การสื่อสารข้อมูล con`t

Download Report

Transcript การสื่อสารข้อมูล con`t

บทที่ 6 ระบบการสื่ อสารข้ อมูลและเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
การสื่ อสารข้ อมูล (Data Communication)
เป็ นการแลกเปลี่ยนข่าวสาร หรื อ ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
สื่ อสาร โดยมีสื่อ (Medium) เป็ นตัวกลางในการโอนถ่ายข้อมูลกัน โดยอาศัย
ทั้งฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software)
การสื่ อสารข้ อมูล con’t
การสื่ อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง การรับ – ส่ ง โอนย้าย
หรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่ อนา
ข้อมูล
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การนาเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไปมาเชื่อมต่อเพื่อใช้ในการสื่ อสารข้อมูล
องค์ ประกอบของการสื่ อสาร
1. ข้อมูลข่าวสาร (Message) เช่น ข้อความ ตัวเลข ภาพ เสี ยง หรื อวีดีโอ
เป็ นต้น
2. ผูส้ ่ ง (Sender) อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่ งข้อมูล
3. ผูร้ ับ (Receiver) อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับข้อมูล
4. สื่ อที่ใช้ในการส่ ง (Medium) เป็ นสื่ อกลางที่ใช้ในการนาส่ งข้อมูลระหว่าง
ผูส้ ่ งและผูร้ ับ เช่น สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) สายเคเบิลโคแอกเซียล (Coaxial Cable) เป็ นต้น
5. โปรโตคอล (Protocol) เป็ นกฎหรื อข้อกาหนดของการสื่ อสาร
องค์ ประกอบของการสื่ อสาร con’t
PROTOCOL
MESSAGE
SENDER
MEDIUM
RECEIVER
การส่ งสั ญญาณข้ อมูล
การส่ งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่ งข้อมูลหรื อข่าวสารต่างๆ จากอุปกรณ์
สาหรับส่ งหรื อผูส้ ่ ง ผ่านทางตัวกลางหรื อสื่ อกลางไปยังอุปกรณ์รับหรื อผูร้ ับ
ข้อมูล ซึ่ งข้อมูลหรื อข่าวสารที่ส่งไปอาจจะอยูใ่ นรู ปของสัญญาณเสี ยง คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าหรื อแสงก็ได้
โดยที่สื่อกลางแบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. ชนิดที่สามารถกาหนดเส้นทางสัญญาณได้ เช่น สายเกลียวคู่ (Twisted
paired) สายโทรศัพท์ สายโอแอกเชียล (Coaxial) สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)
2. ชนิดหนึ่งนั้นไม่สามารถกาหนดเส้นทางของสัญญาณได้ เช่น สุ ญญากาศ
น้ า และ ชั้นบรรยากาศ เป็ นต้น
ทิศทางการส่ งข้ อมูล
แบ่งได้ 3 รู ปแบบ คือ
การสื่ อสารแบบทางเดียว หรื อ การสื่ อสารแบบซิมเพล็กซ์ (One-way
communication; Simplex)
การสื่ อสารแบบทางใดทางหนึ่ง หรื อ การสื่ อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (Eitherway communication; Half-duplex)
การสื่ อสารแบบสองทิศทาง หรื อ การสื่ อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Both-way
communication; Full-duplex)
การสื่ อสารแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex)
ตัวกลางในการส่ งข้อมูลนั้น มีช่องสัญญาณ (Channel) ให้ขอ้ มูลผ่านได้ช่องเดียวหรื อ
หลายช่อง แต่ในทิศทางเดียว เช่น การกระจายเสี ยงของสถานีวิทยุต่างๆ การส่ งน้ าตามท่อ
การแพร่ ภาพทางโทรทัศน์ เป็ นต้น
การสื่ อสารแบบฮาล์ ฟดูเพล็กซ์ (Half-duplex)



