Potential_BCI

Download Report

Transcript Potential_BCI

ศักยภาพและความพร้อมของ
กิจการกระจายเสียงและกิจการ
โทรทัศน์
เพื่อเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
ในปี 2015
ชวรงค์ ลิมป์ ปั ทมปาณี
ที่ปรึกษาชมรมนักข่าวอาเซียน
กรรมการบริหาร
Southeast Asian Press Association (SEAPA)
เป้าหมายประชาคมอาเซียน ปี 2015
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง
ประชาคมเศรษฐกิจ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
เป้าหมายหลัก
เป้าหมายหลัก
เป้าหมายหลัก
 สร้างค่านิ ยมและแนวปฏิบตั ิ
ร่วมกันของอาเซียน
 เป็ นตลาดและฐานการผลิต
เดียวกัน
 การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์
 เสริมสร้างขีดความสามารถของ
อาเซียนในการเผชิญภัยคุกคาม
ความมัน่ คงบนพื้ นฐานของความ
มัน่ คงของมนุ ษย์
 มีความสามารถในการแข่งขัน
สูง
 มีความสัมพันธ์ที่แน่ นแฟ้ นและ
สร้างสรรค์กบั ประชาคมโลก โดย
ให้อาเซียนมีบทบาทนาในภูมิภาค
Source: ASEAN
 มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่
เท่าเทียมกัน
 มีการบูรณาการเข้ากับ
เศรษฐกิจโลก
 สวัสดิการและการคุม้ ครองทาง
สังคม
 ความเป็ นธรรมและสิทธิทาง
สังคม
 ความยัง่ ยืนด้านสิ่งแวดล้อม
 การสร้างอัตลักษณ์ของอาเซียน
สถานการณ์ดา้ นสิทธิและเสรีภาพของสื่อมวลชนในอาเซียน
การจัดกลุ่มเสรีภาพสื่อมวลชนในอาเซียน
 มีเสรีภาพมาก ได้แก่ ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซีย ไทย
เวียดนาม
พม่า
ลาว
 มีเสรีภาพบ้าง ได้แก่ กัมพูชา มาเลเซีย
ไทย
กัมพูชา
ฟิลิปปินส์
 มีเสรีภาพน้อย ได้แก่ สิงคโปร์ เมียนมาร์
 มีเสรีภาพน้อยมาก ได้แก่ เวียดนาม ลาว บรูไน
มาเลเซีย
บรูไนฯ
สิงคโปร์
อินโดนีเซีย
Source: ASEAN Secretariat
สื่อมวลชนเพื่อนบ้านอาเซียนในประเทศไทย








เวียดนามมีองค์กรสื่อ 4 สานักตั้งสานักงานในประเทศไทย
พม่ามีสานักข่าวพลัดถิ่นในไทยทั้งที่ กทม. แม่สอด และเชียงใหม่
อินโดนี เซียและมาเลเซีย มีผสู้ ื่อข่าวของสานักข่าวแห่งชาติในประเทศไทย
สื่อฟิ ลิปปิ นส์ มีผสู้ ื่อข่าวพิเศษประจาประเทศไทย เกือบทุกสานัก
หนังสือพิมพ์ใหญ่ของสิงคโปร์มีนักข่าวประจาประเทศไทย
ลาวมีผสู้ ื่อข่าวสานักข่าวสารประเทศลาวเป็ นผูช้ ว่ ยทูตฝ่ ายสื่อมวลชน
หนังสือพิมพ์และโทรทัศน์ในกัมพูชามีแผนกตรวจสอบและแปลข่าวจากสื่อไทย
หลังปี 2540 สื่อมวลชนไทยไม่มีนักข่าวประจาในประเทศเพื่อนบ้านเลย?
ความพร้อมของสื่อวิทยุและโทรทัศน์ไทยในอาเซียน




พัฒนาการของรายการข่าวในโทรทัศน์ไทยนับเป็ นอันดับสอง รองจากฟิ ลิปปิ นส์
ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและการผลิตงานข่าวโทรทัศน์ไทย นับว่าเป็ นรอง
เพียงสิงคโปร์
เสรีภาพของสื่อวิทยุและโทรทัศน์ไทยมีคอ่ นข้างมาก แม้บางส่วนยังถูกตรึงด้วย
สัมปทานกับหน่ วยงานของรัฐ แต่ปัจจุบนั กาลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคการกากับ
ดูแลกันเอง
บุคลากรด้านข่าววิทยุและโทรทัศน์ของไทย มีความตื่นตัวสูงในการให้
ความสาคัญกับข่าวที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียน
ความไม่พร้อมของสื่อวิทยุและโทรทัศน์ไทยในอาเซียน




ขาดความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนในทุกมิติ
บุคลากรทางด้านข่าววิทยุและโทรทัศน์ส่วนใหญ่ ยังขาดทักษะในการรายงาน
ข่าวเชิงสืบสวน
แม้จะมีความตื่นตัวต่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน แต่บุคลากรทางด้านข่าววิทยุ
และโทรทัศน์ของไทยส่วนใหญ่ ยังมีแนวคิดของความเป็ น “ภูมิภาค” น้อย
กลไกการกากับดูแลกันเองทางจริยธรรม ของสื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ
โทรทัศน์ยงั ไม่เป็ นยอมรับหรือได้รบั ความร่วมมือจากสมาชิกมากนั ก ขณะที่ภาค
ประชาสังคมยังไม่ตื่นตัวในการเข้ามากดดันกลไกการกากับดูแลกันเอง
ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างศักยภาพและความพร้อมของสื่อวิทยุ
และโทรทัศน์ไทย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน




บุคลากรด้านสื่อวิทยุและโทรทัศน์ไทยต้องพยายามเรียนรูแ้ ละทาความเข้าใจ
เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้ถกู ต้องและครอบคลุมในทุกมิติ
การนาเสนอข่าวเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนต้องมีการนาเสนอข่าวในเชิงลึกและเน้น
ข้อมูลต่างๆ มากกว่าการรายงานข่าวแบบฉาบฉวย
องค์กรสื่อวิทยุและโทรทัศน์ไทยทั้งภาครัฐและเอกชนต้องลงทุนส่งผูส้ ื่อข่าวไปประจา
ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
กสทช.ต้องสนับสนุ นการฝึ กอบรมบุคลากรทางด้านข่าววิทยุและโทรทัศน์อย่างเป็ น
ระบบโดยคานึ งถึงความต้องการของภาควิชาชีพ รวมถึงการสนับสนุ นกลไกการ
กากับดูแลกันเองทางวิชาชีพให้มีความเป็ นอิสระ ภายใต้หลักความรับผิดชอบ