กิจกรรมหลักของโครงการ - กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช

Download Report

Transcript กิจกรรมหลักของโครงการ - กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช

ภาพรวมการนาเสนอ
•
•
•
•
•
•
•
•
ที่มาของโครงการ
เป้าประสงค์ โครงการ
พืน้ ที่นาร่ องโครงการและกรอบการดาเนินงาน
โครงสร้ างการบริหารโครงการ
กิจกรรมหลักของโครงการ
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการดาเนินงาน
การจัดสรรงบประมาณโครงการ
กรอบเวลาดาเนินงาน
ทีม่ าของโครงการ
เกิดจากความร่ วมมือของ 3 หน่ วยงานหลัก อันได้ แก่
• กรมอุทยานแห่ งชาติสัตว์ ป่าและพันธุ์พชื (DNP)
• GLOBAL ENVIRONMENTAL FACILITY (GEF)
• UNITED NATIONS DEVELOPMENT PROGRAMME (UNDP
ภายใต้ ชื่อ โครงการ เร่ งเสริมความยัง่ ยืนการจัดการระบบการจัดการพืน
้ ทีค่ ุ้มครอง
CATALYZING SUSTAINABILITY OF THAILAND’S
PROTECTED AREA SYSTEM (CATSPA)
ระยะเวลาดาเนินงาน 2555-2558 (4ปี )
3
เป้าประสงค์ ของโครการ
ขจัดปัญหาอุปสรรคต่อการจัดการและพัฒนาระบบงบประมาณที่ยงั่ ยืนใน
การบริ หารพื้นที่คุม้ ครองของประเทศไทย
โดยมุ่งการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
อย่างยัง่ ยืน ทั้งในระดับชาติและระดับชุมชนผ่านการใช้กระบวนการเครื่ องมือ
มาตรฐานเพื่อยกระดับประสิ ทธิภาพด้านการจัดการและระบบงบประมาณทีย่ งั่ ยืน
การเสริ มศักยภาพบุคลากรและองค์กร ตลอดจนการประเมินมูลค่าและ กลไกการ
จัดเก็บค่าแทนคุณระบบนิเวศ เพื่อเป็ นการสร้างการมีส่วนร่ วมอย่างกว้างขวาง
นาไปสู่ความยัง่ ยืนของพื้นที่คุม้ ครองในที่สุด
4
พืน้ ที่นาร่ องโครงการ
อุทยานแห่ งชาติดอยอินทนนท์
อุทยานแห่ งชาติเขาชะเมา-เขาวง
อุทยานแห่ งชาติคลองลาน
พืน้ ทีก่ ลุ่มป่ าตะวันออก
อุทยานแห่ งชาติแม่ วงก์
อุทยานแห่ งชาติตะรุเตา
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าห้ วยขาแข้ ง
5
กรอบการด
าเนิ
น
โครงการ
ทดลองดำเนินงำนในระดับพื้นที่ เพือ่
ปรับปรุงและพัฒนำเครื่องมือ
แนวทำงดำเนินงำน เพือ่ พัฒนำ
ต้นแบบและขยำยผลในอนำคต
กำรประชำสัมพันธ์กำรดำเนินงำน
สรุปบทเรียนจัดกำรควำมรู้ เพือ่
สร้ำงกำรมีส่วนร่วมและสนับสนุน
ตลอดจนเสนอแนะทิศทำงเชิง
นโยบำย
ขอบเขตกำรดำเนินงำน
ระดับชำติ เพือ่ เป็ นกรอบ
กำรดำเนินงำนในระดับ
พื้นที่
เตรียมโครงสร้ำงองค์กรและ
เสริมศกยภำพบุคคล เพือ่ ให้
สำมำรถปฏิบตั ิภำรกิจได้อย่ ำงมี
ประสิทธิภำพ
6
คณะกรรมการบริหารโครงการ
๑. ออส.
๒. รองออส.
๓. ผู้อานวยการสานักอุทยานแห่ งชาติ
๔. ผู้อานวยการสานักอนุรักษ์ สัตว์ ป่า
๕. ผู้อานวยการสานักแผนงานและสารสนเทศ
๖. ผู้แทนสานักงานปลัดกระทรวงฯ
๗. ผู้แทน สผ.
๘. ผู้แทน สพร.
๙. ผู้แทนสานักงบประมาณ
๑๐. ผู้แทน สศช.