ผูส้ ่ งและผูร้ ับสามารถทาหน้าที่รับส่ งข้อมูลได้
แต่ไม่สามารถกระทาพร้อมกันได้
เช่น วิทยุสื่อสารในรถตารวจ
การสื่ อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-duplex)
ผูส้ ่ งและผูร้ ับสามารถรับส่ งข้อมูลพร้อมๆ กันได้
 ใช้สื่อในการส่ งข้อมูลร่ วมกัน โดยจะแบ่งช่องสัญญาณชัดเจน
 เช่น ระบบการจราจรสองทางที่รถสามารถวิ่งสวนทางกันได้

ทิศทางการส่ งข้ อมูล
ชนิดของสั ญญาณ
แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด
1. สั ญญาณแบบอนาลอก เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่องที่ทุกๆ ค่าที่เปลี่ยนแปลงไปของระดับ
สัญญาณมีความหมาย ถ้าถูกรบกวนจะทาให้มีความหมายผิดพลาดได้ง่าย
ชนิดของสั ญญาณ con’t
เมื่อระยะห่างไกลออกไปจะทาให้สญ
ั ญาณไม่ค่อยดี แก้ไขโดยใช้เครื่ องขยาย
สัญญาณ (Amplifier) แต่กท็ าให้เกิดสัญญาณรบกวน (Noise) ขึ้น ยิง่ ระยะไกล
มากขึ้นสัญญาณรบกวนก็เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถแก้ไขสัญญาณรบกวนนี้ได้โดย
ใช้เครื่ องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวนออกไป
ชนิดของสั ญญาณ con’t
2. สั ญญาณแบบดิจิตอล มีระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสู งสุ ด/1และ
สัญญาณระดับต่าสุ ด/0 มีประสิ ทธิ ภาพและความน่าเชื่อถือสู งกว่าอนาลอก เป็ น
สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ ใช้ทางานและติดต่อสื่ อสารกัน
รู ปสัญญาณดิจิตอล
ชนิดของสั ญญาณ con’t
ในทานองเดียวกันกับการส่ งสัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทาง
ในการส่ งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยใช้
อุปกรณ์ทาสัญญาณซ้ า หรื อรี พีตเตอร์ (Repeater)
ปัจจุบนั การส่ งสัญญาณแบบดิจิตอลจะเข้ามามีบทบาทสูงในการสื่ อสาร
ข้อมูล เนื่องจากให้ความถูกต้องชัดเจนของข้อมูลสูง และส่ งได้ในระยะไกลด้วย
สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ได้ง่ายด้วย
รูปแบบของการเชื่อมต่ อเพือ่ การสื่ อสารข้ อมูล
1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point Line)
 เป็ นการเชื่ อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสารสองตัวเท่านั้น
 สามารถส่ งข้อมูลอ่านสื่ อได้อย่างเต็มความสามารถ เพราะทั้งสื่ อส่ งและรับ
ทางานให้เฉพาะ 2 อุปกรณ์น้ ีเท่านั้น
 เส้นทางสื่ อสารจะถูกจองสาหรับการส่ งระหว่าง 2 อุปกรณ์ตลอดเวลา
ั เครื่ องพิมพ์ หรื อการจองสายโทรศัพท์
 ตัวอย่างเช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ กบ
(lease line) สาหรับใช้ในระบบ ATM (Automatic Teller Machine)
รูปแบบของการเชื่อมต่ อเพือ่ การสื่ อสารข้ อมูล con’t
รูปแบบของการเชื่อมต่ อเพือ่ การสื่ อสารข้ อมูล con’t
2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด(Multipoint or Multidrop)
เป็ นการเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารมากกว่า 2 ตัว
มีการใช้สื่อส่ งข้อมูลร่ วมกัน โดยถูกแบ่งด้วยเวลาหรื อวิธีการอื่นที่เหมาะสม
เหมาะสาหรับการส่ งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องและมีจานวนข้อมูลไม่มากนัก
รูปแบบของการเชื่อมต่ อเพือ่ การสื่ อสารข้ อมูล con’t
การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสลับช่ องทาง
รู ปแบบการเชื่อมต่อเดิมเป็ นแบบจุดซึ่ งต้องต่อสายสื่ อสารไว้ตลอดเวลา แต่ในทาง
ปฏิบตั ิจริ งแล้วการสื่ อสารข้อมูลไม่ได้ผา่ นตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดในการเชื่อมต่อ
เครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารหรื อเครื อข่ายสวิตซ์ชิ่ง เพื่อเพิม่ ประสิ ทธิภาพของการ
เชื่อมต่อเครื อข่ายแบบจุดต่อจุดให้สามารถใช้สื่อสารได้มากที่สุด
เครื อข่ายแบบสลับช่องทางการสื่ อสารที่เห็นโดยทัว่ ไปมี 4 รู ปแบบดังนี้
 เครื อข่ายสื่ อสารโทรศัพท์ (The Telephone Network)
 เครื อข่ายสื่ อสารเทลเล็กช์ (The Telex/TWX Network)
 เครื อข่ายสื่ อสารแพคเกตสวิตซ์ชิ่ง(Package Switching Network)
 เครื อข่ายสื่ อสารสเปเซี ยลไลซ์ ดิจิตอล(Specialized Digital Network)
ช่องทางการสื่ อสารข้อมูล
ความเร็ วในการสื่ อสารข้อมูลขึ้นอยูก่ บั
1. ความกว้าง (Bandwidth) ของช่องสัญญาณ
2. ชนิดของข้อมูล
แบ่งช่องทางการติดต่อสื่ อสารได้เป็ น 2 ชนิด คือ
1. ช่องทางการสื่ อสารแบบมีสาย (Physical Wire)
2. ช่องทางการสื่ อสารแบบไร้สาย (Wireless)
สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)





