บทที่ 7 - คณะเทคโนโลยีการเกษตร

Download Report

Transcript บทที่ 7 - คณะเทคโนโลยีการเกษตร

Slide 1

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

กระแสนำ้ ในมหำสมุทร
(Ocean Circulation)

1


Slide 2

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

The Forces that Drive Currents
primary force เป็ นแรงที่ทาให้น้ าเคลื่อนตัว ได้แก่
ความเครี ยดของลมที่พดั ผ่านบริ เวณผิวหน้าน้ า, การขยายตัวและ
การหดตัวของมวลน้ าอันเนื่องมาจากอุณหภูม,ิ ความแตกต่าง
ระหว่างความหนาแน่นระหว่างชั้นน้ า
 secondary force ซึ่ งจะเป็ นตัวกาหนดทิศทางการ
เคลื่อนที่ของกระแสน้ า ได้แก่ Coriolis effect, แรงโน้ม
ถ่วงของโลก, แรงเสี ยดทาน และรู ปร่ างของแอ่งมหาสมุทร


2


Slide 3

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

กำรเคลือ่ นตัวของมวลนำ้ ในมหำสมุทร
กระแสน้ าบริ เวณผิวหน้าน้ า (surface current) เป็ นการ
เคลื่อนที่ของน้ าบริ เวณผิวหน้าน้ าในแนวราบ เกิดจากการ
ขยายตัวของน้ าอันเนื่องมาจากอุณหภูมิ และความเสี ยดทานอัน
เนื่องมาจากลม (wind friction) ส่ วนใหญ่จะอยูเ่ หนือ
pycnocline
่ ดั จากชั้น
 Thermohaline circulation อยูถ
pycnocline ลงไป แรงที่ก่อให้เกิดการไหลเวียนคือแรงโน้ม
ถ่วงของโลกที่มีต่อมวลน้ าข้างเคียงซึ่งมีความหนาแน่นที่
แตกต่างกัน และยังมีความสัมพันธ์กบั อุณหภูมิและความเค็ม


3


Slide 4

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Surface current
กระแสน้ าผิวหน้าน้ าในมหาสมุทรจะมีลกั ษณะเป็ นวงเรี ยกว่า
Gyre
 Primary force ที่สาคัญคือ wind friction ของ
แรงลมประจาถิ่นที่พดั ผ่านผิวหน้าน้ า
 Secondary force คือ Coriolis effect, Ekman
transport และ gravity force


4


Slide 5

5


Slide 6

6


Slide 7

7


Slide 8

8


Slide 9

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Ekman transport

9


Slide 10

10


Slide 11

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

มีการศึกษาพบว่าการเคลื่อนตัวของน้ าบริ เวณผิวหน้าที่เกิดจาก
การกระทาของลม จะทาให้น้ าชั้นบนสุ ด (topmost layer)
ของน้ าในมหาสมุทรในซีกโลกเหนือมีการเคลื่อนตัวมีทิศทางไป
ทางขวาของทิศทางลมเป็ นมุมประมาณ 45 องศา ส่ วนน้ าในชั้นที่
ถัดลงมาก็จะมีการเคลื่อนตัวไปทางขวาของน้ าชั้นบนและจะเป็ น
เช่นนี้ไปเรื่ อยๆจนถึงความลึกประมาณ 100 เมตรหรื อ 330 ฟุตที่
บริ เวณ mid latitude

11


Slide 12

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

เมื่อมองโดยรวมจะเห็นได้วา่ ชั้นน้ าในแต่ละชั้นจะสไลด์ตวั ไป
ทางด้านข้างของชั้นน้ าที่อยูเ่ หนือขึ้นไปคล้ายกับการคลี่ไพ่ โดย
ไพ่แต่ละใบจะทามุมไปทางด้านขวามือของไพ่ใบบน ลักษณะ
ของการเคลื่อนตัวดังกล่าวถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาว
สวีเดนซึ่งให้ชื่อการเคลื่อนที่แบบนี้วา่ Ekman spiral

