space technology) เทคโนโลยีอวกาศ (

Download Report

Transcript space technology) เทคโนโลยีอวกาศ (

เทคโนโลยีอวกาศ (space technology)
เทคโนโลยีอวกาศ
space technology
• อวกาศ space หมายถึง อาณาบริเวณอันกว้างใหญ่ เลย
ชั้นบรรยากาศของโลกออกไป ไม่สามารถระบุถึงขอบเขต
ได้ชดั เจน
• เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง ระเบียบวิธีการนาความรู ้
เครื่องมือและวิธีการต่างๆทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้
เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์ และอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
• เทคโนโลยีอวกาศ
คือ การสารวจสิ่งต่าง ๆ ที่อยูน่ อกโลกรวมทั้งโลกของเรา
• ปั จจุบนั เทคโนโลยีอวกาศได้มีการพัฒนาไปเป็ นอย่างมาก
ทาให้ได้ความรูใ้ หม่ๆ มากขึ้ น หน่ วยงานที่มีบทบาทมาก
ในการพัฒนาทางด้านนี้ คือ องค์การนาซ่าของ
สหรัฐอเมริกา
• การศึกษาสิ่งต่าง ๆ ในเอกภพโดยการใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีอวกาศนั้นมีท้งั ด้านการสื่อสาร การสารวจ
ทรัพยากรโลก และการพยากรณ์อากาศ เป็ นต้น
กล้องโทรทรรศน์(telescope)
ชนิดของกล้องโทรทรรศน์
1.กล้องโทรทรรศน์ แบบหักเหแสง (Refractor)
2.กล้องโทรทรรศน์ แบบสะท้อนแสง (Reflector)
3.กล้องโทรทรรศน์ชนิดผสม (Catadioptic)
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เป็ นแบบหักเหแสง อยูท่ ี่หอดูดาวเยอร์เกส สหรัฐอเมริกา
เลนส์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร
กล้องโทรทรรศน์ ที่หอดูดาวสิรนิ ธร จ.เชียงใหม่
เริม่ ดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 เสร็จสมบูรณ์ในเดือน ธ.ค 2543
เป็ นกล้องแบบสะท้อนแสง ชนิดริชชี-เครเทียน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
0.5 เมตร (20 นิ้ว)
การเดินทางสูอ่ วกาศ
• การจะเดินทางออกจากโลกจึงต้องตอบคาถามต่างๆ
ที่ทา้ ทาย คือ
• จะใช้ยานพาหนะอะไรจึงจะเดินทางไปได้
• จะออกแบบยาน อย่างไร
• จะใช้พลังงานจากแหล่งใด เป็ นเชื้อเพลิง
• ทาอย่างไร ยานพาหนะ จะเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้
• ถ้ามนุษย์ออกไปในอวกาศ จะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกาย
ต้องเตรียมตัวอย่างไร
• ในการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศขึ้นสูอ่ วกาศ จะต้อง
อาศัยจรวดที่มีแรงขับดันและความเร็วสูง สามารถ
เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกที่พยายามดึงดูดมวลทุกอย่าง
เข้าสูพ
่ ้ นโลก
ื
ความเร็วของจรวดหรือยานอวกาศที่สามารถ
เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เรียกว่า ความเร็วจากผิว
โลกที่จะขึ้นถึงวงโคจร (characteristic
