ชาติพันธุ์จินตกรรม - ศิลปากร วิจัย และ สร้างสรรค์ ครั้ง ที่ 8 : บูร ณา การ

Download Report

Transcript ชาติพันธุ์จินตกรรม - ศิลปากร วิจัย และ สร้างสรรค์ ครั้ง ที่ 8 : บูร ณา การ

ศรันย์ สมันตรัฐ
สาขาภูมสิ ถาปั ตยกรรม
การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิ
ย
ั /สร
างสรรค
้
์
คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิจทยาลั
ยเกษตรศาสตร์
ระดับชาติและนานาชาติ
“ศิ ลปากรวิจย
ั และสรางสรรค
้
์ ครัง้ ที่ 5: บูรณาการ
ศาสตรและศิ
ลป์”
์
Asian Wisdom
วันที่ 25-27 มกราคม 2555 ณ ศูนยศิ์ ลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6
รอบพระชนมพรรษา
 คานาและวัตถุประสงค์
• วัตถุทางวัฒนธรรม
• ชาติพนั ธุศ์ ึกษา
• ประวัตศิ าสต์ชาติพนั ธุ์
 วิธีดาเนินการวิจย
ั
(เฉพาะการวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์ในบทความ)
 ผลการวิจย
ั
(
””””””
)
 (ต่อเนือ
่ ง) ทาเนียบหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๘
 (ต่อเนีอ
่ ง) วิถีชมุ ชนลุม่ นา้ นครชัยศรี
 สรุปผล
 สถาปั ตยกรรมพื้นถิ่นเชิงชาติพน
ั ธุไ์ ม่เป็ นอิสระต่อชาติพนั ธุศ์ ึกษา
(ไม่เป็ นอิสระ = สัมพัทธ์)
(เป็ นอิสระก็ได้แต่มีเพดานแค่ “อุตสาหกรรมวัฒนธรรม”-Adorno)
 รูปทางซ้ายเป็ นเรือนลาวโซ่ง
รูปทางขวาเป็ นเรือนกะเหรี่ยงโพลว์

ประวัติศาสตร์กลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ท-ลาวซ่วง/โซ่งและกะเหรี่ยงโพลว์ ไม่เคยอยู่ใกล้ชดิ หรือติดต่อกันเลย
ระบบทางวัฒนธรรม(Cultural Schemata)ทางเพศสภาพของทัง้ สอง
กลุ
ม่ ชาติพนั ธุก์ ล่าวได้ว่าแตกต่างกัน ในขณะที่ไท-ลาวโซ่งได้รบั ระบบวัฒนธรรม
จากวัฒนธรรมจีนซึ่งให้ความสาคัญกับเพศชาย เราจะเห็นว่าเรือนของพวกเขาได้ใช้
ระบบแบ่งพื้นที่ระหว่างเพศอย่างชัดเจนแต่ละเพศมีทางเข้าบันไดเฉพาะโดยหน้าบ้าน
เป็ นของชาย และสิทธิสภาพทางพื้นที่ทงั้ สองจะมาพบบรรจบร่วมกัน ณ พืน้ ที่อนั
อบอุ่นของแม่เตาไฟกลางบ้าน ส่วนระบบวัฒนธรรมทางเพศสภาพ(Cultural
Schemata of Gender)-ของกะเหรี่ยงให้หญิงเป็ นประธานของบ้าน
ดังนัน้ เรือนทัง้ หมดจึงเป็ นเขตของหญิง ที่อนุญาตให้ชายมีสว่ นเฉพาะเล็กๆบริเวณ
หน้าเรือน(จอแปละ) และ หิ้งผีฝ่ายชาย(เปอะจอโค่ห์) ส่วนแม่เตาไฟกลางบ้านของ
กะเหรี่ยงมีบทบาทเป็ นศูนย์กลางทางชีวิตประจาวันรวมไปถึงรหัสต้นกาเนิดของ
วัฒนธรรม
 องค์รวม
 วัฒนธรรม
 ชาติพน
ั ธุ์
 ชาติพน
ั ธุศ์ ึกษา(กรณีลาวคัง)
ก็ไม่เป็ นอิสระต่อ ประวัตศิ าสตร์ชาติพนั ธุ์