เป็ นสายทองแดง ถูกพันกันตามมาตรฐาน หุ ม้ ด้วยฉนวนพลาสติก
ส่ งข้อมูลได้ท้ งั สัญญาณ Digital และ Analog
ราคาไม่แพง
ส่ งข้อมูลได้ดี
น้ าหนักเบา
สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)
แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
1. แบบไม่มีฉนวนหุ ม้ (UTP, Unshielded Twisted Pair)
2. แบบมีฉนวนหุม้ (STP, Shielded Twisted Pair)
สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)
ข้อดี
 ราคาถูก
 มีน้ าหนักเบา
 ง่ายต่อการใช้งาน
ข้อเสี ย
 มีความเร็ วจากัด
ั ระยะทางสั้นๆ
 ใช้กบ
สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)



ใช้งานมาก โดยเฉพาะใช้เป็ นสาย
เคเบิลทีวีตามบ้าน
สายทาด้วยทองแดงอยูแ่ กนกลาง
หุ ม้ ด้วยพลาสติก มีชิลด์ห่อหุม้ อีก
ชั้นหนึ่งเพื่อป้ องกันสัญญาณ
รบกวน
หุ ม้ ด้วยเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่ง
ป้ องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าได้ดี
สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)
แบ่งตามลักษณะของสายออกเป็ น 2 ชนิด คือ
1. Thin Co-ax/10Base2
2. Thick Co-ax/10Base5
Thin Coaxial
Thick Coaxial
สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)
ข้อดี
 เชื่อมต่อได้ในระยะไกล
 ป้ องกันสัญญาณรบกวนได้ดี
ข้อเสี ย
 มีราคาแพง
 สายมีขนาดใหญ่
 ติดตั้งยาก
เส้นใยนาแสง (Optical Fiber)