velocity) ยิง่ สูงค่าความเร็วจากผิวโลกที่จะขึ้นถึงวง
โคจรมีค่ามากขึ้น
การใช้ประโยชน์จากจรวดในอดีต
• บันทึกของชาวจีนที่ตอ่ สูก้ บั ชาวมองโกลในปี พ.ศ.1775
กล่าวถึงการใช้ประโยชน์จากจรวดไว้ว่า ใช้จรวดขับดันลูกธนู
พุง่ เข้าหาฝ่ ายตรงข้าม
• บั้งไฟของไทยก็มีหลักการเดียวกับจรวดคือ แรงกิริยาจากไอ
เสียกระทาต่อบั้งไฟให้พงุ่ ออกไปข้างหน้า เท่ากับแรงปฏิกิริยา
จากบั้งไฟ กระทาต่อ ไอเสียให้พงุ่ ไปข้างหลัง
ในปี พ.ศ.2446 ไชออลคอฟสกี ( Tsiolkovski )
ชาวรัสเซีย ค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อเพลิงแข็งจะไม่มีแรงขับดัน
สูงพอที่จะนายานอวกาศไปสู่อวกาศได้ ควรใช้เชื้อเพลิงเหลว
ซึ่ ง แยกเชื้ อเพลิ ง และสารที่ ช่ ว ยในการเผาไหม้อ อกจากกัน
การน าจรวดมาต่ อ เป็ นชั้ น ๆ จะช่ ว ยลดมวลของจรวดลง
เพราะเมื่อจรวดชั้นแรก ใช้เชื้อเพลิงหมดก็ปลดทิ้งไป และให้
จรวดชั้น ต่อ ไปนี้ ท าหน้า ที่ ต่อ จนถึ ง จรวดชั้น สุ ด ท้า ยที่ ติด กับ
ดาวเทียมหรือยานอวกาศ จะมีความเร็วสูงพอที่จะเอาชนะแรง
ดึงดูดของโลกขึ้นสูอ่ วกาศได้
ไชออลคอฟสกี ( Tsiolkovski )
• หลักการส่งยานอวกาศของไชออลคอฟสกีถือเป็ นหลักการ
สาคัญในการเดินทางสูอ่ วกาศ
• ในปี พ.ศ.2469 โรเบิรต์ กอดดาร์ด ( Robert
Goddard ) ชาวอเมริกนั ประสบความสาเร็จในการ
สร้างจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใช้ออกซิเจนเหลวเป็ นสารที่
ช่วยในการเผาไหม้อยูใ่ นถังหนึ่ง และไฮโดรเจนเหลวเป็ น
เชื้อเพลิงอยูใ่ นถังอีกถังหนึ่ง
โรเบิรต์ กอดดาร์ด ( Robert Goddard )
• ได้มีการพัฒนา จรวดเชื้อเพลิงเหลว มาเป็ นลาดับ กระทั ่ง
สหภาพโซเวียตประสบความสาเร็จในการใช้จรวดสาม
ท่อนสาหรับส่งยานอวกาศ หรือดาวเทียมที่มีน้ าหนักมาก
ขึ้นสูอ่ วกาศ จากนั้นการศึกษาค้นคว้า ด้านอวกาศ ก็มีการ
พัฒนาอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการแข่งขันกันระหว่าง
ประเทศมหาอานาจ ระหว่างรัสเซียและอเมริกา
• ยุคสารวจอวกาศเริ่มอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2500
เมื่อสหภาพโซเวียตส่ง ดาวเทียมสปุตนิก 1 ขึ้นไปใน
อวกาศ หลังจากนั้นในปี เดียวกัน สหภาพโซเวียตก็สง่
ดาวเทียม สปุตนิก 2 โดยมีสุนขั ตัวเมียชื่อไลก้า ขึ้น
ไปในอวกาศด้วย
• ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1
เข้าสูว่ งโคจรของโลกในปี พ.ศ. 2501
• ผูห้ ญิงคนแรกที่เดินทางไปในอวกาศเป็ นชาวรัสเซีย
ชื่อ วาเล็นตินา เทอเรซโกวา ในปี ค.ศ. 1963
ดาวเทียมสปุตนิค
ยาน สปุตนิค-2 ได้สง่ หมาที่ชื่อไลก้า(Laika)
ไปด้วยแม้ว่ามันจะไม่ได้กลับมาโลกก็ตาม
• ต่อมาสหรัฐอเมริกาจึงส่งดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1เข้า
สูว่ งโคจรของโลกในปี พ.ศ. 2501