~๐
“ลาวภู ครัง ถิ่นฐานเดิมอยู ่เมืองภู ครัง ปรากฏในหลักฐานเพียงว่าตัง้ อยู ่ฝ่ ั งซ้ายแม่นา้ โขง
กองทัพไทยเคยยกไปตั้งมั่นชั่วคราวเมื่ อสงครามกับเวียดนามในรัชกาลที่ ๓” (บังอร ปิ ยะพันธุ์ 2541: 4)
รางตรานิ ทานพรราชเสนาทาๆแล้วไดกราบเรี ยน พัณฯสมุหนายกแล้วๆสังวาใหมี ไปตามรางนิ เทิ ษ๐~
(ตอนต้ นขาด) (หน้ า๒ ของต้ นฉบับ) ไปคี ดราชการอยูทีเมื องอุดงมิ ไชย พญาปลัตว่าไดเอาเข้าหลวงทังใหกองทัพและคนทือหลายกับครอบครัว
รับพรราชทารก็ได้เข้าไปไมครบจานวร ใดเอ้าเข้าเมื องรสิ อเภิ มเติ มบาง แล้วใดแจงความกับเจ้าพญาบดิ นเดชาฯ ๆ สัง่ ว่า เถึ งกรมการจรับประ
ทารบางก็ได้นนั พญาปลัตอางว่าใดเขาหลวงจายกองทัพเมื องครัง
เจาพญาบดิ เดชาฯ ออกไปคี ษ ราชการก็เนิ่ นนารหลายปี ่ จเอาเข้าหลวงจายฤาใมใดจายก็ใมแจ้ง แตหางว้าวเจ้าพนักงารซื งรักษาฉางเข้าเมื อง
พรตบอง ก็ว่าพญาปลัตญื มเข้าหลวงไปรับพรราชทาร ก็หาญื มแตพญาปลัตคนเดี ยวใม กรมการขุนหมึรราษฎรก็ยืมหลายค่น เจ้าพนักงารก็ใม
ได้ตงั บาญชิ ยจานวรเข้าว่า พญาปลัตกรมการเปิ กเข้าไปจายให กองทัพ พญาปลัต/พรยกรบัต จะอางเอาจานวรเข้าทีอจายไหกองทัพเก้าๆ มา
กลบเกลอีนเขารายยื มนันก็เหนจไมควร พญาปลัต/พรยกรบัต บอกเข้าไปก็แต ๒ คน พญาอ่ณชุ ี ตชานไชยข้าหลวงกรมการก็ไมมิ ไปบอกเขาไป
ด้วย ให พญาปลัต/พรยกรบัต กรมการราษฎรเรงรัดหาเข้ารายยื มมาตวงขื นฉางไว้ยใหครบจานวรมี ราชการคุกคาคื นมาประการไดจ่ได้เอาเข้า
จายกองทัพโดยสดวกสารตรามาณ วัน ๕ฯ๑๐๑๒ คาปี วอกโท๑๐ศก ๐~
~๐รางตรานี พรราชเสนา/หลวงศรี เสนา ทา ๆ แล้วได้เอ้าไปถวายพรเจ้าน้องยาเธ่อกรมหลวงวงษาธิ ราชสนิ จแลวโปรฤเกล้าฯ
สังวาไหมี ไปตามรางนีเทิ ษ แล่วไดเอาไปกราบเรี ยน พณฯ สมุหะนายกทิ จวรแลว ๐~
Garraghan, Gilbert J. (1946). A Guide to Historical Method. New York: Fordham University Press.
รูปแบบของแนวคิดหลัก 6 ประเด็นในการวิจยั เชิงประวัตศิ าสตร์
1การบ่งชีว้ นั เวลาดัง้ เดิมIdentification of origin date
2หลักฐานของสถานที่ Evidence of localization
3การยอมรับและรับรองผูแ้ ต่ง Recognition of authorship
4การวิเคราะห์ขอ้ มูล Analysis of data
5การบ่งชีถ้ งึ ความซื่อสัตย์สุจริต Identification of integrity
6แหล่งอ้างอิงทีเ่ ชือ่ ถือได้ Attribution of credibility
หลักฐานที่ใช้ ได้แก่ จดหมายเหตุคดั และสมุดไทย ในรัชกาลที่สองและ รัชกาลที่สาม เป็ น
การอ่านภาษาซึ่งอาลักษณ์แต่ละคนอาจมีระบบการสะกดของตนเองได้ เป็ นภาษาอ่าน
ดังๆให้เจ้านายผูร้ บั ผิดชอบ “ฟัง”แล้ว “สัง่ ลงมา”

