ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

Slide 1


Slide 2


Slide 3

คำควบกลำ้ ( อักษรควบ )
หมำยถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรี ยงกันอยู่ต้น
พยำงค์ และใช้ สระเดียวกัน เวลำอ่ ำนออกเสียงกลำ้
เป็ นพยำงค์ เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ ของพยำงค์ นัน้
จะผันเป็ นไปตำมเสียงพยัญชนะตัวหน้ ำ คือเสียง
พยัญชนะต้ น ก ข ค ต ป ผ พ ที่เขียนควบ
พยัญชนะ ร ล ว ออกเสียงควบกลำ้ กัน


Slide 4

ควบ ร = กรำบ ขรัว
ควบ ล = กลอง เขลำ
ควบ ว = ควำย ขว้ ำง

- อ่ ำนพยัญชนะต้ นตัวเดียว
เช่ น จริง สร้ ำง
- อ่ ำนออกเสียง “ ทร”เป็ น
“ซ” เช่ น พุทรำ ทรำบ


Slide 5

ทรวดทรงทรำบทรำมทรำย
อินทรี มัทรี อินทรี ย์มี
ทรวงไทรทรั พย์ แทรกวัด
“ทร” เหล่ ำนีเ้ รำ

ทรุ ดโทรมหมำยนก
เทริดนนทรี พุทรำเทรำ
โทรมมนัสฉะเชิงเทรำตัว
ออกสำเนียงเป็ นเสียง “ซ”

หมำยเหตุ ทร บำงคำอ่ ำนอกเสียงอย่ ำงคำควบ
แท้ เช่ น จันทรำ อินทรำ นิทรำ ฯลฯ


Slide 6


Slide 7

ถ้ ำ "อ" และ "ห"
นำอักษรเดี่ยว
เช่ น อยำก
เหยำะ หญิง


Slide 8


Slide 9

คำแผลง
คือ คำเดิมที่เป็ นคำพยำงค์ เดียวแผลง
มำเป็ นคำสองพยำงค์ และมีพยัญชนะต้ น
เป็ นตัวควบกลำ้ เมื่ออ่ ำนพยำงค์ หลังมักผัน
เสียงตำมตัวนำเดิม


Slide 10

คำเดิมควบกลำ้ เมื่อ
แผลงเป็ น ๒ พยำงค์
ต้ องอ่ ำนพยำงค์ หลัง
ให้ มีเสียงวรรณยุกต์
เท่ ำกับคำเดิม เช่ น
ตริ แผลงเป็ น ดำริ

คำเดิมไม่ มีตัวควบกลำ้
เมื่อแผลเป็ น ๒ พยำงค์
แล้ วอ่ ำนออกเสียงตำม
รูปที่ปรำกฏ เช่ น
อวย แผลงเป็ น อำนวย

คำที่แผลงไม่ ได้ เป็ น
คำควบกลำ้ อ่ ำน
ตำมแบบกำรอ่ ำน
อักษรนำ เช่ น
ขด แผลงเป็ น ขนด


Slide 11


Slide 12

เขียนเหมือนกันแต่ อ่ำน
ต่ ำงกันและควำมหมำยต่ ำงกัน
เช่ น แถลง (ถะ-แหลง) แสดง
แถลง (เถ-ลง) ร่ อนลง

เขียนต่ ำงกันออกเสียงเหมือน
กัน และควำมหมำยต่ ำงกัน
เช่ น กัน กรรณ กัณฑ์ กันต์
อ่ ำนว่ ำ กัน

คำที่พ้องรูปและเสียง คือ คำที่เขียนเหมือนกัน ออก
เสียงเหมือน ควำมหมำยต่ ำงกัน เช่ น กัน ขัน


Slide 13


Slide 14

คำย่ อ
คือ คำที่เขียนให้ สัน้ ลง โดยใช้
เครื่ องหมำยมหัพภำค(.) และเครื่ องหมำย
ไปยำลน้ อย(ฯ) ควำมหมำยคงเดิม เวลำอ่ ำน
ต้ องอ่ ำนเต็มคำตำมคำเดิม


Slide 15

กก. = กิโลกรั ม
อ่ ำนว่ ำ กิ - โล - กรั ม
ก.พ. = กุมภำพันธ์ อ่ ำนว่ ำ กุม - พำ - พัน
พ.ศ. = พุทธศักรำช
อ่ ำนว่ ำ
พุด - ทะ - สัก - กะ - หฺรำด
จ.ศ. = จุลศักรำช
อ่ ำนว่ ำ
จุน - ละ - สัก - กะ - หฺรำด
พล.ต.อ. = พลตำรวจเอก
อ่ ำนว่ ำ
พน - ตำ - หฺรวด - เอก


Slide 16

ข้ อสังเกต
เมื่อใช้ เครื่ องหมำยไปยำลน้ อย(ฯ) กำกับคำใด
ต้ องอ่ ำนให้ เต็มคำถ้ ำไม่ ต้องกำรอ่ ำนเต็มคำก็ไม่ ควรใส่
เช่ น
วัดอรุ ณฯ ต้ องอ่ ำน วัด-อะ-รุ น-รำด-ชะ-วะ-รำ-รำม
* * ถ้ ำไม่ ต้องกำรอ่ ำนเต็มก็เขียนเพียงวัดอรุ ณ