12


Slide 13



ในธรรมชาติ Ekman transport ของน้ าบริ เวณผิวหน้าน้ าใน gyre จะ
มีทิศทางการเคลื่อนตัวของน้ าทามุมน้อยกว่า 90 องศากับทิศทางลมโดยส่ วน
ใหญ่จะเคลื่อนตัวทามุมประมาณ 45 องศา การเบี่ยงเบนที่ผดิ ไปจากทฤษฎีน้ ี
ผลของแรงอื่นๆที่เข้าเกี่ยวข้องคือ coriolis effect, gravity force

13


Slide 14



การเคลื่อนตัวของน้ าบริ เวณผิวหน้าน้ ามีลกั ษณะเป็ นวง โดยจะ
เกิดเนิน (hill) บริ เวณจุดศูนย์กลางค่อนไปทางทิศตะวันตก
โดยมีความสูงมากกว่าขอบด้านนอกของ gyre ประมาณ 2
เมตร

14


Slide 15

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

เมื่อพิจารณาถึงมวลน้ าที่อยูใ่ น gyre จะพบว่ามันจะเคลื่อนตัว
โดยรักษาสมดุลระหว่าง Coriolis effect กับแรงโน้มถ่วง
ของโลกอยูต่ ลอดเวลาจึงทาให้มีวนอยูร่ อบเนินโดยไม่เกิดการ
เบี่ยงเบนเข้าหาจุดศูนย์กลาง

15


Slide 16

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Geostrophic Gyres




การที่น้ าบริ เวณผิวหน้าน้ าในมหาสมุทรเคลื่อนที่เป็ นวง (gyre) โดยมี
สมดุลระหว่าง Coriolis effect และแรงโน้มถ่วงของโลกจะ
เรี ยกว่า geostrophic gyre (geos=Earth,
strophe=turning)
กระแสน้ าที่เคลื่อนตัวใน gyre เรี ยกว่า geostrophic current
ซึ่ง geostrophic gyre นี้ต่างก็อยูอ่ ย่างเป็ นอิสระต่อกันในแต่ละซีก
โลก โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือรู ปแบบหรื อทิศทางการพัดของลม และ
การวางตัวของพื้นทวีป
16


Slide 17

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Geostrophic gyre มีท้งั หมด 5 จุดคือ
North Atlantic gyre
 South Atlantic gyre
 North Pacific Gyre
 South Pacific gyre
 The Indian Ocean gyre
ลักษณะการเคลื่อนตัวของทั้ง 5 วงจะเป็ นแบบปิ ด


17


Slide 18

18


Slide 19

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

West Wind Drift หรื อ Antarctic circumpolar
current ไม่ถือว่าเป็ น geostrophic gyre เนื่องจากมัน
ไม่มีการเคลื่อนตัวรอบแอ่งมหาสมุทร แต่จะเคลื่อนตัวไปรอบๆ
ทวีปแอนตาร์คติกาทางทิศตะวันออกโดย westerly wind
โดยไม่มีส่วนของทวีปมาต้านการเคลื่อนตัวของมวลน้ าแต่อย่าง
ใด

19


Slide 20

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Currents within Gyres
1. Western Boundary Currents ไหลเร็ วที่สุดและมี
ความลึกของมวลน้ ามากที่สุด
 พบบริ เวณขอบทางด้านทิศตะวันตกของแอ่งมหาสมุทร หรื อ
นอกชายฝั่งทางตะวันออกของทวีป

20


Slide 21

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ได้แก่กระแสน้ าอุ่น Gulf stream (North Atlantic
Gyre), the Japan or Kuroshio current (黒
潮) (North Pacific gyre), the Brazil
Current (South Atlantic Gyre), the East
Australian current (South Pacific gyre) และ
the Agulhas Current (the Indian Ocean
gyre)
21


Slide 22

22


Slide 23

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)





ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

หน่วยในการศึกษาปริ มาตรของน้ าที่เคลื่อนตัวไปในกระแสน้ า
จะมีหน่วยเฉพาะคือ Sverdrup (sv) ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ น
เกียรติแก่นกั สมุทรศาสตร์ที่ชื่อ Harald Sverdrup
1 sv จะมีค่าเท่ากับ 1ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

