การจัดระบบงานด้านสวัสดิการสังคม

Download Report

Transcript การจัดระบบงานด้านสวัสดิการสังคม

การจัดระบบงานด้านสวัสดิการสังคม
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่ดีของประชาชน
ชินชัย ชี ้เจริญ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้ านมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
ปฏิบตั ิหน้ าที่รองผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ
สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
“สวัสดิการสังคม หมายถึง ความ
เป็ นอยู่ทด่ี ขี องประชาชน”
Social Welfare =
Social Well-being
สวัสดิการสังคม : ความหมาย
“สวัสดิการสังคม” หมายความว่ า ระบบการจัดบริการทางสังคม
เกี่ ย วกั บ การป้ องกั น การแก้ ไขปั ญหา การพั ฒ นาและการ
ส่ งเสริมความมั่นคงทางสังคม ตอบสนองความจาเป็ นขัน้ พืน้ ฐาน
ของประชาชน มีคุณภาพชีวิต และพึ่งตนเองได้ ท่ วั ถึง เหมาะสม
เป็ นธรรม ตามมาตรฐาน ทัง้ ทางด้ านการศึกษา สุขภาพอนามัย
ที่อยู่อาศัย การทางานและการมีรายได้ นันทนาการ กระบวนการ
ยุติธรรมและบริ การทางสังคมทั่วไป โดยคานึ งถึงศักดิ์ศรี ความ
เป็ นมนุษย์ สิทธิท่ ีประชาชนจะต้ องได้ รับ และมีส่วนร่ วมในการ
จัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ
สวัสดิการ
ทางเลือก
เอกชน
สวัสดิการ
กระแสหลัก
รัฐ
สวัสดิการ
สังคม
สวัสดิการ
กระแสหลัก
สวัสดิการ
กระแส
ทางเลือก
สังคม
สวัสดิการ
พระราชบัญญัติส่งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคม
ปั ญหาและความ
ต้ องการด้ าน
สวัสดิการสังคม
ทรัพยากร
สวัสดิการส่ วนบุคคล
คือ สวัสดิการที่บุคคลจัดให้ มีขนึ ้ เพื่อก่ อให้ เกิดความมั่นคงในการดารงชีวติ
ของตนเองและครอบครั ว โดยการออมในรู ปแบบต่ างๆ
ข้ อดี
- มีความมัน่ คงส่วนบุคคล
- พึง่ ตนเอง
ข้ อจากัด
-ต้ องสัง่ สมทุนมากเพื่อป้องกันความเสี่ยง
ต่างๆ
-กรณีประสบปั ญหารุนแรงไม่สามารถนา
ทุนที่ออมมาใช้ ในการจัดสวัสดิการได้
อย่างเพียงพอ
-ทุนที่มีนามาใช้ เฉพาะส่วนตน ไม่แบ่งปั น
จุนเจือให้ แก่ผ้ อู ื่น หรื อจุนเจือให้ แต่มกั ทา
ในระยะสัน้
คาถาม ? กรณีคนที่ไม่มีเงิน ไม่มีทนุ จะทาอย่างไร
สวัสดิการชุมชน
คือ สวัสดิการที่บุคคลในชุมชน (ทัง้ พืน้ ที่/หน้ าที่) รวมตัวกันจัดให้ มีขนึ ้ เพื่อ
ก่ อให้ เกิดความมั่นคงในการดารงชีวติ โดยลงเงิน ลงทุนร่ วมกันและนาผลที่
ได้ มาจัดสวัสดิการ
ข้ อดี
ข้ อจากัด
- รวมตัวกันพึง่ ตนเอง
- ต้ องดาเนินการต่อเนื่อง
- ไม่เป็ นภาระมากในการออมเงิน
- ต้ องมีหน่วยจัดการที่คงอยูแ่ ละสามารถ
- สวัสดิการพื ้นฐานเติมเต็มในสิ่งที่ขาด
