ยูเรนัส (Uranus) มวล (กิโลกรั ม) มวล (โลก=1) รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (กิโลเมตร) รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (โลก =1) ความหนาแน่ นเฉลี่ย (กรั ม/ลูกบาศก์ เซ็นติเมตร) ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ (กิโลเมตร) ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์

Download Report

Transcript ยูเรนัส (Uranus) มวล (กิโลกรั ม) มวล (โลก=1) รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (กิโลเมตร) รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (โลก =1) ความหนาแน่ นเฉลี่ย (กรั ม/ลูกบาศก์ เซ็นติเมตร) ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ (กิโลเมตร) ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์

ยูเรนัส (Uranus)
มวล (กิโลกรั ม)
มวล (โลก=1)
รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (กิโลเมตร)
รั ศมีตามแนวศูนย์ สูตร (โลก =1)
ความหนาแน่ นเฉลี่ย (กรั ม/ลูกบาศก์ เซ็นติเมตร)
ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ (กิโลเมตร)
ระยะห่ างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์ (โลก =1)
8.686 x 1025
14.535
25,559
4.0074
1.29
2,870,990,000
19.1914
คาบการหมุนรอบตัวเอง (วัน)
คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย์ (วัน)
ความเร็วของการหมุนรอบดวงอาทิตย์ เฉลี่ย
(กิโลเมตร/วินาที)
อุณหภูมิท่พ
ี นื ้ ผิวเฉลี่ย (เซลเซียส)
ความดันบรรยากาศ (บาร์ )
17.9
84.01
6.81
-193
1.2
ส่ วนประกอบของบรรยากาศ
ไฮโดรเจน
ฮีเลียม
มีเธน
83%
15%
2%
• ดาวยูเรนัสเป็ นดาวเคราะห์ ท่ หี ่ างจากดาวอาทิตย์ เป็ นดวงที่
เจ็ด
และมีขนาดใหญ่ เป็ นอันดับที่สาม
(วัดตาม
เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง)
• ตามตานานกรีก Uranus เป็ นลูกชายของ Gaia ซึ่งเป็ นพ่ อของ
C r o n u n ( S a t u r n ) , C y c l o p e s และ T i t a n
• ดาวยูเรนัสถูกค้ นพบขึน้ ในช่ วงระยะหลังของการศึกษา
ดวงดาวและท้ องฟ้า โดย William Herschel ใช้ กล้ อง
โทรทรรศน์ ของเขาค้ นหาดวงดาวอย่ างมีระบบเมื่อ 1 3
มีนาคม
1
7
8
1
• Herschel เรียกดาวดวงนีว้ ่ า “Georgium Sidus” เพื่อเป็ น
เกียรติแก่ ผ้ ูทสี นับสนุนเขาคือ King George III แต่ คนอื่นๆ
เรียกดาวดวงนีว้ ่ า “ H e r s c h e l ”
• ชื่อดาวยูเนรัสถูกเรียกเป็ นครัง้ แรกโดย B o d e เพื่อที่จะให้
สอดคล้ องกับชื่อของดาวเคราะห์ ดวงอื่นๆที่มีช่ ือมาจาก