23


Slide 24

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

กระแสน้ าอุ่น Gulf stream มีความเร็ วในการเคลื่อนตัวมาก
ที่สุดคืออย่างน้อย 55 sv (มากกว่าในแม่น้ า อเมซอนซึ่ งเป็ น
แม่น้ าที่ใหญ่ที่สุดในโลก 300 เท่า) และมีผลถึงระดับความลึกที่
1,000 เมตรหรื อมากกว่า
 เนื่ องจากมันเคลื่อนตัวด้วยความเร็ วสู งมวลน้ าจึงไม่มีโอกาส
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพของภูมิอากาศของท้องถิ่นในบริ เวณที่มนั
ไหลไป จึงจัดเป็ นตัวการสาคัญที่มีส่วนในการเคลื่อนย้าย
พลังงานความร้อนจากเขตร้อนสู่ข้วั โลก


24


Slide 25

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

2. Eastern Boundary Currents กระแสน้ าประเภทนี้จะ
ไหลอยูท่ างตะวันออกของขอบมหาสมุทร หรื อทางชายฝั่งด้าน
ตะวันตกของทวีปประกอบไปด้วย
 ได้แก่ the Canary Current (North Atlantic
Gyre), the Bangular Current (South
Atlantic Gyre), the California Current
(North Pacific Gyre), the West Australian
Current ( the Indian Ocean Gyre) และ Peru
or Hamboldt Current (South Pacific Gyre)
25


Slide 26

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

คุณสมบัติของกระแสน้ านี้จะตรงกันข้ามกับ western
boundary current ในเกือบทุกทาง โดยมันจะนาน้ าเย็นให้
เคลื่อนตัวไปยังเส้นศูนย์สูตร กระแสน้ าจะมีความกว้างมาก
บางครั้งอาจกว้างถึง 1,000 กิโลเมตรไม่สามารถจาแนกขอบเขต
ของมวลน้ าได้อย่างชัดเจน และมีอตั ราการเคลื่อนตัวต่า
 ตัวอย่างได้แก่ กระแสน้ าเย็น Canary มีการเคลื่อนตัวเพียง 16
sv หรื อ 2 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง


26


Slide 27

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)







ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Transverse Currents เป็ นกระแสน้ าข้ามมหาสมุทร
ในแนวตะวันออกไปตะวันตก และตะวันตกไปตะวันออก
เกิดจากแรงลมประจาถิ่นโดยลักษณะและทิศทางการเคลื่อน
ตัวจะมีความสัมพันธ์กบั western และ eastern
boundary
ตัวอย่างเช่น North and South Equatorial
Current ในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรแอตแลนติค
ตามลาดับ เกิดจากลมสิ นค้า

27


Slide 28

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

กระแสน้ าดังกล่าวจะตื้นและกว้างเคลื่อนที่ไปทางตะวันตกโดยมี
อัตราการเคลื่อนตัวประมาณ 30 sv

28


Slide 29

29


Slide 30

30


Slide 31

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

 นอกจากนี้ Equatorial

ที่เกิดขึ้นจะมีกระแสน้ าที่ไหล
ในทิศทางตรงกันข้ามอีกซึ่ งจะอยูบ่ ริ เวณเส้นศูนย์สูตร
ประกอบด้วย North and South Equatorial
Countercurrent

31


Slide 32

32


Slide 33

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ปรำกฏกำรณ์ El Nino

33


Slide 34

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ตามปกติลมที่พดั ในบริ เวณตอนกลางของมหาสมุทรแปซิ ฟิกซึ่ ง
อยูใ่ นเขตร้อนนั้น จะพัดจากทิศตะวันออกสู่ทิศตะวันตก
 ลมสิ นค้าจะพัดจากบริ เวณที่มีความกดอากาศสู งซึ่ งก็คือทาง
ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก (อเมริ กากลางและอเมริ กาใต้)
ไปสู่บริ เวณที่มีความกดอากาศต่ากว่าคือทางตะวันตกของ
มหาสมุทรแปซิฟิก (ทางเหนือของทวีปออสเตรเลีย)