๘. ผู้แทนกรมป่ าไม้
๙. ผู้แทนกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
๑๐. ผู้แทนกรมส่ งเสริมการปกครองส่ วนท้ องถิ่น
๑๑. ผู้แทนคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
๑๒. ผู้แทนการท่ องเที่ยวแห่ งประเทศไทย
๑๓. ผู้แทนสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
๑๔. ผู้แทนสหภาพสากลว่ าด้ วยการอนุรักษ์ (IUCN)
๑๕. ผู้แทน WWF ประจาประเทศไทย
๑๖. ผู้แทนสานักงานโครงการพัฒนา แห่ ง
สหประชาชาติ (UNDP)
๑๗. ผู้แทนการ กฟผ.
๑๘. ผู้แทนบริษัท ปตท.สผ.
๑๙. ผู้แทน กปภ.
๒๐. ผู้แทน กปน.
๒๒. ผู้แทน ททท.
๒๓. ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมท่ องเที่ยวฯ
๒๔. ผู้อานวยการโครงการ (เลขานุการกรรมการฯ)
๒๕. ผู้จัดการโครงการ (ผู้ช่วยเลขาฯ)
7
โครงสร้ างโครงการ
คณะกรรมการบริหารโครงการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
(อส)
หน่ วยปฏิบัติ
•ผู้อานวยการโครงการ (อส)
•ผู้จดั การโครงการ (ว่าจ้ าง)
งานด้ านการบริหารโครงการ
ประธานกรรมการ
อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์
ป่ า และพันธุ์พืช
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
จากหน่วยงานอื่น ทั้งภาครัฐและองค์กร
พัฒนาภาคเอกชน
คณะที่ปรึ กษาเฉพาะด้าน
ผู้รับรองคุณภาพโครงการ
UNDP
Effectiveness Unit
(อส)
งานด้ านวิชาการ
ผู้ประสานงานในพืน้ ที่และโครงการ
(อส)
8
9
กิจกรรมหลักของโครงการ
ผลสั มฤทธิ์ 1:การส่ งเสริมการบริหารจัดการที่ดอี นั จะเอือ้ ประโยชน์ ต่อความยัง่ ยืนของระบบพืน้ ที่คุ้มครอง
• พัฒนายุทธศาสตร์ การจัดการพื้นที่คุม้ ครองของประเทศไทยแนวใหม่ ( 5 ปี )
• กรอบนโนบายและกลไกเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของภาคีอื่นๆในระบบการจัดการ
พื้นที่คุม้ ครอง
• ระบบฐานข้อมูลเพื่อประสิ ทธิ ภาพการจัดการพื้นที่คุม้ ครอง ที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์
ของการจัดการ การติดตามประเมินผล ปละตัดสิ นใจเชิงนโยบาย
ผลสั มฤทธิ์ 2:การเพิม่ ศักยภาพขององค์ กรและบุคลากร
• สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุม้ ครอง
• หลักสู ตรและกระบวนการเสริ มศักยภาพเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการที่ปรึ กษาพื้นที่
คุม้ ครอง
10
กิจกรรมหลักของโครงการ (ต่ อ)
ผลสั มฤทธ์ 3: กลไกการสร้ างรายได้ และแนวทางการจัดการใหม่ ๆ นาไปสู่ งบประมาณและ
ประสิ ทธิภาพการจัดการพืน้ ที่คุ้มครองทีเ่ พิม่ ขึน้ ทั้งระดับพืน้ ทีแ่ ละระบบพืน้ ที่คุ้มครอง
• กรอบการวางแผนกาจัดการพื้นที่คุม้ ครองแบบบูรณาการ ตลอดจนเครื่ องมือ วิธีการใหม่
และการทดลองดาเนินการในพื้นที่นาร่ อง
• กลไกด้านงบประมาณพื้นที่คุม้ ครอง
• กลไกช่องทางการมีส่วนร่ วมกับการบริ หารพื้นที่คุม้ ครองในระดับพื้นที่
• ศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของสบอ.ในการประสานความสนับสนุนและงบประมาณเพื่อการจัดการ
กลุ่มป่ าเชิงระบบนิเวศ
ผลสั มฤทธ์ 4: ต้ นแบบของการจัดการพืน้ ที่คุ้มครองทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
• ยุทธศาสตร์ และสื่ อประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการมีส่วนร่ วมและระดมความสนับสนุน
• สรุ ปบทเรี ยนโครงการสาหรับการขยายผลและการตัดสิ นใจเชิงนโยบาย
11
เครื่องมือหลักในการทางาน
เครื่องมือติดตามประเมินประสิ ทธิภาพการจัดการพืน้ ที่คุ้มครอง
(Management Effectiveness Tracking Tool: METT)
2. แบบประเมินความยัง่ ยืนด้ านการเงินสาหรับพืน
้ ที่คุ้มครอง
(UNDP Financial Sustainability Scorecard)
3. ค่ าแทนคุณระบบนิเวศ (Payment for ecosystem service: PES)
1.