สัญญาณ Digital (0,1) ถูกแปลง
เป็ นสัญญาณแสง
ใช้แท่งแก้วลักษณะทรงกระบอก
ส่ งผ่านสัญญาณ
เส้นใยนาแสง (Optical Fiber)
Optical Fiber ประกอบด้วยเส้นแก้วบางเป็ นแกนนาแสงที่เรี ยกว่า core ถูก
หุ ้ม (cladding) ด้วยแก้วที่ มีคุณสมบัติการหักเหต่า และถูกห่ อหุ ้มด้วยเปลือก
(Coat) เพื่อป้ องกันแสงออกไปข้างนอก และหุ ้มด้วยเปลือกอีกชั้นเพื่อป้ องกัน
อันตรายที่จะเกิดกับตัวสายเคเบิล
เส้นใยนาแสง (Optical Fiber)
การส่ งข้อมูลผ่านเส้นใยนาแสง ประกอบด้วย 3 ส่ วน คือ
1. อุปกรณ์กาเนิดแสง LED (Light Emitting Diode; Laser Diode)
2. อุปกรณ์ตรวจรับแสงเป็ นโฟโต้ไดโอด (Photodiode)
3. ตัวกลาง
เป็ นการสื่ อสารแบบ Simplex
ส่ งข้อมูลด้วยอัตราส่ งสูง (Bandwidth กว้าง)
เส้นใยนาแสง (Optical Fiber)
ข้อดี
 ส่ งข้อมูลปริ มาณเยอะๆ ได้เร็ วมาก
 ไม่ถก
ู รบกวนจากคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ า เนื่องจาก
เส้นใยนาแสงเป็ นสารอโลหะ
 ขนาดเล็ก น้ าหนักเบา
 มีความปลอดภัยสู ง
ข้อเสี ย
 เส้นใยแก้วมีความเปราะบาง
แตกหักง่าย
 มีราคาสู ง เมื่อเทียบกับสายเคเบิล
ทัว่ ไป
 การติดตั้งจาเป็ นต้องพึ่งพา
ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะ
คลื่นวิทยุ (Radio Wave)



เป็ นสัญญาณคลื่นวิทยุ (คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า)
ถูกสภาพแวดล้อมรบกวนข้อมูลได้ง่ายในกรณี ที่สภาพอากาศไม่ดี
สามารถส่ งข้อมูลได้ระยะทางไกล หรื อใช้ในกรณี ที่สภาพภูมิ
ประเทศไม่เอื้ออานวยในการใช้สายส่ งข้อมูล
คลื่นวิทยุ (Radio Wave)
ข้อดี
 การจัดการรับสัญญาณมีความ
ยืดหยุน่ สู งกว่าสายสัญญาณ
ข้อเสี ย
 ความเร็ วในการส่ งข้อมูลน้อย
 ถูกรบกวนและดักจับสัญญาณง่าย
คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)




ใช้คลื่นความถี่สูง เพือ่ ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณอื่น
สัญญาณจะอ่อนลงหรื อหักเหได้กรณี ที่อากาศร้อนจัด, พายุฝน
ต้องมีหอส่ งสัญญาณและหอรับสัญญาณซึ่งอยูห่ ่างกันไม่เกิน 50 กม. ถ้าห่าง
กันมาก ๆ ต้องมีสถานีทวนสัญญาณ
สามารถส่ งข้อมูลปริ มาณมากได้ดี
คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)
ข้อดี
 เป็ นระบบไร้สาย (wireless)
 ไม่ตอ
้ งขุดท่อเพื่อวางสาย
 ไม่มีปัญหาเรื่ องสายขาด
 ใช้คลื่นความถี่ในช่วง 2.40002.484 GHz. ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้
ความถี่ให้รัฐ
ข้อเสี ย
 ถูกรบกวนง่ายจากคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ า
 ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเสาและจาน
ส่ งมีราคาแพง
 ถูกดักจับสัญญาณได้ง่าย
ดาวเทียม (Satellite)