ดาเนินการได้ อย่างยัง่ ยืน
(ขึ ้นอยูก่ บั ศักยภาพของกองทุน)
- จัดสวัสดิการได้ แค่ระดับหนึง่
- รวดเร็ว
- คนที่ไม่เข้ าร่วมหรื อคนด้ อยโอกาสที่ไม่
- มีความรู้สกึ เป็ นเจ้ าของและมีศกั ดิ์ศรี สามารถเข้ าร่วมได้ จะไม่ได้ รับการดูแล
- เครื่ องมือในการรวมกลุม่ และขยายไปสู่ หากสมาชิกไม่เห็นด้ วย หรื อหากช่วยก็
ช่วยได้ ไม่มาก
การจัดกิจกรรมอื่น ๆ
คาถาม ? จะสามารถดาเนินการได้ ครอบคลุมประชากรแค่ไหน จะหาคนจัดการ
และดาเนินการได้ อย่างยัง่ ยืนหรื อไม่ เหมาะกับสังคมแบบหนึง่ ใช่หรื อไม่
สวัสดิการแบบเก็บตก
ดูแลเฉพาะคนที่ด้อยโอกาส
ข้ อดี
-เน้ นดูแลเฉพาะผู้ด้อยโอกาส
-ไม่ต้องเสียทรัพยากรไปในกลุม่ ที่ไม่
จาเป็ น
-ไม่ต้องเก็บภาษี มาก
ข้ อจากัด
- ผู้รับบริ การขาดศักดิ์ศรี
- ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือมักจะเข้ าไม่
ถึงบริการ
- ประเทศด้ อยพัฒนา/กาลังพัฒนามัก
ช่วยแบบเฉพาะหน้ า
- ก่อให้ เกิดความเหลื่อมล ้าสูง
คาถาม ? หากรัฐ สมาชิกในสังคมไม่สนใจ ผู้ด้อยโอกาสจะถูกละเลย
รัฐสวัสดิการ
ให้ สวัสดิการถ้ วนหน้ าแก่ ประชาชนทุกคน
ข้ อดี
- คานึงถึงความทัว่ ถึงเสมอภาคเป็ นธรรม
- ให้ หลักประกันขันพื
้ ้นฐานในการ
ดารงชีวิตแก่คนทุกคนในสังคม
- ประชาชนมีสว่ นร่วมสูง
ข้ อจากัด
- เสียภาษี สงู (มีมากเสียมาก/คนมักไม่
อยากเสียภาษี )
- ต้ องมีการจ้ างงานที่ดี
- ประชาสังคมต้ องเข้ มแข็ง
คาถาม ? ระบบนี ้ไม่เกิดหากหลายฝ่ ายยังเห็นแก่ตวั และขาดความเด็ดขาดในการ
ตัดสินใจดาเนินการ
สั งคมสวัสดิการ
ทุกฝ่ ายร่ วมด้ วยช่ วยกันในการจัดสวัสดิการสังคม
ข้ อดี
- นาทุกเรื่ องมาดาเนินการ ทังสวั
้ สดิการ
ส่วนตน สวัสดิการชุมชน สวัสดิการเก็บ
ตกและรัฐสวัสดิการ
- ทุกฝ่ ายรับผิดชอบในการจัดสวัสดิการ
อย่างเต็มที่
ข้ อจากัด
- ต้ องสร้ างความรับผิดชอบและร่วมมือ
จากทุกฝ่ าย
คาถาม ? จะทาอย่างไรให้ ทกุ ฝ่ ายร่วมด้ วยช่วยกันและรับผิดชอบต่อสังคม
สั งคมสวัสดิการและ
สวัสดิการถ้ วนหน้ า
สังคมสวัสดิการ
ผ้ ูให้
ผ้ ูรับ
การให้ จากพระราชดารั ส เนื่องในโอกาสปี ใหม่
ปี ๒๕๔๖
“ ...การให้ ยังเป็ นบ่ อเกิดแห่ งความสุขอีกด้ วย กล่ าวคือ ผู้ให้ กม็ ี
ความสุข มีความอิ่มเอิบใจ ผู้รับก็มีความสุข มีกาลังใจ สังคม
ส่ วนรวม ตลอดถึงประเทศชาติ ก็มีความผาสุก มีความร่ มเย็น
ในปี ใหม่ น้ี ข้ าพเจ้ าจึงปรารถนาอย่ างยิง่ ทีจ่ ะเห็นชาวไทย มี
ความสุขถ้ วนหน้ ากัน ด้ วยการให้ คือ ให้ ความรั ก ความเมตตา
กัน ให้ น้าใจไมตรี กัน ให้ อภัยไม่ ถอื โทษ โกธรเคืองกัน ให้ การ
สงเคราะห์ อนุเคราะห์ กัน โดยมุ่งดี มุ่งเจริญต่ อกัน ด้ วยความ
บริสุทธิ์และจริงใจ...”