12
ค่ าแทนคุณระบบนิเวศ
PAYMENT FOR ECOSYSTEM SERVICE (PES)
1. คุณค่ าทีไ่ ด้ รับการยอมรับ (Recognizing value)
a feature of all human
societies and communities
2. คุณค่ าทีพ
่ สิ ู จน์ ได้ (Demonstrating value)
in economic terms,
to support decision making
3. คุณค่ าทีป
่ ระเมินค่ าได้ (Capturing value)
introduce mechanisms that incorporate the values of ecosystems
into decision making
ที่มา: คุณปิ ยะทิพย์ ECO-BEST project, GIZ
13
งบประมาณโครงการ
Year 1
Year 2
Year 3
Year 4
Total
USD
1,105,715.00
1,157,396.00
650,876.50
450,554.50
3,364,542.00
บาท
33,171,450.00
34,721,880.00
19,526,295.00
13,516,635.00
100,936,260.00
• เป็ นเงินนอกงบประมาณเพือ่ อุดหนุนโครงการ 3.36 ล้ าน USD
• เป็ นส่ วนสมทบทีไ่ ม่ เป็ นตัวเงิน 14.2 ล้ าน USD
14
ผลสั มฤทธิ์ 1:ธรรมาภิบาลและองค์ ประกอบแวดล้ อมของการจัดการพืน้ ที่คุ้มครอง
เอือ้ ความยัง่ ยืนของระบบพืน้ ที่คุ้มครอง (24 ล้านบาท)
ผลลัพธ์
Y1
Y2
Y3
Y4
พัฒนายุทธศาสตร์การจัดการพื้นที่คุม้ ครองของประเทศไทย
แนวใหม่ ( 5 ปี ) (7.05 ล้าน)
กรอบนโยบายและกลไกเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของ
ภาคีอื่รๆในระบบการจัดการพื้นที่คุม้ ครอง (7.95 ล้าน)
ระบบฐานข้อมูลเพื่อประสิ ทธิภาพการจัดการพื้นที่คุม้ ครอง
ที่สนองตอบวัตถุประสงค์ของการจัดการ การติดตาม
ประเมินผลและการตัดสิ นใจเชิงนโยบาย (9 ล้าน)
15
ผลสั มฤทธิ์ 2:ศักยภาพขององค์ กรและบุคลากรเพิม่ มากขึน้ (14.82 ล้านบาท)
ผลลัพธ์
Y1
Y2
Y3
Y4
มี Effectiveness Unit เป็ นโครงสร้างในกรม เพื่อเพิม่
ประสิ ทธิภาพการจัดการพื้นที่คุม้ ครองในระยะยาว (4.55
ล้าน)
หลักสูตรและกระบวนการเสริ มสร้างศักยภาพต่างๆ มุ่งเน้น
ด้านการจัดการและระบบงบประมาณพื้นที่คุม้ ครอง สาหรับ
เจ้าหน้าที่กรมอุทยานและคณะกรรมการที่ปรึ กษา (10.27
ล้าน)
16
ผลสั มฤทธ์ 3: กลไกการสร้ างรายได้ และแนวทางการจัดการใหม่ ๆ นาไปสู่ งบประมาณและ
ประสิ ทธิภาพการจัดการพืน้ ที่คุ้มครองทีเ่ พิม่ ขึน้ ทั้งในระดับพืน้ ที่และระบบพืน้ ที่คุ้มครอง
(43.74 ล้านบาท)
ผลลัพธ์
Y1
Y2
Y3
Y4
กรอบการวางแผนการจัดการพื้นที่คุม้ ครองแบบบูรณาการ
(แผนการจัดการและแผนงบประมาณ) เครื่ องมือและวิธีการ
ใหม่ๆและการทดลองดาเนินการในพื้นที่นาร่ อง (16.86 ล้าน)
กลไกด้านงบประมาณพื้นที่คุม้ ครอง สาหรับแต่ละพื้นที่นา
ร่ อง (8.91 ล้าน)
กลไก ช่องทาง ในการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการพื้นที่
(8.01 ล้าน)
ศักยภาพที่เพิ่มขึ้นของสานักบริ หารพื้นที่อนุรักษ์และ
เจ้าหน้าที่ ในการประสานความสนับสนุนและการบริ หาร
จัดการงบประมาณ เพื่อจัดการกลุ่มป่ าเชิงระบบนิเวศ (9.96
ล้าน)
17
ผลสั มฤทธ์ 4: ต้ นแบบการจัดการพืน้ ที่คุ้มครองแนวใหม่ และการขยายผล (6.99 ล้านบาท)
ผลลัพธ์
ยุทธศาสตร์ และสื่ อประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการมีส่วนร่ วม