คล้ายจานไมโครเวฟขนาดใหญ่ ที่อยูเ่ หนือพื้นโลก ติดต่อสื่ อสาร
กับสถานีภาคพื้นดิน ที่มีจานรับสัญญาณไมโครเวฟเหมือนกัน
โคจรอยูเ่ หนือพื้นดิน 36,000 กม. หมุนด้วยความเร็ วเท่ากับ
ความเร็ วของโลกหมุนรอบตัวเอง เรี ยกว่า ดาวเทียมค้างฟ้ า
ดาวเทียม (Satellite)
ข้อดี
 สามารถส่ งข้อมูลปริ มาณมากๆ ได้
รวดเร็ ว
ข้อเสี ย
 ค่าใช้จ่ายสู งมาก
 ถูกดักสัญญาณได้ง่าย
หลักในการพิจารณาเลือกสื่ อนาข้อมูล
ในการเลือกสื่ อนาข้อมูล ควรคานึงถึงคุณสมบัติดงั นี้
1. ราคา
2. ความเร็ ว
3. ระยะทาง
4. สัญญาณรบกวนที่อาจเกิดขึ้น
5. ความปลอดภัยของข้อมูล
ตารางเปรี ยบเทียบของสื่ อนาข้อมูล
สื่ อนาข้ อมูล
ราคา
ความเร็ว ระยะทาง
Noise
ความ
ปลอดภัย
ต่า
UTP
ถูก
1-100M
ใกล้
สูง
STP
ปานกลาง
1-150M
ใกล้
ปานกลาง ต่า
Coaxial
ปานกลาง
1M-1G
ปานกลาง ปานกลาง ต่า
Fiber Optic
แพง
10M-2G
ไกล
ต่า
สูง
Radio Wave
ปานกลาง
1-10M
ใกล้-ไกล สูง
ต่า
Microwave
แพง
1M-10G
ไกล
สูง
ปานกลาง
Satellite
แพง
1M-10G
ไกล
สูง
ปานกลาง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
โมเด็ม เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถรับ-ส่ ง
ข้อมูลระหว่างกันได้โดยผ่านทางอินเตอร์เน็ต
แปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ สัญญาณ
อนาลอก ขั้นตอนนี้เรี ยกว่า Modulation
แปลงสัญญาณอนาลอกสัญญาณดิจิตอล ขั้นตอนนี้
เรี ยกว่า Demodulation
การทางานของโมเด็ม
คอมพิวเตอร์
สั ญญาณดิจิตอล
โมเด็ม
สายโทรศัพท์
สั ญญาณอนาล็อก
โมเด็ม
คอมพิวเตอร์
สั ญญาณดิจิตอล
Modem
โมเด็มภายนอก (External Modem)
ติดตั้งง่าย
ราคาแพง
โมเด็มภายใน (Internal Modem)
 ราคาถูก
 ติดตั้งยุง่ ยาก
Switching Hub
เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่กระจายสัญญาณให้เครื่ องคอมพิวเตอร์หลายเครื่ องเชื่อมต่อกันได้
นิยมใช้กบั ระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) ราคาต่า
เกตเวย์ (Gateway)
ใช้เชื่อมต่อ LAN ที่ต่างโปรโตคอล, ต่าง Media กันได้
 ใช้เชื่ อมต่อ LAN ที่ต่างสถาปั ตยกรรมกันได้
 จะใช้ Routing Table และมักมีฟังก์ชน
ั่ Firewall ด้วย
่ ยากและซับซ้อนมาก
 ราคาแพง การติดตั้งยุง
 ปกติมก
ั เป็ น Software ที่ติดตั้งบนเครื่ องคอมพิวเตอร์
 ทางานในระดับ Transport ถึง Application Layer

Bridge
ใช้ยดื ระยะเครื อข่าย และ
แบ่งแยกการจราจรของข้อมูลใน

Segment
 เป็ นอุปกรณ์ใช้เชื่อมต่อวง
LAN 2 วงเข้าด้วยกัน
Bridge
Router
เป็ นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อระบบ
เครื อข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน
 คล้ายกับบริ ดจ์ แต่มีส่วนการทางาน
ที่ซบั ซ้อนมากกว่าบริ ดจ์มาก