34


Slide 35

35


Slide 36

36


Slide 37

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

แต่ในรอบ3-8 ปี จะเกิดความผิดปกติข้ ึนโดยที่ยงั ไม่ทราบเหตุผลที่
แน่ชดั ความกดอากาศจะก่อตัวในลักษณะกลับทิศกัน ความกด
อากาศสูงจะก่อตัวขึ้นที่บริ เวณตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก
ส่ วนความกดอากาศต่ากลับมาก่อตัวขึ้นที่ดา้ นตะวันออกของ
มหาสมุทรแปซิฟิก
 จากความผิดปกติดงั กล่าว ทาให้ทิศทางของลมที่พด
ั ในมหาสมุทร
แปซิฟิกที่อยูใ่ นเขตร้อนพัดกลับทิศจากเดิม โดยพัดจากทิศ
ตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ลมสิ นค้าที่เกิดขึ้นประจาปี ก็จะพัด
อ่อนลงหรื อกลับทิศทาง การเปลี่ยนแปลงความกดอากาศดังกล่าว
เรี ยกว่า Southern Oscillation


37


Slide 38

38


Slide 39

39


Slide 40

40


Slide 41

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ปกติลมสิ นค้าจะพัดพาเอาไอน้ าหรื อความชุ่มชื้นปริ มาณ
มหาศาลเคลื่อนที่ไปด้วยตามแนวเส้นศูนย์สูตรทั้งสองด้านพร้อม
กับการเคลื่อนตัวของกระแสน้ า (Equatorial current)
 เมื่อลมสิ นค้าพัดอ่อนลง Equatorial current ก็จะหยุด
เคลื่อนตัว กระแสน้ าอุ่นที่สะสมอยูท่ างตะวันตกของมหาสมุทร
แปซิฟิกก็เคลื่อนตัวกลับมาทางตะวันออกตามเส้นศูนย์สูตรไปยัง
อเมริ กากลางและอเมริ กาใต้


41


Slide 42

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

การเคลื่อนตัวของกระแสน้ าอุ่นไปทางตะวันออกมักจะมาถึง
บริ เวณใกล้กบั ชายฝั่งของอเมริ กาใต้ในช่วงวันคริ สต์มาส จึงให้
ชื่อกระแสน้ าดังกล่าวว่า El Nino เป็ นภาษาสเปนแปลว่า
พระบุตร ซึ่งหมายถึงพระเยซู
 ปรากฏการณ์ Southern Oscillation และ El Nino
มักเกิดควบคู่กนั ดังนั้นจึงนิยมเรี ยกว่า ENSO ผลกระทบที่
เกิดขึ้นไม่เฉพาะในมหาสมุทรแปซิฟิกเท่านั้นแต่มีผลกระทบไป
ยังมหาสมุทรต่างๆทัว่ โลก ที่อยูใ่ นเขตที่ลมสิ นค้าพัดผ่าน


42


Slide 43

43


Slide 44

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ตามปกติกระแสน้ าเย็นจะนาธาตุอาหารขึ้นมาบนผิวน้ าโดยมา
จากทางเหนือและทางตะวันตกของทวีปอเมริ กาใต้ เมื่อเกิด
ปรากฏการณ์ ENSO กระแสน้ าอุ่นที่ไหลกลับมาก็จะมาพบ
กับกระแสน้ าเย็นดังกล่าวทาให้เกิดผลผลิตทางชีวภาพสู งขึ้นมาก
ส่ งผลให้ปริ มาณสัตว์น้ าในบริ เวณดังกล่าวชุกชุมบริ เวณนอก
ชายฝั่งของประเทศเปรู และชิลี

44


Slide 45

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Wind-Induce Vertical Circulation

