ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)

Download Report

Transcript ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)

Slide 1

ดาวเคราะห์ น้อย (Asteroids)


Slide 2

• ดาวเคราะห์ น้อยเป็ นวัตถุขนาดเล็กซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบ
สุริยะ มีวงโคจรเป็ นวงรีอยู่ระหว่ างดาวอังคารและดาวพฤหัส


Slide 3

• ดาวเคราะห์ น้อยถูกค้ นพบเป็ นครัง้ แรกโดย Giuseppe Piazzi
เมื่อเดือน มกราคม 1801 โดยเข้ าใจว่ าเป็ นดาวหาง แต่ เมื่อ
ศึกษาต่ อมาถึงลักษณะวงโคจร จึงเข้ าใจว่ า เป็ นดาวเคราะห์
ขนาดเล็ก จึงเรียกชื่อว่ า Ceres (เทพีแห่ งพืชพันธ์ ) ในระยะ
ต่ อมา ดาวเคราะห์ น้อยอีก 3 ดวง (Pallas, Vesta, และ Juno)
จึงถูกค้ นพบ เมื่อสิน้ สุดศตวรรษที่ 19 มีดาวเคราะห์ น้อยอีก
หลายร้ อยดวงถูกค้ นพบ


Slide 4

• ในปั จจุบันมีดาวเคราะห์ น้อยมากกว่ า 7000 ดวงที่ถูกค้ นพบ
ในแต่ ละปี มีการค้ นพบมากกว่ า 100 ดวง แต่ ดาวเคราะห์ น้อย
ส่ วนใหญ่ มีขนาดเล็กมาก ไม่ สามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่ าจาก
พืน้ โลก


Slide 5

• มีดาวเคราะห์ น้อยจานวน 26 ดวงที่มีขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง
มากกว่ า 200 กิโลเมตร ดาวเคราะห์ น้อยที่มีขนาด
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางมากกว่ า 100 กิโลเมตรถูกค้ นแล้ วประมาณ
99 % ดาวเคราะห์ น้อยที่มีขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางระหว่ าง 10
ถึง 100 กิโลเมตรถูกค้ นแล้ วประมาณ 50 % ส่ วนดาวเคราะห์
น้ อยขนาดเล็กที่มีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางประมาณ 1 กิโลเมตรอาจ
มีเป็ นล้ านดวง


Slide 6

• ดาวเคราะห์ น้อยขนาดใหญ่ ท่ สี ุดคือ 1 C e r e s มี
เส้ นผ่ าศูนย์ กลาง 933 กิโลเมตรและมีมวลประมาณ 25% ของ
มวลรวมทัง้ หมดของดาวเคราะห์ น้อย ดวงที่มีขนาดรองลงมา
ได้ แก่ 2 Pallas, 4 Vesta และ 10 Hygiea ซึ่งมีขนาด
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางระหว่ าง 400 ถึง 525 กิโลเมตร


Slide 7

• ดาวเคราะห์ น้อยมีคาบการหมุนรอบตัวเองประมาณ 5 ถึง 20
ชั่วโมง และใช้ เวลาโจรรอบดวงอาทิตย์ ประมาณ 3 ถึง 6 ปี


Slide 8

• นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่ า ดาวเคราะห์ น้อยเกิดจากวัตถุส่วนที่
เหลือจากการสร้ างระบบสุริยะ โดยคาดหมายว่ าวัตถุท่ เี คย
โคจรอยู่ในตาแหน่ งของวงโคจรดาวเคราะห์ น้อยในปั จจุบัน
นัน้
ถูกทาให้ แตกออกเป็ นชิน้ เล็กๆ อันมีสาเหตุจากแรง
ดึงดูดของดาวพฤหัส ในระยะเริ่มแรกอาจเป็ นชิน้ เศษดาวไม่
มากนัก หลังจากเวลาผ่ านไปเกิดการชนกันของชิน้ เศษดาว
เหล่ านีท้ าให้ ชนิ ้ เศษดาวแตกออกเป็ นชิน้ เล็กๆมากมาย