สังคมสวัสดิการ คือ สังคมที่
ทุกคนและทุกหน่วยงานเป็ น
ผู้ให้ และได้ รับประโยชน์ในฐานะ
ผู้รับจากการเป็ นผู้ให้
สังคมสวัสดิการ : ความหมาย
• สังคมสวัสดิการ (Welfare Society) หมายถึง การผนึกกาลัง
จากภาคส่วนต่างๆ ในสังคมสร้ างสรรค์สวัสดิการสังคมขึ ้นในหลาย
รูปแบบ มีการจัดการโดยหลายสถาบัน และสร้ างความร่วมมือจาก
หลายฝ่ ายให้ เข้ ามามีสว่ นร่วมในการผลิตสวัสดิการอย่างกว้ างขวาง
ครอบคลุม โดยแต่ละรูปแบบและแต่ละสถาบันมีความเป็ นอิสระต่อกัน
ภายใต้ ความรับผิดชอบและการดูแลของสังคมโดยรวม (การกระจาย
รายได้ ด้วยสังคมสวัสดิการ, สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
• รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น ประชาสังคม องค์การธุรกิจ
อาสาสมัคร ประชาชน
สวัสดิการถ้วนหน้า
ทาไมต้องถ้วนหน้า
• แนวคิดเรื่ องสิทธิ
สิทธิในร่างกายและทรัพย์สิน
สิทธิทางการเมือง
สิทธิในสวัสดิการ
(ความรับผิดชอบของรัฐ ปรากฏในรัฐธรรมนูญ)
ทาไมต้องถ้วนหน้า
• ศักดิศ์ รี
ผู้ออ่ นแอ
ผู้ด้อยโอกาส
(ขาดศักดิ์ศรี บุคคลชันสอง)
้
ทาไมต้องถ้วนหน้า
• คอรัปชัน่
เล่นพวก
ช่องทางโกง
ทาไมต้องถ้วนหน้า
• ธรรมชาติ (ส่วนใหญ่)
เห็นแก่ตวั
ไม่ยอมเสียเปรี ยบ
เอาเปรี ยบ
ทาไมต้องถ้วนหน้า
•มาตรฐาน
สวัสดิการถ้ วนหน้ า : ความหมาย
• สวัสดิการถ้ วนหน้ า (Welfare for All) หมายถึง สวัสดิการขัน้
ต่าที่ทาให้ ชีวิตอยูไ่ ด้ สมกับความเป็ นมนุษย์ เป็ นสวัสดิการที่รัฐมีสว่ น
ร่วมในการรับผิดชอบทังการเงิ
้
นและการกาหนดกฎระเบียบ เน้ นการ
สร้ างระบบการคุ้มครองและป้องกัน (more active) ต้ องเป็ นแบบ
ถ้ วนหน้ าจริงๆ เมื่อมีผ้ หู ลุดลอดจากระบบการคุ้มครอง จึงหยิบยื่นการ
ช่วยเหลือแบบให้ เปล่า (passive) เป็ น targeting ถ้ าส่วนที่เป็ น
ถ้ วนหน้ าดีพอ ส่วนที่เป็ น targeting จะมีเพียงเล็กน้ อย ระบบ
สวัสดิการจะมีอยูไ่ ม่วา่ เศรษฐกิจจะดีหรื อแย่
(ดร.วรวรรณ ชาญด้ วยวิทย์ มูลนิธิสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศ
ไทย)
• ประชานิยม Populism
• รัฐสวัสดิการ Welfare State
• การสร้ างระบบความมัน่ คงทางสังคมสาหรับประชาชน
ทุกคนUniversal Social Security System
• การสร้ างหลักประกันขันพื
้ ้นฐานในการคุ้มครองทาง
สังคมให้ แก่ประชาชนทุกคน Social Protection
Floor
• การเป็ นสังคมสวัสดิการจะนามาซึง่ การเป็ น
รัฐสวัสดิการ/สวัสดิการถ้ วนหน้ า ได้ ง่าย
เพราะ
ก. ทุกฝ่ ายเป็ นผู้ให้
ข. เสียภาษีสงู
ค. รัฐรับผิดชอบการจัดสวัสดิการ
มติคณะกรรมการส่ งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ
• ในการประชุมคณะกรรมการส่งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๓
เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ มีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน ที่ประชุมมีมติดงั นี ้
๑. เห็นชอบในหลักการนโยบายการดาเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการจัด
สวัสดิการสังคมแห่งชาติในการสร้ างสังคมไทยเป็ นสังคมสวัสดิการ กาหนดเป้าหมาย
ประชาชนได้ รับสวัสดิการถ้ วนหน้ าภายในปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๐
๒. ให้ ความสาคัญกับการลงทุนด้ านการจัดสวัสดิการโดยรัฐ และการลงทุนเพื่อ
ส่งเสริ มให้ ภาคส่วนต่างๆ เข้ ามามีสว่ นร่วมในงานสวัสดิการสังคม
๓. การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม ๔ ระบบ ได้ แก่ ระบบบริ การสังคม ระบบ
ประกันสังคม ระบบการช่วยเหลือทางสังคม และระบบการส่งเสริมสนับสนุน (การ
สร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั หุ้นส่วนทางสังคม)
๔. ให้ จดั ทาแผนปฏิบตั ิการและวงเงินงบประมาณรองรับ
๒๕๕๓
๒๕๕๔
ปฏิรูประบบ
สร้ างความพร้ อม
สวัสดิการสังคมไทย
และความเข้ มแข็ง
(สังคมสวัสดิการ)
ในการดาเนินการ
พัฒนาระบบสวัสดิการ
บรรจุในแผน
4 ระบบ (การช่ วยเหลือ
ยุทธศาสตร์
ทางสังคม ประกันสังคม
สวัสดิการสังคม
บริการสังคมและการ
ไทย ฉบับที่ ๒
ส่ งเสริมสนับสนุน)
และแผนพัฒนาฯ
ทาแผนปฏิบัตกิ าร
ฉบับที่ ๑๑
รองรั บ
๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ - ๒๕๕๙
ดาเนินการ
ในระยะแรก
ดาเนินการ
ในระยะที่สอง
Roadmap การปฏิรูประบบสวัสดิการสังคมไทย
มติที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ
ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๓ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓
๒๕๖๐>
สวัสดิการ
ถ้ วนหน้ า
เสาหล ัก ๔
การสน ับสนุน
ั
หุน
้ สว่ นทางสงคม
ั
่ เสริมจิตอาสา การให้และการชว
่ ยเหลือทางสงคม
สง
ความสร้างเข้มแข็งของครอบคร ัว อาสาสม ัคร ชุมชน
ั
ั
ท้องถิน
่ สถาบ ันศาสนาภาคประชาสงคม/
ขยายฐานภาษี/หล ักสูตรการเรียนการสอนความร ับผิดชอบต่อสงคม/
เสาหล ัก ๓
ั
การบริการสงคม
ึ
ิ สว ัสดิการของประชาชน
ศกษากฎหมายและพ
ัฒนากลไกคุม
้ ครองการเข้าถึงสทธิ
ั
ั
ั
สง่ เสริมธุรกิจเพือ
่ สงคม/สน
ับสนุนกองทุนด้านสงคมและกองทุ
นสง่ เสริมการจ ัดสว ัสดิการสงคม
การศึกษาฟรี ๑๕ ปี (๑๒ ล้านคน)
ศูนย์พ ัฒนาเด็กเล็ก
กองทุนหล ักประก ันสุขภาพ (๔๘ ล้านคน)
ี ของประชาชน
*ขยายมาตรการลดค่าครองชพ
ี ผูส
้ ย ังชพ
นมฟรี/เบีย
้ งู อายุ
(๖ ล้านคน) / จ ัดการศพ
้
ผูส
้ งู อายุ(๙หมืน
่ ราย) /เบีย
ความพิการ( ๑. ล้านคน)/
สงเคราะห์บต
ุ ร/การดูแลผู ้
พิการ สูงอายุในสภาวะ
พึง่ พิง)
เสาหล ัก ๒
ั
การประก ันสงคม
ประก ันภ ัยเอกชน (๑๐.๓ ล้านกรมธรรม์)