มี Routing Table เก็บเส้นทาง
การเชื่อมโยงระหว่างแต่ละเครื อข่าย
 สามารถเชื่อมต่อเครื อข่ายที่มี
โปรโตคอลแตกต่างกันได้

Repeater
ใช้สาหรับส่ งสัญญาณซ้ า เพื่อส่ งสัญญาณในระยะไกล
ป้ องกันการขาดหายของสัญญาณ

เครือข่ าย
เครื อข่าย หมายถึง กลุ่มของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ถูกนามาเชื่อมต่อกัน
ประกอบด้วยสื่ อการติดต่อสื่ อสาร อุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ที่จาเป็ นในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์
ตั้งแต่ 2 ระบบเข้าด้วยกัน รวมทั้งอุปกรณ์อื่นๆ
ความจาเป็ นในการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีเหตุผลดังนี้
1) ให้การทางานมีความคล่องตัว ยืดหยุน่ และปรับตัวให้เข้ากับเงื่อนไขต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลง
ไปอย่างรวดเร็ว
2) ประหยัดงบประมาณโดยช่วยสนับสนุนการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน เช่น
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล
3) ทาให้พนักงานหรื อทีมงานของหน่วยงานที่อยูห่ ่างไกลกันสามารถใช้เอกสารร่ วมกัน
4) สร้างการติดต่อสื่ อสารระหว่างหน่วยงานกับลูกค้าหรื อองค์การภายนอกมีความใกล้ชิดกัน
มากยิง่ ขึ้น
ประเภทของเครื อข่าย
หากแบ่งเครื อข่ายออกตามอาณาเขตที่ครอบคลุมแล้ว แบ่งได้ 3 ประเภท
คือ
1. แวน (WAN)
2. แมน (MAN)
3. แลน (LAN)
WAN (Wide Area Network)


ขอบเขตกว้างไกลครอบคลุมทัว่
ประเทศและระหว่างประเทศ
อัตราการส่ งข้อมูลไม่สูงนัก
(<1Mbps)
MAN (Metropolitan Area Network)



ขอบเขตครอบคลุมทั้งตัวเมือง
การส่ งข้อมูลเป็ นลักษณะ
แพร่ กระจาย
เช่น การแพร่ ภาพด้วยระบบเคเบิล
ทีวี
LAN (Local Area Network)