Slide 9

• มวลรวมทัง้ หมดของดาวเคราะห์ น้อยจะน้ อยกว่ ามวลของดวง
จันทร์


Slide 10

• ดาวเคราะห์ น้อยจาแนกโดยอาศัยลักษณะของส่ วนประกอบ
ทางเคมีและค่ าการสะท้ อนแสงออกได้ เป็ น
3
กลุ่ม


Slide 11

• 1. C-type (carbonaceous) หรือ stony meteorites
ประกอบด้ วย carbonaceous chondrites มีส่วนประกอบทาง
เคมีท่ คี ล้ ายดวงอาทิตย์ และสารที่เป็ นก๊ าซอื่นๆ ซึ่งเชื่อว่ าเป็ น
วัตถุท่ เี ก่ าแก่ ท่ สี ุดที่เกิดขึน้ พร้ อมกับการสร้ างระบบสุริยะ ดาว
เคราะห์ น้อยชนิดนีม้ ีสีเข้ มเนื่องจากปริมาณสาร
ไฮโดรคาร์ บอนซึ่งดูดซับนา้ เข้ าไปทาให้ ไม่ เกิดการหลอมอีก
หลังจากที่เกิดเป็ นรูปร่ างดาวแล้ ว ดาวเคราะห์ น้อยชนิดนีม้ ี
ประมาณ 75% ของดาวเคราะห์ น้อยที่สังเกตเห็นได้ จากพืน้
โลก


Slide 12

• 2. S-type (silicaceous) หรือ stony iron meteorites
ประกอบด้ วยโลหะผสมของ
เหล็ก-นิเกิลและเหล็กแมกนีเซียม กับซิลิเกต ดาวเคราะห์ น้อยชนิดนีม้ ีประมาณ 15
-17%
ของดาวเคราะห์ น้อยที่สังเกตเห็นได้ จากพืน้ โลก


Slide 13

• 3. M-type หรือ iron meteorites ประกอบด้ วย เหล็ก-นิเกิล
เป็ นหลัก


Slide 14

• จากการศึกษา 4 Vesta โดย HST พบว่ า ดาวเคราะห์ น้อยดวง
นีม้ ีโครงสร้ างภายในเป็ นชัน้ คล้ ายกับดาวเคราะห์ ชัน้ ใน
มี
แหล่ งกาเนิดความร้ อนที่คาดว่ าได้ จากปฏิกิริยาทางนิวเคลียร์
แต่ ไม่ มากพอที่จะทาให้ วัตถุหลอมเหลวได้


Slide 15

• นักวิทยาศาสตร์ พบว่ า มีดาวเคราะห์ น้อยมากกว่ า 2000 ดวง
ที่มีวงโคจรตัดกับวงโคจรของโลก และมากกว่ า 1500 ดวง ที่มี
ขนาดใหญ่ พอที่จะทาให้ เกิดความเสียหายต่ อสิ่งมีชีวิตบนพืน้
โลกถ้ าเกิดการพุ่งชนโลก โดยโอกาสที่จะเกิดการชนครั ง้ หนึ่ง
ประมาณ
300,000
ปี


Slide 16

• นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่ าหลุมขนาดใหญ่ ใน Mexico เป็ นจุดที่
ดาวเคราะห์ น้อยขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลางประมาณ
10
กิโลเมตร พุ่งชนโลกเมื่อประมาณ 65 ล้ านปี ที่ผ่านมา และ
เป็ นสาเหตุให้ เกิดการสูญพันธ์ ของไดโนเสาร์ การพุ่งชนของ
ดาวเคราะห์ น้อยทาให้ ฝุ่นและก๊ าซฟุ้งกระจายอยู่ใน
บรรยากาศ ป้องกันไม่ ให้ แสงอาทิตย์ ส่องผ่ านมายังพืน้ โลกได้
เป็ นแรมเดือนหรือแรมปี ปฏิกิริยาของก๊ าซกับเมฆ ทาให้ เกิด
ฝนกรด ซึ่งทัง้ ฝนกรดและการขาดแสงอาทิตย์ ทาให้ พืชต่ างๆ
ตายไป


Slide 17


Slide 18

• ดาวเคราะห์ น้อยไม่ สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่ าจาก
พืน้ ผิวโลกต้ องใช้ กล้ องส่ องทางไกลหรือกล้ องโทรทรรศน์
เท่ านัน้ ในการศึกษา