ลาดับเหตุการณ์ที่สนั นิษฐานต่อไปนีต้ ามหลักฐานชัน้ ต้นที่นามาอ่านใหม่ ดังนี้
๑. ลาวครัวเมืองภูครังแขวงเมืองพิษณุโลกอพยพไปเวียงจันทน์ ช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ในรัชกาล๑-๒
๒. ส่งครัวลาวครัวเมืองภูครังแขวงเมืองพิษณุโลกอพยพไปเวียงจันทน์ กลับครัง้ แรก การส่งครัว
กลับครัง้ แรกไม่ทราบวันเวลาแน่ชดั สันนิษฐานแต่อาจในเวลาที่ใกล้เคียงหรือก่อนหน้า งานพระบรมศพ
รัชกาลที่หนึง่ ไม่นาน
๓. การส่งครัวกลับครัง้ ที่สอง ตามรับสัง่ ร.๒ พ.ศ. ๒๓๖๐ (จศ.๑๑๗๙) ให้เมืองชนบท เมืองขอนแก่น
เมืองภูเขียว ลาเลียง ลาวครัวเมืองภูครังที่เหลือ ๖๔๓ คนลงมากรุงเทพฯในปี นัน้ (พ.ศ. ๒๓๖๐ (จ.ศ. ๑๑๗๙)ปี
ฉลูนพศก) และรับสัง่ ให้ไปตัง้ หลักแหล่งที่ต.สาประทวนแขวงนครไชยศรีในปี เดียวกัน อันเป็ นปี ที่๘ในรัชกาลที่
สอง ทรงพระราชทานวัสดุปลูกเรือนให้ชนพลัดถิ่นกลุม่ นี้ อนึง่ ประชากรหรือทายาทชนกลุม่ เดียวกันนีใ้ น
เวลาต่อมาหากยังอยู่ที่นอี่ าจกลมกลืนกับประชากรเดิมจะถูกระบุนามหรือระบุอตั ตลักษณ์นามตนเองว่า
“ลาวเวียง” หรือ ไม่ก็อาจอพยพออกไปอีก เนือ่ งจากไม่พบการระบุนาม “ลาวครัง่ ”ที่นอี่ ีกในงานวิจยั วิถี
ชุมชนลุม่ นา้ นครชัยศรี (เสาวภาและคณะ, ๒๕๔๘: ๕๙)
๔. ปิ ดบัญชีสรุป ยอดเงินพระราชทาน ไม้และตับจากปลูกบ้านเรือนให้ครัวลาวภูครังให้ที่ “สามปทวร
ณคอรชัยศรี” ในปี ขาลปี ถัดมาคือพ.ศ. ๒๓๖๑ (จ.ศ. ๑๑๘๐)รับกับ จดหมายเหตุรชั กาลที่สาม พ.ศ.๒๓๗๓
(จศ.๑๑๙๒)
๕.เสบียงหายในคลังข้าวที่พระตะบองไม่มอี ะไรหลักฐานใดเลยในเอกสารนีท้ ี่จะนาไปเป็ นเหตุผลที่จะ
เสนอความที่ว่า “ลาวภู ครัง ถิ่นฐานเดิมอยู ่เมืองภู ครัง ปรากฏในหลักฐานเพียงว่าตัง้ อยู ่ ฝ่ ั งซ้ายแม่นา้ โขง
กองทัพไทยเคยยกไปตั้งมั่นชั่วคราวเมื่ อสงครามกับเวียดนามในรัชกาลที่ ๓”
พระพจนวิลาศ พิมพ์ ตามรับสัง่
“หม่อมเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื ่นดารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
มี รับสัง่ ให้หม่อมอนุวงษวรพัฒน์ แต่ยงั เป็ นปลัดสารวจ
รวบรวมจากทาเนียบในกระทรวงสอบกับบัญชี ในกรมพระอาลักษณ์
และหนังสืออืน่ อีกหลายฉบับ”
(คานาพิมพ์ครัง้ แรก รัตนโกสินทร ศก ๑๑๘)
 ตอนที่๑
บัญชีมณฑลพิษณุโลก
“๑.เมืองพิษณุ โลก อ. (มีเมืองขึน้ ดังนี)้ นครไทยนครชุม,ศรีภิรมย์,พรหมพิราม
,ชุมศรสาแดง,ชุมแสงสงคราม,นครป่ าหมาก,ด่านซ้าย,ชาติตระการ,ภู ครั่ ง,ไชย
นาม ตะนม,ไทยบุรี,เทพบุรี