ประก ันภ ัยบุคคลทีส
่ าม
กองทุนสว ัสดิการชุมชน (ครอบคลุมร้อยละ ๑๐ ของประชากร ๖.๖ ล้านคน)
กองทุนบาเหน็จบานาญ
ข้าราชการ/กองทุน
สงเคราะห์ครู ร.ร.เอกชน
(๒.๗๒ ล้านคน)
ั
ประก ันสงคมแก่
ลก
ู จ้างร ัฐ
เสาหล ัก ๑
่ ยเหลือทาง
การชว
ั
สงคม
ประชากร
๖๖.๖๘ ล้านคน
้ งชีพ
กองทุนสารองเลีย
(๒ ล้านคน)
กองทุนสว ัสดิการชาวนา
กองทุนการออมแห่งชาติ (๒๔ ล้านคน)
ค่าแรงขนต
ั้ า
่
ี รง.นอกระบบ
ประก ันรายได้เกษตร / *สง่ เสริมอาชพ
ั
กองทุนประก ันสงคม/
กองทุนเงินทดแทน (๙.๔
ล้านคน)
ั
* กองทุนประก ันสงคมแบบสม
ัครใจ (๒๔ ล้านคน)/
ิ ประโยชน์แก่คส
สทธิ
ู่ มรสและบุตร (๕.๘๘ ล้านคน)
ั
่ ยเหลือผูป
ระเบียบ พม.ชว
้ ระสบปัญหาทางสงคมกรณี
ฉุกเฉิน/ระเบียบ พส. สงเคราะห์ครอบคร ัวผูม
้ รี ายได้นอ
้ ยและผูไ้ ร้ทพ
ี่ งึ่ /
กยศ./กองทุนหมูบ
่ า้ น/กาหนดกลุม
่ เป้าหมาย /นาวิธก
ี ารจ ัดการรายกรณีมาใช/้ กาหนดมาตรฐานการชว่ ยเหลือ/สน ับสนุน
งบประมาณทีเ่ พียงพอ/พ ัฒนากลไกดูแลผูป
้ ระสบปัญหา ๕ ล้านคน (สว ัสดิการเติมเต็มชวี ต
ิ ) /พ ัฒนาคุณภาพบริการ)
ข้าราชการพน ักงานของร ัฐ
ครูเอกชน ๒.๗๒ ล้านคน
แรงงานในระบบ
๙.๔ ล้านคน
แรงงานนอกระบบ
๒๔ ล้านคน
ผูอ
้ ยูน
่ อกระบบแรงงาน
๓๐.๕๖ ล้านคน
การช่วยเหลือทางสั งคม
มาตรการการช่วยเหลือทางสั งคม เป็ นมาตรการ
ทีใ่ ห้การช่วยเหลือ
ประชาชนเมือ
่ ตรวจสอบแลวว
ง
้ ายากจนจริ
่
เดือดรอนจริ
งจึงให้การช่วยเหลือ
้
เป็ นมาตรการดัง้ เดิมทีม
่ ม
ี ายาวนานในสั งคมไทย
โดยให้การช่วยเหลือใน
รูปแบบฉุ กเฉินแกผู
ญหา ในวงเงิน
่ ประสบปั
้
2,000 บาทตอครั
ง้ และการ
่
สงเคราะหครอบครั
วและบุตร ครัง้ ละ 3,000
์
การประกันสั งคม
มาตรการการประกันสังคมเป็ นการให้ สวัสดิการต่อเมือประชาชนต้ องมีสว่ นร่วมจ่าย ในการประเทศไทยมีการนา
กองทุนสารองเลี ้ยงชีพมาใช้ สาหรับลูกจ้ างในสถานประกอบการ ตังแต่
้ ปี พ.ศ. 2530 สาหรับเรื่ องการประกันสังคม
ได้ มีความพยายามนาระบบประกันสังคมมาใช้ ตงแต่
ั ้ ปี 2497 แต่ประสบความสาเร็ จในปี 2533 โดยการสมทบ 3
ส่วน จากนายจ้ าง ลูกจ้ างและรัฐ ทาให้ แรงงานในระบบเข้ าสูก่ ารประกันสังคมในรูปแบบบังคับ จานวน 9.4 ล้ านคน
และเมื่อต้ นปี 2554 ประเทศไทยประสบความสาเร็ จในการขยายระบบการประกันสังคมสูแ่ รงงานนอกระบบใน
รูปแบบสมัครใจ โดยการสมทบ 2 ส่วน จากแรงงานนอกระบบและรัฐ ซึง่ จะครอบคลุมแรงานนอกระบบ จานวน 24
ล้ านคน ปั จจุบนั มีผ้ สู มัครเป็ นสมาชิกแล้ วทังสิ
้ ้น 1.5 ล้ านคน นอกจากนันเพื
้ ่อเป็ นการเตรี ยมการสูส่ งั คมผู้สงู อายุ
ประเทศไทยได้ ออกพระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 โดยการสมทบ 2 ส่วน จากประชาชนและรัฐ