และระดมความสนับสนุน (3.99 ล้าน)
สรุ ปบทเรี ยนโครงการ สาหรับการขยายผลและการตัดสิ นใจ
เชิงนโยบาย (3 ล้าน)
Y1
Y2
Y3
Y4
18
แผนงานกิจกรรมโครงการ ต.ค. 55 - ธ.ค. 56
กิจกรรม
1
Q4-2012
Q1-2013
Q2-2013
Q3-2013
Q4-2013
พัฒนาแผนยุทธศาสตร์พ้นื ที่คุม้ ครองตามกรอบโปรแกรมงานพื้นที่คุม้ ครอง
ตลอดจนข้อเสนอแนะในประเด็นสาคัญต่าง (WP 1.1.1)
2
ปรับปรุ งร่ างแผนยุทธศาสตร์การจัดการอุทยานแห่งชาติแบบบูรณาการ
(WP 1.1.2)
3 ทบทวนกรอบนโยบาย กลไกการตัดสิ นใจ ด้านการบริ หารพื้นที่คุม้ ครองใน
ปัจจุบนั (เช่น คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ อื่นๆ) และค้นหาแนวทางที่
เหมาะสมในการกากับถ่วงดุล การตัดสิ นใจเชิงนโยบายเพื่อการบริ หารจัดการ
พื้นที่คุม้ ครอง (WP 1.2.1)
4 ทบทวน ระบบข้อมูล เครื่ องมือ/กรอบแผนงานปัจจุบนั ที่ใช้ในการวางแผน
จัดการพื้นที่คุม้ ครอง รวมถึงระบบติดตามประเมินผลและการตัดสิ นใจเชิง
นโยบาย (WP 1.3.1)
5 ประเมินข้อมูลพื้นฐานด้านประสิ ทธิภาพการจัดการพื้นที่คุม้ ครอง โดยใช้
เครื่ องมือ (Management Effectiveness Tracking Tool: METT) (WP 1.3.3)
6 บริ หารและดาเนินงานผ่านโครงสร้างสานักงานโครงการ เพื่อเป็ นแนวทางใน
การปรับปรุ งโครงสร้าง สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุม้ ครอง
(Effectiveness Unit) ในอนาคต (WP 2.1.1)
7 จัดอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะเจ้าหน้าที่ที่ดูแลพื้นที่คุม้ ครอง ในหลักสู ตรต่างๆ;
WP 2.2.1
19
กิจกรรม
Q4-2012
Q1-2013
Q2-2013
Q3-2013
Q4-2013
8 จัดทาแผนการจัดการอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์; WP 3.1.1
9 พัฒนาแผนปฏิบตั ิการโครงการ และดาเนินงานตามแผนในพื้นที่นาร่ อง; WP
3.1.2
10 ประเมินความต้องการด้านงบประมาณของพื้นที่นาร่ อง ตลอดจนมูลค่าทาง
เศรษฐกิจที่โดดเด่นของพื้นที่คุม้ ครอง รวมทั้งผลการศึกษาที่มีอยู;่ WP 3.2.1
11 ศึกษาความเป็ นไปได้ของกลไกการหารายได้นอกงบประมาณ เพื่อทดลอง
ดาเนินการในพื้นที่นาร่ อง; WP 3.2.2
12 พัฒนากลไกการมีส่วนร่ วมของคณะกรรมการที่ปรึ กษาพื้นที่คุม้ ครอง นาไปสู่
การบูรณาการการจัดการพื้นที่คุม้ ครองอย่างแท้จริ ง รวมถึงการจัดสรร
งบประมาณการเสริ มศักยภาพสาหรับคณะกรรมการที่ปรึ กษาพื้นที่คุม้ ครอง
ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่ วมในกิจกรรมเพื่อเสริ มความยัง่ ยืนในการ
จัดการพื้นที่คุม้ ครอง; WP 3.3.1
13 พัฒนากลไกและดาเนินการกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ; WP 3.3.2
14 ปรับใช้และดาเนินงานตามแผนการจัดการกลุ่มป่ าเชิงระบบนิเวศ; WP 3.4.1,
3.4.2
15 ออกแบบและจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึ กษาพื้นที่คุม้ ครองระดับกลุ่มป่ าWP
3.4.3
16 พัฒนายุทธศาสตร์ประชาสัมพันธ์และแผนความร่ วมมือ และการติดตาม
ประเมินผลโดยใช้สื่อ; WP 4.1.1, 4.1.2
20