๒. เมืองพิไชย ท.(มีเมืองขึน้ ดังนี)้ นา้ ปาด,ฝาง,เชียงคาน,ตรอน,พิพัฒน์,พิมูล
,ปัดบู ร,ขุนกัน,อุตรดิฐ,ทุง่ ยั้ง,ลับแล,ด่านนางพู น,ทุง่ , อุทัยบุรี,ไชยบุรีศรีนา้ ฮุ่ง,
สุวรรณภู ม์ ,ิ เลียบ,เชียงแมน,ท่านุ่น,หงษาวดี,ม่อนาแล,เพียง,วา”
 (เมืองที่ขด
ี เส้นใต้สว่ นใหญ่อยูใ่ น
ไซยบุรีดนิ แดนฝัง่ ขวาแม่นา้ โขง
พ.ศ๒๔๔๖ รศ.๑๑๒ เสีย/ได้ดนิ แดนฝัง่ ขวาแม่นา้ โขง (จาปาสัก และไซยะบูลี)
ไชยบุรีศรีนา้ ฮุง่ พบ “ Xaignabouli” เมืองหลักของแขวงไชย
บุรีในแผนที่ Laos political 2003
http://lib.utexas.edu/maps/middle_east_
and_asia/laos_pol_2003.jpg
วา พบ “Wa” ตัง้ อยูร๋ ิม(นา้ ออน) เซออน ในแขวงพงสาลี
ในแผนที่ "Map of Indo-China showing
proposed Burma-Siam-China
Railway" from the Scottish
Geographical Magazine. Published
by the Scottish Geographical
Society and edited by Hugh A.
Webster and Arthur Silva White.
Volume II, 1886.
http://lib.utexas.edu/maps/historic
al/indo_china_1886.jpg
“ปั ญหาการเสียดินแดน”(สุวิทย์ 2553: 14) นีอ่ าจช่วย
อธิบายได้วา่ ทาไม รายชือ่ เมืองที่ขดี เส้นใต้ในตอนที๑่ จึงหายไปจาก ตอนที่ ๒
(ดู การวิเคราะห์ ตอนที่ ๒ ใน หน้าจั่วประวัติศาสตร์ ๘)
 ร่วมสมัยกับ