• ผูห้ ญิงคนแรกที่เดินทางไปในอวกาศเป็ นชาวรัสเซีย
ชื่อ วาเล็นตินา เทอเรซโกวา ในปี ค.ศ. 1963
ดาวเทียมเอกซ์พลอเรอร์1
วาเล็นตินา เทอเรซโกวา
• 12 เมษายน 1961 ยูริ กาการิน ชาวรัสเซีย เป็ นมนุษย์คน
แรกที่ข้ ึนสูอ่ วกาศ กาการินขึ้นไปสูง 200 ไมล์ โคจรรอบ
โลก 2 รอบ ต่อมาเพียง 5 สัปดาห์หลังจาก กาการิน ขึ้นสู่
อวกาศ อเมริกนั ก็สง่ นักบินอวกาศขึ้นสูอ่ วกาศสาเร็จ
• วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) นักบินอวกาศ
อลัน บี. เชฟเพิรด์ จูเนียร์ กลายเป็ นชาวอเมริกนั คนแรกใน
อวกาศ
• จอห์น เกล็นน์ กลายเป็ นชาวอเมริกนั คนแรก ที่โคจรรอบโลก
เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2505
• ยานอพอลโล 11 (16-24 กรกฎาคม 1969)พามนุษย์ไป
ลงบนดวงจันทร์ครั้งแรก มีลกู เรือสามคน คือ นีล อาร์มสตรอง,
เอดวิน อัลดริน และ ไมเคิ้ล คอลลินส์
นักบินอวกาศก้าวเดินบนพื้นผิวดวงจันทร์
ในการเดินทางไปกับ ยานอะพอลโล 11
ระบบการขนส่งอวกาศ
• ระบบการขนส่งอวกาศ เป็ นโครงการที่ถูกออกแบบให้สามารถนา
ชิ้นส่วนบางส่วนที่ใช้ไปแล้วกลับมาใช้ใหม่อีก เพื่อเป็ นการประหยัด
และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ระบบการขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3
ส่วนหลัก คือ
• 1. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
• 2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก (สารองไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว)
• 3. ยานขนส่งอวกาศ(กระสวยอวกาศ)( space shuttle)
กระสวยอวกาศลาแรกที่ปล่อยใช้งานสูอ่ วกาศคือ
กระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.
2524
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ
• ดาวเทียม(satellite) คือสิ่งประดิษฐ์ ที่มนุษย์สร้างขึ้น
แล้ว ส่งไปโคจรรอบโลก (หรือโคจร ไปในอวกาศ ซึ่งจะ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยานอวกาศ)
• ดาวเทียม คือ ห้องทดลองที่บรรจุอุปกรณ์เอาไว้ ส่งขึ้นไป
โคจรรอบโลก มีรูปทรงต่างๆ ดาวเทียมมีระยะเวลาโคจร
รอบโลกแตกต่างกันขึ้นอยูก่ บั ขนาดและระยะห่างของวง
โคจร การส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลกทาได้
2 วิธี คือ ส่งโดยใช้จรวด และ ส่งโดยใช้ยานขนส่งอวกาศ
ดาวเทียม (satellite)
• สามารถแบ่งประเภทของดาวเทียมตามหน้าที่ตา่ งๆ ได้ดงั นี้
(1) ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยา
(2) ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
(3) ดาวเทียมสื่อสาร
(4) ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
(5) ดาวเทียมทางทหาร
ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยา
• ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาได้ถูกส่งขึ้นสูว่ งโคจรในอวกาศเป็ น
ครั้งแรกเมื่อ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2503 มีชื่อว่า
TIROS-1 (Television and Infrared
Observational Satellite) ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา หากเราแบ่งดาวเทียมอุตนุ ิยม วิทยาตาม
ลักษณะการโคจรรอบโลกของดาวเทียมสามารถแบ่ง
ออกเป็ น 2 ชนิดคือ
1. ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาชนิดวงโคจรค้างฟ้ า
(Geostationary Meteorological
Satellite) ดาวเทียมชนิดนี้จะโคจรรอบโลกใช้เวลา
24 ชั ่วโมง ซึ่งเท่ากับเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง โดยวง
โคจรจะอยูใ่ นตาแหน่งเส้นศูนย์สูตรของโลก และจะโคจร
ไปไปในทางเดียวกับการโคจรรอบตัวเองของโลกด้วย
ความเร็วที่เท่ากัน ดังนั้นตาแหน่งของดาวเทียมจะสัมพันธ์
กับตาแหน่งบนพื้นโลกในบริเวณเดิม เสมอ
• 2. ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาชนิดโคจรรอบโลก (Near Polar
Orbit Meteorological Satellite) ดาวเทียมชนิด
นี้จะโคจรผ่านใกล้ข้วั โลกเหนือ และ ขั้วโลกใต้มีความสูงจากพื้น
โลกประมาณ 850 กิโลเมตร โดยจะโคจรรอบโลก ประมาณ
102 นาที ต่อ 1 รอบ ในหนึ่งวันจะโคจรรอบโลกประมาณ 14
รอบ และ จะเคลื่อนที่ผ่านเส้นศูนย์สูตรในเวลาเดิม (ตามเวลา
ท้องถิ่น) ผ่านแนวเดิม 2 ครั้ง โดยจะโคจรเคลื่อนที่จากขั้วโลก
เหนือไปยังขั้วโลกใต้ 1 ครั้ง และโคจรเคลื่อนที่จาก ขั้วโลกใต้ไป
ยังขั้วโลกเหนืออีก 1 ครั้ง
• การถ่ายภาพของดาวเทียมชนิดนี้จะถ่ายภาพ และส่ง
สัญญาณข้อมูลสูภ่ าคพื้นดินในเวลาจริง (Real Time)
ในขณะที่ดาวเทียม โคจรผ่านพื้นที่น้นั ๆ โดยจะครอบคลุม
ความกว้างประมาณ 2,700 กิโลเมตร ตัวอย่างดาวเทียม
ประเภทนี้ได้แก่ ได้แก่ ดาวเทียม NOAA ดาวเทียม
FY-1 ดาวเทียม METEOR-2 เป็ นต้น
• ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยา เป็ นดาวเทียมที่ทาหน้าที่ ตรวจ
ความแปรปรวนของลมฟ้ าอากาศ เพื่อการพยากรณ์
อากาศ ได้แก่ ดาวเทียมไทรอส ทรานสิต นิมบัส และ
คอสมอส GMS, NOAA
• ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยาดวงแรก เพื่อพยากรณ์อากาศ คือ
ดาวเทียมไทรอส 1 ส่งเข้าสูว่ งโคจรรอบโลก เมื่อวันที่ 1
เมษายน พ.ศ. 2503 และมีดาวเทียมไทรอสติดตามขึ้น
ไปอีกถึง 10 ดวง
ดาวเทียมอุตนุ ิยมวิทยา GMS
ดาวเทียมสารวจทรัพยากรโลก
• เป็ นดาวเทียมที่มีอปุ กรณ์สารวจแหล่งทรัพยากรทีส่ าคัญ
นอกจากนี้ยังเฝ้ าสังเกตสภาวะแวดล้อมที่เกิดบนโลก ช่วย
เตือนเรื่องอุทกภัย และความแห้งแล้งที่เกิดขึ้น การตัดไม้
ทาลายป่ า การทับถมของตะกอนปากแม่น้ า รวมไปถึง
แหล่งที่มีปลาชุกชุม และอื่นๆ อีกมาก
• ดาวเทียมธีออส (THEOS :Thailand Earth
Observation System) ดาวเทียมสารวจ