ยังผลให้ แรงงานนอกระบบและผู้ที่มีอายุระหว่าง 15 – 60 ปี ประมาณ 30 ล้ านคน ที่ไม่ได้ อยูใ่ นระบบการ
ประกันสังคมที่มีการให้ บาเหน็จบานาญสามารถสมัครเป็ นสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติและรับเงินบานาญเป็ นราย
เดือนเมื่อเกษียณอายุ (โดยในปี แรกของการรับสมัครสมาชิก คือปี 2555 ผู้ที่อายุเกิน 60 ปี สามารถสมัครเป็ น
สมาชิกได้ ) สาหรับข้ าราชการ จานวน 2.7 ล้ านคน มีการจัดตังกองทุ
้
นบาเหน็จบานาญข้ าราชการ
การบริการสั งคม
มาตรการบริการทางสั งคม เป็ นบริการในลักษณะสิ ทธิท ี่
ประชาชนไดรั
้ บโดยเทาเที
่ ยมกัน
ประกอบดวย
นมฟรีสาหรับเด็กชัน
้ ประถมศึ กษา
้
การศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐานฟรี 15 ปี
ครอบคลุมเด็กไทย จานวน 12 ลานคน
การ
้
รักษาพยาบาลถวนหน
้
้ าสาหรับแรงงานนอก
ระบบและผู้อยูนอกระบบแรงงาน
จานวน 48 ลานคน
่
้
จัดให้มีเบีย
้ ยังชีพรายเดือนแบบ
ขัน
้ บันไดสาหรับผูสู
โดยผู้ทีม
่ ี
้ งอายุ จานวน 6 ลานคน
้
อายุ 60-69 ปี จะไดรั
้ บ 600
บาท อายุ 70-79 ปี จะไดรั
้ บ 700 บาท อายุ 80-89 ปี
จะไดรั
้ บ 800 บาท และ
อายุ 90 ปี ขน
ึ้ ไป จะไดรั
าจั
้ บ 1,000 บาท การจายค
่
่ ดการ
ศพแกผู
่ ้สูงอายุทุกคน ๆ ละ
การส่งเสริมสนับสนุ นทางสั งคม
เป็ นการส่งเสริ มให้ ทกุ ภาคส่วนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม
ประเทศไทยจัดเก็บภาษี ในอัตราเฉลี่ยร้ อยละ 10 ในขณะที่มีคา่ ใช้ จ่ายด้ าน
งบประมาณของรัฐบาลในการจัดสวัสดิการทุกประเภท ในปี 2554 จานวน
840,000 ล้ านบาท จาก 2,070,000 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 40 ของ
งบประมาณแผ่นดิน หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 8 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
งบประมาณส่วนใหญ่ใช้ จ่ายในมาตรการบริ การสังคมและมาตรการประกันสังคม
สาหรับงบประมาณในการช่วยเหลือทางสังคมและการส่งเสริ มสนับสนุนหุ้นส่วน
ทางสังคมผ่านทางงบประมาณปกติและกองทุนทางสังคมต่าง ๆ เช่น กองทุน
ส่งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนคุ้มครองเด็ก กองทุนผู้สงู อายุ กองทุน
ป้องกันและปราบปรามการค้ ามนุษย์ กองทุนส่งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ ยังมีจานวนไม่มาก
การส่งเสริมสนับสนุ นทางสั งคม
(ตอ)
่
สาหรับการส่งเสริ มภาคส่วนให้ เข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม แม้ วา่
เป็ นประเด็นสาคัญของทุกรัฐบาลที่ต้องให้ การส่งเสริ มบทบาทขององค์การ
เอกชน อาสาสมัครและการดาเนินธุรกิจเพื่อสังคม แต่ก็ยงั ไม่มีการสนับสนุน
งบประมาณได้ อย่างเต็มที่ จากผลการสารวจบัญชีองค์กรไม่แสวงหากาไรใน