เอกสารนีย้ ืนยันการมีอยูข่ อง “เมืองภูครัง่ ”ได้เท่านัน้ แต่ไม่ยืนยันว่า “เมือง
ภู ครัง ตั้งอยู ่ที่ไหน -ฝ่ ั งซ้าย(หรือฝ่ ั งขวา)ของแม่นา้ โขง”
๓. การส่งครัวกลับครัง้ ที่สอง ตามรับสัง่ ร.
๒ พ.ศ. ๒๓๖๐ (จศ.๑๑๗๙) ให้เมืองชนบท เมือง
ขอนแก่น เมืองภูเขียว ลาเลียง ลาวครัวเมืองภูครังที่
เหลือ ๖๔๓ คนลงมากรุงเทพฯในปี นัน้ (พ.ศ. ๒๓๖๐
(จ.ศ. ๑๑๗๙)ปี ฉลูนพศก) และรับสัง่ ให้ไปตัง้ หลัก
แหล่งที่ต.สาประทวนแขวงนครไชยศรีใ
๔. ปิ ดบัญชีสรุป ยอดเงินพระราชทาน ไม้
และตับจากปลูกบ้านเรือนให้ครัวลาวภูครังให้ที่
“สามปทวร ณคอรชัยศรี” ในปี ขาลปี ถัด
มาคือพ.ศ. ๒๓๖๑ (จ.ศ. ๑๑๘๐)รับกับ จดหมายเหตุ
รัชกาลที่สาม พ.ศ.๒๓๗๓ (จศ.๑๑๙๒)

ประการแรก “ลาวครัง่ หายไป” เนือ้ ในส่วนที่เป็ นการศึกษาภาคสนามของเอกสารไม่พบการมีอยูข่ องลาวครัง่
อีกเลย เราทราบจากการศึกษาจดหมายเหตุไปแล้วว่าพวกเขาได้เข้ามาอยู่ที่นแี่ น่ชดั ในรัชกาลที่สอง เป็ นไปได้
ทัง้ ในทิศทางที่ว่าพวกเขากลมกลืนกับกลุม่ ลาวที่มอี ยู่เดิมหรืออพยพย้ายออกอย่างไรก็ตามเรื่องนีข้ ณะนีเ้ รา
ไม่รแู้ น่ชดั

ประการที่สอง จากการศึกษาประวัติศาสตร์บอกเล่าครัวลาวเวียง กล่าวว่า “บรรพบุรุษของตนอพยพหนี
ภัย สงคราม การสู ร้ บ และถู กกวาดต้อนมาอยู ่รวมกันในดินแดนแถบนี้ตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ ๑”, “..ลาวเวียง
ดัง้ เดิมมาจากเจ้าเมืองซ้ายเขารบกันมา โยกย้ายกันมา..” อาจเป็ นลาวเวียงต่างหากที่มี “เมืองซ้าย” หรือ
อาจใช้ทาความเข้าใจสาเหตุของมายาคติที่ว่า “เมืองภู ครัง ..ฝั่ งซ้ายแม่นา้ โขง”ในวาระต่อไป

ประการที่สาม ลาวเวียงเคยมีเอกลักษณ์ทางการแต่งกายในชีวิตประจาวันที่ไม่ใช่เสื้อผ้าพิธีกรรม “ผูห้ ญิง
(ลาวเวียง)สมัยก่อนนุ่งโจงกระเบนใส่ “เสื้อคอกระเช้าแขนเดียว”-เสื้อสีขาวคล้ายเสื้อคอกระเช้าแต่มีแขน
ข้างเดียว-ปั จจุบันยังเห็นสตรีผูเ้ ฒ่าลาวเวียงวัย๗๐-๘๐ปี สวมใส่อยู ่” เบาะแสเช่นนีจ้ ะเป็ นประโยชน์มากใน
การศึกษาทานองนีต้ อ่ ไป เช่น อาจนารูปถ่ายนาไปสืบค้นในท้องถิ่นไทลาวเวียงถิ่นที่อื่นเป็ นต้น