Slide 17


Slide 18

เลข ๑ ถ้ ำอยู่ท้ำยจำนวนตัง้ แต่ หลัก
สิบขึน้ ไป ให้ อ่ำนว่ ำ เอ็ด เช่ น
๑๑ อ่ ำนว่ ำ สิบ – เอ็ด
๑.๒๓๕ อ่ ำนว่ ำ หฺน่ ึง - จุด - สอง - สำม - ห้ ำ

๐๕.๐๐ น. อ่ ำนว่ ำ ห้ ำ - นำ - ลิ - กำ
หนังสื อที่ ศธ ๐๐๓๐.๐๑/๕๙
อ่านว่ า หนัง - สื อ - ที่ - สอ – ทอสู น - สู น - สาม - สู น - จุด - สู น
- หนึ่ง - ทับ - ห้ า - เก้า - เจ็ด


Slide 19

รหัสไปรษณีย์ ๓๒๑๙๐
อ่ ำนว่ ำ สำม-สอง-หนึ่ง-เก้ ำ-สูน
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๒ ๕๓๑ ๓๒๓๔
อ่านว่ า หฺมาย-เลก-โท-ระ-สั บ-สู น-สองห้ า-สาม-หฺนึ่ง-สาม-สอง-สาม-สี่ หรือ
สู น-โท-ห้ า-สาม-หฺนึ่ง-สาม-โท-สาม-สี่


Slide 20


Slide 21

อ่ ำนออกเสียง เรอ
มีใช้ คำเดียวคือ ฤกษ์

อ่ ำนออกเสียง ริ เช่ น
ฤทธิ์ ปฤจฉำ สฤษฏ์

อ่ ำนออกเสียง รึ เช่ น
ฤดู มฤตยู พฤกษ์


Slide 22


Slide 23

ถ้ ำไม่ มีรูปสระจะออกเสียงสระอะเมื่อไทยรับมำใช้
มักออกเสียงพยัญชนะตัวท้ ำยเป็ นตัวสะกด และออกเสียง
เป็ นสระโอะ เมื่อไม่ มีรูปสระกำกับ เช่ น กมล
บำลีสันสกฤต อ่ ำนว่ ำ กะ-มะ-ละ, ไทย อ่ ำนว่ ำ กะ-มน

คำที่ตัวสะกดตัวตำมเป็ นเศษวรรค คือ ย ร ล ว ส
ฬ ไม่ ออกเสียงอะตำมหลังตัวสะกด เช่ น
วิรุฬหก ออกเสี ยง วิ-รุน-หก


Slide 24

พยัญชนะตัวตำมเป็ นพยัญชนะนำสิก คือ ง ญ
น ณ ม ออกเสียง อะ ตำมหลังตัวสะกดกึ่งมำตรำ
เช่ น ลัคนำ ออกเสียง ลัก – คะ- นำ
ออกเสียงสระ อิ อุ ท้ ำยพยำงค์ คำบำลีสันกฤต ซึ่งเดิม
เป็ นคำ ๒ พยำงค์ ขนึ ้ ไป พยำงค์ หลังมีสระ อิ อุ กำกับ ไทย
ใช้ พยัญชนะต้ นของพยำงค์ หลังเป็ นตัวสะกด ไม่ ต้องออก
เสียงสระ เช่ น
เกตุ
ออกเสียง
เกด


Slide 25

ออกเสียงคำบำลีสันสกฤตที่มีตัว ร ตำม ไทยออกเสียง
เหมือนมีสระออประสมอยู่ด้วย เช่ น
ปรปักษ์ ออกเสี ยง ปอ-ระ-ปัก
พยัญชนะต้ นใช้ บ แม้ ไม่ มี ร ตำม แต่ ไทยก็ออกเสียง
เป็ นเสียง ออ เช่ น บวร ออกเสียง บอ-วอน

ออกเสียง อะ ตำมหลังตัวสะกด เช่ น มุกดำ อ่ ำนว่ ำ มุก-ดำ
นิตยำ อ่ ำนว่ ำ นิด – ตะ - ยำ, ปุณยำ อ่ ำนว่ ำ ปุน - ยำ


Slide 26


Slide 27

กำรอ่ ำนออกเสียงคำสมำสนัน้ จะต้ องอ่ ำนแบบ
เรี ยงตัว คือ อ่ ำนออกเสียงสระที่พยำงค์ ท้ำยของคำหน้ ำ
เช่ น รำชกำร อ่ ำนว่ ำ รำด-ชะ-กำน

ยกเว้ น
ชลบุรี
ธนบุรี

อ่ ำนว่ ำ
อ่ ำนว่ ำ

ชน-บุ-รี
ทน-บุ-รี


Slide 28


Slide 29

อ่ ำนเป็ นเสียง ด มักจะมีเสียงสัน้
หรือเป็ นคำตำย เช่ น
บัณฑิต บัณฑุ บัณเฑำะ

อ่ ำนเป็ นเสียง ท มีทงั ้ คำเป็ น
และคำตำย เช่ น กุณฑล
จัณฑำล บัณฑูร มณฑล


Slide 30