เครื อข่ายเฉพาะที่ ครอบคลุมไม่กว้าง
อัตราการส่ งข้อมูลสู ง
เช่น ภายในอาคาร ภายในมหาวิทยาลัย
หากต้องการเชื่อมต่อกับเครื อข่าย
สาธารณะภายนอก จะต้องมีเกตเวย์เพื่อ
ทาหน้าที่เป็ นเหมือนประตูติดต่อระหว่าง
เครื อข่ายที่แตกต่างกัน
WAN/MAN/LAN
Topology of Network
รู ปแบบการเชื่อมต่อของเครื อข่าย หรื อ Topology เป็ นลักษณะ
ทัว่ ไปของเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทางกายภาพ ว่ามีรูปร่ างหน้าตาอย่างไร
เพื่อให้สามารถสื่ อสารร่ วมกันได้ ปกติโทโพโลยีที่นิยมใช้กบั เครื อข่าย
มีอยู่ 3 ชนิด
1. Bus
2. Star
3. Ring
Bus Topology
เป็ นรู ปแบบการเชื่อมต่อที่ใช้ช่องทางการสื่ อสารร่ วมกัน
ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อบนบัส หรื อสายเคเบิล ที่ทา
หน้าที่เหมือนกับ backbone
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ จะเชื่อมเข้ากับสายเคเบิลหลักเพียง
เส้นเดียว เปรี ยบเหมือนราวตากผ้าที่มีการนาไม้แขวนเสื้ อไปตากบน
ราว
Bus Topology
Bus Topology
+ เป็ นโครงสร้างที่ไม่ซบั ซ้อน
ติดตั้งง่าย
+ ง่ายต่อการเพิม่ จานวนโหนด
+ ประหยัดสายส่ งข้อมูล เนื่องจาก
ใช้สายส่ งหลักเพียงเส้นเดียว
- หากสายเคเบิลที่เป็ นแกนหลัก
ขาด จะส่ งผลให้เครื อข่ายต้อง
หยุดชะงักทันที
- กรณี ระบบเกิดข้อผิดพลาดใดๆ
จะหาข้อผิดพลาดได้ยาก
- ระยะห่างระหว่างโหนดต้องมี
ระยะห่างตมข้อกาหนด
Star Topology
เริ่ มต้นมาจากเครื อข่ายที่มีการเชื่อมต่อกับเครื่ องเมนเฟรม ซึ่งจะทา
หน้าที่เป็ นศูนย์กลาง และมีเทอร์มินลั ทาหน้าที่เป็ นลูกข่าย
แต่สาหรับเครื อข่ายท้องถิ่นได้มีการนามาประยุกต์ใช้ โดย
คอมพิวเตอร์ทุกโหนดจะเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ซึ่งในที่น้ ี คือ Hub ซึ่ง
ปกติ Hub ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลจากผูส้ ่ งไปยังปลายทางที่ตอ้ งการ
Star Topology
Star Topology แบบเชื่อมต่อกับ Mainframe
Star Topology แบบเชื่อมต่อกับ Hub
Star Topology
ในการนา Hub มาใช้งานก็เพื่อกรณี หากสายสื่ อสารแต่ละโหนดเกิด
ขาดหรื อถูกทาลาย ก็จะไม่ส่งผลต่อระบบโดยรวม
แต่ถา้ หากคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลางหรื อ Hub เสี ยหาย
เครื อข่ายบนเซกเมนต์น้ นั จะใช้งานไม่ได้ท้ งั หมด
Star Topology
Star Topology
+ มีความคงทนสูง
+ ง่ายต่อการจัดการและการบริ การ
เนื่องจากจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่ Hub
- ใช้สายเคเบิลมากเท่ากับจานวน
เครื่ องที่เชื่อมต่อ
- การเพิม่ โหนดใหม่ จะต้องมี
พอร์ ตเพียงพอในการเชื่อมต่อ
- เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่
Hub หากเกิดขัดข้องหรื อเสี ยหาย ทั้ง
ระบบจะใช้งานไม่ได้
Ring Topology
โหนดต่างๆ มีการเชื่อมต่อกันด้วยสายสัญญาณจากโหนดหนึ่งไปยัง
โหนดหนึ่งต่อกันเรื่ อยๆ จนกระทัง่ โหนดแรกและโหนดสุ ดท้ายมีการ
เชื่อมโยงกัน เป็ นลักษณะลูปวงกลมหรื อแบบวงแหวน
ทิศทางการส่ งสัญญาณภายในสายจะเป็ นทิศทางเดียวกัน ด้วยการส่ ง
สัญญาณต่อกันไปเป็ นทอดๆ ดังนั้นแต่ละโหนดจึงมีการทวนสัญญาณ
แล้วส่ งต่อไปเรื่ อยๆ เมื่อปลายทางได้รับข้อมูลเรี ยบร้อยแล้วก็จะทาการ
แจ้งไปยังโหนดอื่นๆ ว่าสายว่าง และพร้อมที่จะส่ งข้อมูลชุดใหม่
Ring Topology
Ring Topology
+ แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาส
ที่จะส่ งข้อมูลได้เท่าเทียมกัน
+ ประหยัดสายสัญญาณ โดยจะใช้
สายสัญญาณเท่ากับจานวนโหนดที่
เชื่อมต่อ
+ ง่ายต่อการติดตั้ง และการเพิ่ม/
ลบจานวนโหนด
- หากวงแหวนเกิดการเสี ยหาย จะ
ส่ งผลต่อระบบทั้งหมด
- ยากต่อการตรวจสอบ ในกรณี ที่
โหนดใดโหนดหนึ่ งเกิดการขัดข้อง
ต้องตรวจสอบทีละจุด