ประการที่สี่ เนือ่ งจากการศึกษาในโครงการวิจยั นีต้ งั้ โจทย์ที่การศึกษาชาตคิพนั ธุล์ าวครัง่ เป็ นหลัก
การที่ได้ยอ้ นมาทบทวนศึกษาวิจารณ์วรรณกรรมลาวเวียง(ต่อไปรวมถึงลาวกา ลาวแง้ว)เป็ นเพราะว่ามีเหตุ
อันสืบสานจากการทบทวน
อาจพิจารณาว่าเป็ นจุดอ่อนทางการหาความรูเ้ พราะทรัพยากรเวลาไม่เอื้อกับกระบวนการทบทวนเอกสาร
แบบที่หวังได้ว่าจะขุดพบประเด็นคาถามสาคัญ ดังนัน้ หากพอมีคณ
ุ ค่าทางวิชาการอยู่บา้ งก็ควรจะส่งผล
กลับไปในการทบทวนทางวิธีวิทยา
 1.การศึกษานีไ้ ด้หักล้างข้อสันนิษฐาน
 “เมืองภู ครั งตั ง
้ อยู ่ฝ่ ั งซ้ายแม่นา้ โขง”
 การศึกษานีส
้ นับสนุน
“ครัวเมืองภู ครังแขวงเมืองพิษณุ โลก”
(ฝ่ ั งขวาแม่นา้ โขง ไซย บุรีถึงนครไทย)
 2.เสนอให้พิจารณากลุม
่ ชาติพนั ธุไ์ ท-ลาวครัง่ เวียงในแง่ของกลุม่
ชาติพนั ธุภ์ าษาแทนที่จะเลือกกาหนดจากจุดกาเนิดเชิงสถานที่ซี่ง
เฉพาะในกรณีนเี้ ห็นได้ว่าเป็ น “จินตกรรมทางวิชาการ-ความ
แตกต่างหลากหลายอันเกินแก้ในภาษาของมนุษย์” ตามข้อสรุป
ประเด็นที่แผ้วถากถางให้เกิดชุมชนจินตกรรมรูปแบบใหม่ๆในกรณี
รัฐ (-รัฐชาติแบบต่างๆในโลกในศตวรรษที่สิบเก้า-ปั จจุบนั )
 2(ต่อ)
การศึกษาภาคสนามนีพ้ บด้วยว่าระหว่างกลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ทลาวในประเทศไทยด้วยกันแล้ว พวกเขามีแนวโน้มที่จาแนกกลุม่ ชาติ
พันธุพ์ ลัดถิ่นด้วยกันนีจ้ ากมุมของพวกเขาเองอย่างแตกต่างกัน
ออกไป โดยมีสาเนียงและอัตตลักษณ์ทางประวัตศิ าสตร์เป็ นตัวแปร
ในขณะที่ความสัมพันธ์ตอ่ กลุม่ ลาวโซ่งและลาวพวนเป็ นไปใน
ทางบวก ลาวเวียงและลาวคังซึ่งใช้ภาษาเดียวกันกลับมีแนวโน้มที่จะ
พิจารณากันและกันในทางลบโดย“สาเนียง”ที่ตา่ งฝ่ ายต่างฟั งกันและ
กันออก
 2(ต่อ)
กล่าวได้ว่าหากสาเนียงภาษาเป็ นเครื่องมือชิน้ แรกของการจาแนก
แยกความเป็ นอื่นแล้ว อุปกรณ์ชนิ้ ต่อมาคือ อัตตลักษณ์- สานึกทาง
ประวัตศิ าสตร์ ของความเป็ นคูแ่ ข่งขันระหว่างกันของกลุม่ ชาติพนั ธุพ์ ลัด
ถิ่นทัง้ สองที่ประกอบเป็ นสัญญลักษณ์ “เวียงจันทน์-หลวงพระบาง/พระ
แก้วมรกต-พระบาง”
Ross King,2011 :9 อ้างจาก
Reynolds,1969:78-89 “ [ ],there is the
antipathy between the Holy Emerald
Jewel and the Phra Bang (Prabang)
image, the cultic emblem of Luang
Prabang, ancient capital and rival of
Vientiane. The antipathy accounts for-or is it that it represents?-- the rivalry of
claims to the Lao soul, a rivalry
expressed in present times in the LaoIsaan, red-shirt invasion in Bangkok, it is
believed that great havoc was inflicted,
leading to the Phra Bang’s return to its
previous abode in Luang Prabang.”
Relativitism Cultural landscape
 3.การพิจารณากรณีกลุม
่ ชาติพนั ธุล์ าวครัง่ ลาวเวียงในแบบที่ร่วมเข้าใจ
ฐานการนิยามตนเองของพวกเขาในแง่ที่ว่าเป็ นผูเ้ จริญอยู่ในวัฒนธรรม
อันสูง(เคย)อยู่ในเมืองหลวงของรัฐหรือในเวียง“ลาวเวียง-คนเมือง”
ขอเรียกมโนทัศน์นวี้ ่า “กลุม่ ชาติพนั ธุภ์ าษาคนพลัดถิ่นหรือกลุม่
วัฒนธรรมคนพลัดถิ่น”(Diaspora ethno-linguistic ) ซึ่ง
ชาติพนั ธุภ์ าษาคนพลัดถิ่นเป็ นวัฒนธรรมที่ผนวกด้วยค่านิยมของผู้
อพยพย้ายถิ่น(Immigrant value) จึงขอเสนอให้เรียกชือ่ กลุ่ม
ชาติพนั ธุภ์ าษาคนพลัดถิ่นที่เคยเรียกว่า “ลาวครัง่ -ลาวเวียง-ลาวกาลาวแง๊ว”(สมิง:มปป.) ไว้ว่า “ไท-ลาว(คัง-เวียง)สาเนียงหลวงพระบางเวียงจันทน์” ค่านิยมของผูอ้ พยพย้ายถิ่น(Immigrant value)
ค่านิยมของผูอ้ พยพย้ายถิ่น(Immigrant value) เช่น การ
ปรับตัวทางความคิด ค่านิยม และวิถีชวี ิต ลูกหลานได้รบั การอบรม
เลี้ยงดูให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและให้มีศกั ยภาพที่จะ
ปรับเปลี่ยนเข้าสูว่ ิถีชวี ิตใหม่ๆได้
วัตถุทางวัฒนธรรม
ชาติพนั ธุศ์ ึกษา
Relativitism Cultural landscape
ประวัตศิ าสต์ชาติพนั ธุ์

