใช้
วางแผนซ่อมบารุ ง ทดแทนของที่ชารุ ดด้วยวัสดุ อุปกรณ์ที่ประหยัด
เลือกใช้วสั ดุที่มีตน้ ทุนการผลิตที่ใช้พลังงานต่า
เลือกใช้วสั ดุในท้องที่ใกล้เคียงเพื่อลดการใช้พลังงานในการขนส่ ง
เลือกใช้วสั ดุ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพดีเพื่อลดการซ่อมและการสูญเสี ย
แนวทางที่ 7
Green building design การออกแบบอาคารเขียว
กิจกรรม
• นาแนวคิดในการออกแบบอาคารเขียวของ ASA สมาคมสถาปนิกสยาม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็ นแนวทางในการออกแบบก่อสร้างอาคารใหม่
และปรับปรุ งอาคารเก่า (Renovation)
• ใช้ขอ้ กาหนดของกฎกระทรวงการออกแบบอาคารอนุรักษ์
พลังงาน/2552 (Building Energy Code )ค่า OTTV , RTTV
• จัดการศึกษาอบรมให้แก่สถาปนิก-วิศวกรในหลักการออกแบบอาคาร
เขียว
• จัดการอบรม ดูงานการเลือกใช้วสั ดุก่อสร้างสาหรับอาคารเขียว
แนวทางการออกแบบอาคารเขียว
GREEN BUILDING ของ ASA
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ความมุ่งมัน่ ในการออกแบบอาคารเขียว
2. CONTEXT: บริ บททางสั งคมและชุ มชน
3. EARTH: ใช้ ประโยชน์ ทด
ี่ นิ และภูมทิ ศั น์ อย่ างยัง่ ยืน
4. TROPICAL: สอดคล้ องกับเขตอากาศเขตร้ อนชื้น
5. COMFORT: ปลอดภัย น่ าสบาย และสุ ขภาวะของผู้ใช้ อาคาร
6. ENERGY: ประหยัดพลังงาน
7. WATER: ประหยัดนา้
8. MATERIALS: วัสดุอาคารและการก่ อสร้ าง
9. SELF-SUFFICIENCY: ความยืดหยุ่น การปรั บใช้ และความพอเพียง
10. FEEDBACK: ผลตอบรั บหลังการใช้ งาน
1. INTENTION:
สถานทีต่ ้ังของอาคาร
ตั้งอยู่ด้านหลังของอาคารบริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เป็ นอาคาร 2 ชั้น ขนาดพืน้ ที่ใช้ สอย 695 ตร.ม.
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
DBG – Green and Clean
สวัสดี
สวัสดี