45


Slide 46

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Upwelling
 เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมีลมพัดขนานกับชายฝั่งโดยฝั่งอยู่
ทางซ้ายมือของทิศทางลม ผลจาก Coriolis effect จะทา
ให้มวลน้ าเคลื่อนตัวออกจากฝั่งในแนวตั้งฉากกับทิศทางของลม
ทาให้น้ าในที่ลึกเคลื่อนขึ้นมาแทนน้ าที่ถูกพัดพาออกไป การ
เคลื่อนตัวนี้จะเป็ นไปอย่างช้าๆ น้ าจากที่ลึกจะมีธาตุอาหารอุดม
สมบูรณ์ เมื่อเคลื่อนที่ข้ ึนมาทาให้บริ เวณดังกล่าวมีผลผลิตทาง
ชีวภาพสูง
46


Slide 47

47


Slide 48

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Downwelling
 เป็ นการจมตัวลงของมวลน้ าลงสู่ ดา้ นล่าง ซึ่ งจะเกิดขึ้นเมื่อมีลม
พัดผ่านผิวหน้าน้ าบริ เวณชายฝั่ง โดยมีทิศขนานกับฝั่งและชายฝั่ง
อยูท่ างขวามือ ผลจาก Coriolis effect จะทาให้มีการพัดพา
มวลน้ าไปในแนวตั้งฉากกับทิศทางลมเข้าสู่ฝั่ง แล้วจมตัวลง การ
เคลื่อนตัวดังกล่าวไม่มีผลใดๆต่อผลผลิตทางชีวภาพในทะเล

48


Slide 49

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Thermohaline Circulation

49


Slide 50

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

ถัดจากชั้น pycnocline ลงไปก็ยงั มีการเคลื่อนตัวของมวล
น้ าทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่ง การเคลื่อนตัวนี้จะเป็ นไปอย่าง
ช้าๆซึ่งเป็ นผลมาจากความแตกต่างระหว่างความหนาแน่นของ
มวลน้ า
 เนื่ องจากความหนาแน่นเป็ นปั จจัยสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิและความเค็มของน้ าทะเล การเคลื่อนตัวของมวลน้ าอัน
เนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างความหนาแน่นจะเรี ยกว่า
thermohaline circulation (thermo = heat ;
halos = salt)


50


Slide 51

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Water Mass




น้ าในมหาสมุทรนั้นจะมีการแบ่งชั้นแยกออกจากกันตามความหนาแน่น
มวลน้ าแต่ละส่ วนนี้จะมีอุณหภูมิและความเค็มเฉพาะของมันเองในแต่ละ
ชั้น ซึ่งจะสามารถจาแนกได้อย่างชัดเจนในเขตร้อนและเขตอบอุน่
เนื่องจากอุณหภูมิที่ผวิ หน้าน้ าและส่ วนที่ลึกลงไปมากๆจะมีความแตกต่าง
กันสูง
เนื่องจากมวลน้ ามีคุณสมบัติเฉพาะตัวของมันเอง ดังนั้นจึงไม่เกิดการผสม
กับมวลน้ าอื่นๆได้ง่ายนักเมื่อมาเจอกัน ส่ วนใหญ่จะอยูแ่ ยกชั้นกันโดยอาจ
จมตัวลงหรื ออยูเ่ หนือมวลน้ าที่มาพบกัน ในการจาแนกชนิดของมวลน้ า
นักสมุทรศาสตร์จะจาแนกตามตาแหน่งที่มนั อยู่ โดยในเขตร้อนและเขต
อบอุ่นจะสามารถจาแนกมวลน้ าได้ดงั นี้
51


Slide 52

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)









ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Surface water ตั้งแต่ผวิ หน้าน้ าจนถึงความลึก 200 เมตร
Central water จนถึงส่ วนล่างสุ ดของชั้น thermocline
(ต่างกันไปตามละติจูด)
Intermediate water ถึงความลึกประมาณ 1,500 เมตร
Deep water ชั้นน้ าที่ต่าลงไปจาก intermediate water แต่
ยังไม่ติดต่อกับพื้นทะเล อาจถึงระดับความลึกประมาณ 4,000 เมตร
Bottom water ชั้นน้ าที่ติดต่อกับพื้นทะเล