ตานานโบราณ ซึ่งไม่ เป็ นที่นิยมในขณะนัน้ มาจนกระทั่งในปี
1
8
5
0
• ดาวเคราะห์ ส่วนใหญ่ มีการหมุนรอบแกนที่ตงั ้ ฉากกับระนาบ
ของวงโคจร แต่ ดาวยูเรนัสมีแกนที่ขนานกับระนาบของวง
โคจร ทาให้ ขัว้ ของดาวรับพลังงานจากดวงอาทิตย์ มากกว่ า
บริเวณศูนย์ สูตร ดังนัน้ อุณหภูมิท่ ขี ัว้ จึงสูงกว่ าอุณหภูมิท่ ศี ูนย์
สูตรเสมอ
• ดาวยูเรนัสประกอบด้ วย
หินและนา้ แข็งชนิดต่ างๆ มี
ไฮโดรเจน 15% และฮีเลียม
อีกเล็กน้ อย
ซึ่งมีความ
คล้ ายคลึงกับแกนของดาว
พฤหัสและดาวเสาร์ ท่ ไี ม่ มี
ชัน้ liquid metallic hydrogen
ดาวยูเรนัสไม่ มีแกนกลาง
เหมือนดาวพฤหัสหรือดาว
เสาร์ แต่ เป็ นวัตถุเนือ้ เดียว
• บรรยากาศของดาวยูเรนัสประกอบด้ วย ไฮโดรเจน 8 3 %
ฮีเลียม 15% มีเทน 2% และร่ องรอยของ อะเซทิลีน และสาร
ไฮโดรคาร์ บอน
• ดาวยูเรนัสมีแถบสีเหมือนกับดาวก๊ าซทั่วไป
แต่ มีการ
เคลื่อนที่ของแถบสีท่ รี วดเร็วและสีค่อนข้ างเลือนลาง
• สีนา้ เงินของดาวยูเรนัส เป็ นผลมาจากการดูดกลืนแสงสีแดง
ของมีเทนที่อยู่ในชัน้ บรรยากาศตอนบนของดาว
แถบสี
ทัง้ หลายสังเกตได้ ยากเนื่องจากชัน้ มีเทนในบรรยากาศ
• วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกค้ นพบในปี 1 9 7 7 แต่ ไม่ สว่ าง
เหมือนกับวงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบด้ วยวัตถุขนาดเล็ก
ซึ่งมีวัตถุขนาดใหญ่ ท่ มี ีขนาดมากกว่ า 10 เมตรประกอบอยู่
เพียงเล็กน้ อย วงแหวน 11 วง มีลักษณะเลือนลาง วงที่มี
ความสว่ างมากที่สุกเรียกว่ า
E p s i l o n
• วงแหวนของดาวยูเรนัสถูก
ค้ นพบภายหลังจากการ
ค้ นพบวงแหวนของดาว
เสาร์ ทาให้ เป็ นที่เข้ าใจกัน
ดีขนึ ้ ว่ า วงแหวนเป็ น
ลักษณะที่สามารถพบได้ ใน
ดาวเคราะห์ ดวงอื่นๆ ไม่
เฉพาะเจาะจงกับดาวเสาร์
อย่ างที่เคยเข้ าใจ
• ดาวยูเรนัสมีดาวบริวารขนาดเล็ก 10 ดวงและขนาดใหญ่ อีก 5
ดวง ซึ่งยังไม่ ทราบรายละเอียดดี ดาวบริวารขนาดใหญ่ 2 ดวง
ชื่อ Titania และ Oberon และอาจมีดาวบริวารเล็กๆ อีก
มากมายในวงแหวนเหล่ านี ้
Titania และ Oberon
• สนามแม่ เหล็กของดาวยูเรนัสมีความแปลกประหลาด
ศูนย์ กลางของสนามแม่ เหล็กไม่ ได้ อยู่บริเวณศูนย์ กลางของ
ดาวแต่ วางตัวเอียงทามุม 6 0 องศากับแกนของการหนุน
แหล่ งกาเนิดของสนามแม่ เหล็กยังไม่ ทราบแน่ ชัด แต่ คาดว่ า
เกิดจากการหมุนที่เกิดขึน้ ที่ระดับความลึกไม่ มากนักภายใน
ดาวยูเรนัส
• ในค่าคืนที่ท้องฟ้าโปร่ งอาจเป็ นดาวยูเรนัสด้ วยตาเปล่ า หรือ
กล้ องส่ องทางไกลสองตา กล้ องโทรทรรศน์ ขนาดเล็กอาจเห็น
ดาวยูเรนัสเป็ นแผ่ นกลมๆ