ทรัพยากรดวงแรกของไทย
• ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่
- ดาวเทียมแลนด์แสต ( Landsat ) ของ
สหรัฐอเมริกา
- ดาวเทียม SPOT ของฝรั ่งเศส และกลุม่ ประเทศใน
ยุโรป - ดาวเทียม MOS-1 ของประเทศญี่ปุ่นเป็ นต้น
ดาวเทียม SPOT
ดาวเทียม LANDSAT
ดาวเทียม NOAA
ดาวเทียม ERS
ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์
• เป็ นดาวเทียมที่มีกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ดาราศาสตร์
สาหรับศึกษาวัตถุทอ้ งฟ้ า
• ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ทีท้งั ประเภทที่โคจรอยู่
รอบโลกและประเภทที่โคจรผ่านไปใกล้ดาวเคราะห์ หรือลง
สารวจดาวเคราะห์ ซึ่งเรียกอีก อย่างหนึ่งว่ายานอวกาศ
• เช่น ยานอวกาศวอยเอเจอร์ที่เดินทางผ่านเฉียดดาว
พฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เป็ นต้น
ยานอวกาศวอยเอเจอร์
ยานอวกาศ Cassini
ดาวเทียมสื่อสาร
• เป็ นดาวเทียมที่มีอุปกรณ์สื่อสารติดตั้งอยู่
เช่น ดาวเทียมอินเทลแซท
• ดาวเทียมชุดนี้อยูใ่ นวงโคจรรอบโลก 3 แห่ง คือ เหนือ
มหาสมุทรอินเดีย
• เพื่อการติดต่อระหว่างทวีปเอเซียกับทวีปยุโรปเหนือมหาสมุทร
แปซิฟิก
• เพื่อการติดต่อระหว่างทวีปเอเซียกับทวีปอเมริกา และเหนือ
มหาสมุทรแอตแลนติก
• เพื่อการติดระหว่างทวีปอเมริกากับทวีปยุโรป เมื่อรวม
ทั้งระบบจึงสามารถติดต่อกันได้ทั ่วโลก
• ดาวเทียมสื่อสารของไทย ชื่อไทยคม สร้างโดยบริษทั ฮิวจ์ แอร์
คราฟท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งขึ้นสู่อวกาศโดยบริษทั แอเรียน
สเปซ ประเทศฝรั ่งเศส จากฐานส่งที่เมืองคูรู ดินแดนเฟรนช์เกียนา
• ดาวเทียมไทยคมช่วยการติดต่อสื่อสารได้ทั ่วประเทศไทยและ
ประเทศในแถบอินโดจีนไปจนถึงเกาหลีและญี่ปุ่น รวมทั้งชายฝั ง่
ทะเลด้านตะวันออกของจีน
• เป็ นดาวเทียมสื่อสารที่ประเทศไทยให้บริการสื่อสารโทรคมนาคม
ด้านต่างๆ เช่น การถ่ายทอดโทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ การประชุม
ทางไกล และระบบถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์สู่เสาอากาศของผูร้ บั
ในบ้านได้ โดยตรง
• ดาวเทียมปาลาปา ( PALAPA ) เป็ นดาวเทียมสื่อสาร
ของประเทศอินโดนีเซีย
• ดาวเทียมไทยคม
บริษทั ชินแซทเทลไลท์ จากัด (มหาชน) ปี 2534
บริษทั ชินวัตรคอมพิวเตอร์ แอนด์ คอมมิวนิเคชั ่นส์ จากัด
(มหาชน) ได้รบั สัมปทานโครงการดาวเทียมสื่อสาร
แห่งชาติของกระทรวงคมนาคมเป็ นเวลา 30 ปี
• ปั จจุบนั บริษทั ฯ ประสบความสาเร็จในการจัดส่งดาวเทียม
ไทยคม 1A, 2 และ 3 เข้าสูว่ งโคจรในปี 2536,
2537, และ 2540 ตามลาดับ
• โดยดาวเทียมไทยคม 1A และ2 ซึ่งเป็ น
ดาวเทียมรุน่ HS-376 สามารถให้บริการของ
ช่องสัญญาณจานวน 28 ทรานสพอนเดอร์