4. ถ้ากลุม่ วัฒนธรรมใดที่ถกู เลือกกาหนดเป็ นหน่วยศึกษาแล้ว
พบว่าความรูท้ ี่เกี่ยวข้องหลักกับประวัติศาสตร์ชาติพนั ธุย์ งั อยู่ใน
สถานะที่กากวม การศึกษาต่อเนือ่ งทางวัตถุธรรมของวัฒนธรรม
นัน้ ๆย่อมไม่อาจหวังผลสัมฤทธ์ทางวิชาการได้ ในกรณีเช่นนีม้ ี
ความจาเป็ นที่จะย้อนรอยทบทวนการศึกษาทางประวัตศิ าสตร์อนั
เป็ นต้นทางเป็ นลาดับแรก ทัง้ การทบทวนทางวิธีวิทยาของการ
วิจยั ทางชาติพนั ธุท์ ี่เป็ นฐานคติตอ่ สถาปั ตยกรรมพื้นถิ่นศึกษาและ
การศึกษาทางวัตถุวฒ
ั นธรรมย่อมเป็ นคุณปู การกลับมาเป็ นวงจร
ความรูย้ อ้ นกลับเพื่อทบทวนกันและกันอีกด้วย
 5. ความสามารถที่จะทาความเข้าใจและเข้าถึง
“ความหมายในระดับสู ง ที่ สิงสู ่
(Latent) อยู ่ในสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างของความเป็ นชาติพันธุ ์” ของ
สถาปั ตยกรรมพื้นถิ่นศึกษา จะเป็ นหนทางที่จะเข้าใจ “ความรูด้ งั้ เดิม” และ
สร้าง “ความรูแ้ บบใหม่”ในระดับที่สามารถจะมีสว่ นสาคัญในการสร้างสรรค์
เสถียรภาพและ ความยัง่ ยืน เพื่อมนุษยชาติทา่ มกลางวิกฤตการณ์และหายนะ
ทางสังคมเช่นสงครามกลางเมืองและทางสิ่งแวดล้อมที่คืบคุกคามดังประจักษ์
กันอย่างกว้างขวางและทัว่ ถึง ณ เวลานี้
 ศรันย์ สมันตรัฐ
 สาขาภูมส
ิ ถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มก.
 0812087053
 [email protected]
[email protected]
FB saran samantarat