ประเทศไทย ที่ร่วมกับมหาวิทยาลัย John Hopkin ในปี 2550 พบว่ามี
รายจ่ายขององค์การไม่แสวงหากาไรทังรายจ่
้
ายขององค์การและมูลค่าของ
อาสาสมัครที่เข้ ามามีสว่ นร่วมในงานดานสังคม คิดเป็ นร้ อยละ 1.6 ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ซึง่ หากมีการส่งเสริ มบทบาทของภาคดังกล่าว
อย่างจริ งจัง ย่อมจะทาให้ ประเทศมีทรัพยากรอันมหาศาลในการร่วมจัด
สวัสดิการสังคมให้ แก่ประชาชน
กษา
สวัสดิการดานการศึ
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ส่งเสริม
ประเภทสวัสดิการ
กองทุนกูยื
่ การศึ กษา
้ มเพือ
นมฟรี
กองทุนอาหารกลางวัน
ศูนยพั
์ ฒนาเด็กเล็ก
การศึ กษาฟรี ๑๕ ปี
เงินช่วยเหลือการศึ กษา
เงินสงเคราะหครู
์ รร.เอกชน
ขภาพอนามัย
สวัสดิการดานสุ
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
ประกันสั งคมภาคบังคับ
(รักษาพยาบาล)
การประกันภัยเอกชน (ประกัน
เจ็บป่วย)
การประกันภัยบุคคลทีส
่ าม
หลักประกันสุขภาพถวนหน
้
้า
การรักษาพยาบาลขาราชการ
้
างานการมีรายได้
สวัสดิการดานการท
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
เงินกูยื
้ มประกอบอาชีพ/ฝึ กอาชีพ
ประกันสั งคมภาคบังคับ
คาแรงขั
น
้ ตา่ 300 บาท/วัน
่
เงินเดือนปริญญาตรี 15,000
บาท/เดือน
การคุมครองแรงงาน
้
การพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน/ฝี ก
อาชีพ
ย
อ
่ ยูอาศั
สวัสดิการดานที
่
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
บานพั
กคนจนเมือง
้
ประกันสั งคม
บานเอื
อ
้ อาทร
้
สถานสงเคราะห ์
เงินกูยื
่ ยูอาศยลู
กคา้
้ มทีอ
่
ประกันสั งคม
ทีพ
่ ก
ั คนเดินทาง
บริการสั งคม
ส่งเสริม
สนับสนุ น
-
นทนาการ
สวัสดิการดานนั
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
สวนสาธารณะ
สนามกีฬา
อุทยานแหงชาติ
่
สวนสั ตว ์
ส่งเสริสนับสนุ น ส่งเสริมการทองเที
ย
่ ว
่
ตธิ รรม
สวัสดิการดานกระบวนการยุ
้
มาตรการ
การช่วยเหลือ
ทางสั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
การสงเคราะหผู
์ พ
้ นโทษ
้
ราชทัณฑ ์
คุมประพฤติ
ศาลเยาวชนและครอบครัว
การสื บพยานเด็ก
การสงเคราะหผู
นเหยือ
่
์ ตกเป็
้
อาชญากรรม
การทางสั งคม
สวัสดิการดานบริ
้
มาตรการ
การช่วยเหลือทาง
สั งคม
ประกันสั งคม
บริการสั งคม
ประเภทสวัสดิการ
การช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน
การสงเคราะหบุ
์ ตร/ครอบครัว
เบีย
้ ผู้ป่วยเอดส์
ประกันสั งคมภาคบังคับ
การประกันภัยสั งคมแบบสมัครใจ
กองทุนการออมแหงชาติ
่
กองทุนสวัสดิการชุมชน
เบีย
้ ผู้สูงอายุ
เบีย
้ ความพิการ
ส่งเสริสนับสนุ น
คาจั
่ ดการศพผู้สูงอายุ
ส่งเสริมเอกชน,ธุรกิจ/คาตอบแทน
อสม./
่