แบ่งเป็ นย่าน ความถี่ C-Band 22 ทรานส
พอนเดอร์และ Ku-Band 6 ทรานสพอน
เดอร์ ดาวเทียมไทยคม 3 ถูกส่งขึ้นสูว่ งโคจร
อวกาศเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2540
• ดาวเทียมไทยคม 4 หรือ ไอพีสตาร์ (IPSTAR) ของ
บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จากัด (มหาชน) เป็ นดาวเทียม
สื่อสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีน้ าหนักถึง 6,486.48
กิโลกรัม สร้างโดยบริษัทสเปซ ซิสเต็มส์ ลอเรล (Space
System / Loral - SS/L) ถูกปล่อยขึ้ นสู่วงโคจร
เมื่อวันที่ 11 ส.ค. 2548
จากฐานปล่อยจรวดในประเทศฝรัง่ เศส และโคจรอยูเ่ หนื อ
เส้นศูนย์สูตรที่ระดับความสูง 35,880.7 กิโลเมตร
• การขายหุน้ "ชินคอร์ป" หรือหุน้ บริษทั ชิน คอร์ปอเรชั ่น
จากัด (มหาชน)
ให้กบั กองทุนเทมาเส็ก บริษทั สัญชาติสิงคโปร์ ทาให้
"ดาวเทียม"
ที่ใช้ชื่อ "ไทยคม" ทุกดวง ติดอยูใ่ นกลุม่ ถูกขายให้บริษทั
สิงคโปร์ไปด้วย
ดาวเทียมไทยคม 4 หรือ ไอพีสตาร์
ดาวเทียม GPS
• ระบบ แจ้งตาบลที่อยู่ พิกดั ตาแหน่งบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมนั้น
เป็ นโครงการของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ที่ได้ดาเนิน
โครงการ Global Positioning System หรือ
"GPS" ขึ้น
• ระบบ GPS จะใช้ดาวเทียมจานวนทั้งหมด 24 ดวง โคจรอยูใ่ น
ระดับสูงที่พน้ จากคลื่นวิทยุรบกวนของโลก
• วิธีการที่สามารถให้ความถูกต้องเพียงพอที่จะใช้ช้ ีบอกตาแหน่งได้
ทุกแห่งบนโลกตลอดเวลา 24 ชั ่วโมง
ดาวเทียม GPS
• จากการนามาใช้งานจริง จะให้ความถูกต้องสูง
• โดยที่ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของตาแหน่งทางราบต ่ากว่า
50 เมตร และถ้ารังวัดแบบวิธี "อนุพนั ธ์" (Differential)
• จะให้ความถูกต้องถึงระดับเซนติเมตร จากการพัฒนาทางด้าน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทาให้สามารถผลิตเครื่องรับ GPS
ดาวเทียม GPS
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
• ยานขนส่งอวกาศดิสคัฟเวอรีนากล้องโทรทรรศน์ มูลค่า
1,500 ล้านเหรียญสหรัฐ ขึ้นสูอ่ วกาศในวันที่ 25 เม. ย
พ.ศ. 2533
• เพื่อเป็ นเกียรติแก่ เอ็ดวิน ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกา
ผูศ้ ึกษาค้นคว้าเรื่องราวของกาแล็กซีตา่ งๆ กล้องโทรทรรศน์
• กล้องนี้จึงได้ชื่อว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล หรือเรียก
สั้นๆว่ากล้องฮับ-เบิล
• กล้องบนพื้นโลกส่องสังเกตวัตถุทอ้ งฟ้ าได้ไกลราว 2
พันล้านปี แสง
• กล้องฮับเบิลส่องเห็นไปได้ไกลถึง 14,000 ล้านปี แสง
• ข้อมูลที่ได้จากกล้องอับเบิลให้เห็นรายละเอียดต่างๆ ของ
-วัตถุทอ้ งฟ้ า
- ส่วนประกอบในระบบสุริยะ
- การกาเนิดของดาวฤกษ์
- โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของกาแล็กซี
- วิวฒ
ั นาการของเอกภพ
นักดาราศาสตร์เฝ้ าสังเกตมานานหลายร้อยปี ซึ่งไม่เคย
เห็นมาก่อน เป็ นการมองออกไปในเอกภพอย่างกว้างไกล
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
ภาพมุมลึกจากกล้องฮับเบิล
• ในเดือนธันวาคมปี 1995 กล้องโทรทัศน์อวกาศฮับเบิลได้ช้ ี
ไปยังอาณาบริเวณอันว่างเปล่าบนท้องฟ้ า ใน Ursa
Major
เป็ นเวลา 10 วัน
• ได้เป็ นสิ่งที่มีชื่อเสียงมากทางดาราศาสตร์ เป็ นภาพมุมลึก
เป็ นส่วนเล็กๆมันได้ถูกแสดงที่นี่ วัตถุทุกๆอย่างในภาพเป็ น
แกเล็กซี ที่อยูห่ ่างจากเรา 5 ถึง 10 พันล้านปี แสง แกเล็กซีที่
ถูกเปิ ดเผยที่นี่ท้งั หมดมีความคมชัดทั้งสี บางสิง่ บางอย่างอายุ
ยังน้อยและเป็ นสีฟ้าขณะที่อื่นๆที่มีอายุมาก จะเป็ นสีเหลือง
ภาพมุมลึกจากกล้องฮับเบิล
ในเดือนธันวาคมปี 1995
นอกจากนั้นยังสามารถแบ่งประเภทของดาวเทียมตามความ
สูงในการโคจรเทียบกับพื้นโลกได้ดงั นี้คือ
1. สูงจากพื้นโลกประมาณ 41,157 กิโลเมตร เป็ น
ดาวเทียมที่โคจรหยุดนิ่งกับที่เทียบกับพื้นโลก
(Geostationary Satellites) จะลอยอยูห่ ยุดนิ่ง
ค้างฟ้ าเมื่อเทียบกับตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งบนโลก โดย
ส่วนมากจะเป็ นดาวเทียมประเภทดาวเทียมสื่อสาร
ตัวอย่างเช่นดาวเทียมไทยคม ดาวเทียมเหล่านี้อยูเ่ หนือ
เส้นศูนย์สูตรโลกประมาณ จะวางตัวอยูใ่ นแนวเส้นศูนย์สูตร
โลก และสูงจากพื้นโลกประมาณ 41,157 กิโลเมตร หรือ
ประมาณ 1/10 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์
มีคาบการโคจรประมาณ 24 ชั ่วโมง
2. สูงจากพื้นโลกประมาณ 9,700-19,400 กิโลเมตร
- เป็ นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับพื้นโลก
(Asynchronous Satellite) ซึ่งโดยส่วนมากจะเป็ น
ดาวเทียมนาทางแบบจีพีเอส (GPS: Global
Positioning System)
- ซึ่งนาไปประยุกต์ใช้ในระบบการติดตาม บอกตาแหน่ง หรือนา
ร่องบนโลก ไม่ว่าจะเป็ น เครื่องบิน เรือเดินสมุทร รถยนต์
- ระบบดาวเทียมจีพีเอสจะประกอบด้วยดาวเทียม 24 ดวง ใน 6
วงโคจร ที่มีวงโคจรเอียงทามุม 55 องศาในลักษณะสานกัน
คล้ายลูกตระกร้อ
3. สูงจากพื้นโลกประมาณ 4,800-9,700 กิโลเมตร
- เป็ นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับพื้นโลก
(Asynchronous Satellite)
- ใช้สาหรับการสารวจ และสังเกตการณ์ทางวิทยาศาสตร์
เช่น การวิจยั เกี่ยวกับพืช-สัตว์ การติดตามร่องรอยของสัตว์ป่า
เป็ นต้น
-ดาวเทียมที่ระดับดังกล่าวมีคาบการโคจรประมาณ 100
นาที
4. สูงจากพื้นโลกประมาณ 130-1,940กิโลเมตร
• เป็ นดาวเทียมที่ไม่ได้หยุดนิ่งเทียบกับพื้นโลก
(Asynchronous Satellite)
• ใช้ในการสารวจทรัพยากรบนโลกรวมไปถึงดาวเทียม
ด้านอุตนุ ิยมวิทยา