52


Slide 53

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

The Temperature-Salinity Diagram
เป็ นวิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในการแยกชั้นน้ า เป็ นการสร้างกราฟ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความเค็มของมวลน้ า
ในแต่ละชั้น
่ บั ตาแหน่งและ
 รู ปร่ างของเส้นดังกล่าวในบริ เวณใดๆจะขึ้นอยูก
คุณสมบัติของมวลน้ า


53


Slide 54

54


Slide 55

55


Slide 56

56


Slide 57

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)

ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

Formation and Downwelling of Deep water mass


Antarctic Bottom Water จัดเป็ นมวลน้ าที่แตกต่างไป
จาก deep water mass อื่นๆ จัดเป็ นมวลน้ าที่มีความ
หนาแน่นมากที่สุดของโลก มวลน้ าดังกล่าวส่ วนใหญ่มาจากใกล้
ชายฝั่งของทวีปแอนตาร์คติก และมีการเคลื่อนตัวขึ้นไปทาง
เหนือตามพื้นของมหาสมุทร

57


Slide 58

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

มวลน้ านี้เกิดขึ้นในช่วงฤดูหนาวบริ เวณทะเล Weddell น้ า
ทะเลที่แข็งตัวจะมีเกลืออยูป่ ระมาณ 15 เปอร์ เซ็นต์เท่านั้นทาให้
น้ าทะเลที่อยูร่ อบๆน้ าแข็งมีความเค็มจัด (brine) โดยประมาณ
ว่าน้ าทะเลที่เค็มจัดนี้จะเกิดขึ้น 20-50 ล้านลูกบาศก์เมตรทุกๆ
วินาที น้ าทะเลดังกล่าวจะจมตัวลงสู่พ้นื ท้องทะเล

58


Slide 59

59


Slide 60

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

เมื่อมวลน้ าจมตัวลงที่พ้นื ท้องทะเลบริ เวณไหล่ทวีปแอนตาร์คติก
ก็จะเคลื่อนตัวไปทางเหนือด้วยความเร็ วที่ชา้ กว่าการเคลื่อนตัว
ของน้ าบริ เวณผิวหน้าน้ าหลายเท่า โดยจะเคลื่อนตัวเข้าไปทั้งใน
มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติค มีการคานวณว่า
Antarctic Bottom Water นี้จะใช้เวลาประมาณ 1,000
ปี จึงจะเคลื่อนตัวถึงเส้นศูนย์สูตร

60


Slide 61

61


Slide 62

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)





ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

deep water mass ยังสามารถเกิดในบริ เวณที่มีความเค็มสูงๆอัน
เนื่องมาจากอัตราการระเหยของน้ าทะเลมากกว่าปริ มาณน้ าท่า
(precipitaion) และน้ าในแม่น้ าที่ไหลลงไป
ตัวอย่างเช่นในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งมีอตั ราการระเหยของน้ าทะเล
มากกว่าน้ าจืดที่ไหลเข้าสู่ทะเล ในฤดูร้อนและฤดูหนาวน้ าในผิวหน้าน้ า
ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะมีความเค็มถึง 38 ppt ก็จะจมตัวลงและ
เคลื่อนที่ผา่ นช่องแคบยิบรอลต้าออกไปยังมหาสมุทรแอตแลนติคในรู ป
ของมวลน้ าที่มีชื่อว่า Merditerranean Deep Water

62


Slide 63

63


Slide 64

วิทยาศาสตร์ทางน้ าเบื้องต้น (Introduction to Aquatic Science)



ดร.มณฑล แก่นมณี คณะเทคโนโลยีการเกษตร | KMITL

มวลน้ าดังกล่าวนี้จะอยูใ่ ต้ central water mass ของ
มหาสมุทรแอตแลนติค และบางส่ วนซึ่งน้อยมากสามารถเคลือ่ น
ตัวไปทางใต้เข้าสู่แอ่งมหาสมุทรแอนตาร์คติดด้วย

64


Slide 65

65