เสาหล ัก ๔
การสน ับสนุน
ั
หุน
้ สว่ นทางสงคม
ั
ขยายฐานภาษี/หล ักสูตรการเรียนการสอนความร ับผิดชอบต่อสงคม/
ั
ั
ั
สง่ เสริมธุรกิจเพือ
่ สงคม/สน
ับสนุนกองทุนด้านสงคมและกองทุ
นสง่ เสริมการจ ัดสว ัสดิการสงคม
การศึกษาฟรี ๑๕ ปี (๑๒ ล้านคน)
ศูนย์พ ัฒนาเด็กเล็ก
เสาหล ัก ๓
ั
การบริการสงคม
กองทุนหล ักประก ันสุขภาพ (๔๘ ล้านคน)
ี ของประชาชน
*ขยายมาตรการลดค่าครองชพ
ี ผูส
้ ย ังชพ
เบีย
้ งู อายุ (๖ ล้าน
คน) / จ ัดการศพผูส
้ งู อายุ
้ ความ
(๙หมืน
่ ราย) /เบีย
พิการ( ๑. ล้านคน)/
สงเคราะห์บต
ุ ร/การดูแลผู ้
พิการ สูงอายุในสภาวะ
พึง่ พิง)
เสาหล ัก ๒
ั
การประก ันสงคม
กองทุนสว ัสดิการชุมชน (ครอบคลุมร้อยละ ๑๐ ของประชากร ๖.๖ ล้านคน)
กองทุนสว ัสดิการชาวนา
กองทุนการออมแห่งชาติ (๒๔ ล้านคน)
ี รง.นอกระบบ
ประก ันรายได้เกษตร / *สง่ เสริมอาชพ
ั
* กองทุนประก ันสงคมแบบสม
ัครใจ (๒๔ ล้านคน)/
ิ ประโยชน์แก่คส
สทธิ
ู่ มรสและบุตร (๕.๘๘ ล้านคน)
เสาหล ัก ๑
่ ยเหลือทาง
การชว
ั
สงคม
ประชากร
๖๖.๖๘ ล้านคน
กาหนดกลุม
่ เป้าหมาย /นาวิธก
ี ารจ ัดการรายกรณีมาใช/้ กาหนดมาตรฐานการชว่ ยเหลือ/สน ับสนุนงบประมาณทีเ่ พียงพอ/
พ ัฒนากลไกดูแลผูป
้ ระสบปัญหา ๕ ล้านคน (สว ัสดิการเติมเต็ มชวี ต
ิ ) /พ ัฒนาคุณภาพบริการ)
ข้าราชการพน ักงานของร ัฐ
ครูเอกชน ๒.๗๒ ล้านคน
แรงงานในระบบ
๙.๔ ล้านคน
แรงงานนอกระบบ
๒๔ ล้านคน
ผูอ
้ ยูน
่ อกระบบแรงงาน
๓๐.๕๖ ล้านคน
การจัดสวัสดิการถ้วนหน้า ต้องเพิ่มงบประมาณ 125,000 – 250,000 ลบ. ในปี 54
150,000 – 360,000 ลบ. ในปี 59 (งบแผ่นดินปี 54 1.7 ล้านๆ บาท ศึกษา 4 แสนล้าน สาธารณสุข 2 แสนล้าน)
% of GDP
(growth 4%, inflation rate 2.5%)
14.0
12.0
10.0
8.0
6.0
4.0
2.0
-
2553 (2010) 2554 (2011)
2555 (2012)
งบเดิม+ชุดสวัสดิการ 1
งบเดิม+ชุดสวัสดิการ 2
Previous budget
+ welfare option 1
Previous budget
+ welfare option 2
2556 (2013)
2557 (2014)
งบเดิม+ชุดสวัสดิการ 3
Previous budget
+ welfare option 3
2558 (2015)
2559 (2016)
2560 (2017)
งบเดิม+ชุดสวัสดิการ 4
งบเดิม
Previous budget
+ welfare option 4
Previous budget
VAT rate (or GST)
30
25
20
15
10
5
0
ประมาณการรายได้หลังจากการปฏิรูประบบภาษี
เปรี ยบเทียบกับรายจ่ายเพือ่ สวัสดิการถ้วนหน้า
The Revenue after Tax Reform
and The Expense of “Welfare for all” system (Preliminary estimates)
ขยายภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT 7%-10%
ขยายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Expand the Personal Income Tax
base
200,000 ลบ.
50,000-100,000 ลบ.
ยกเลิก Repeal BOI
100,000 ลบ.
ลดภาษีนิติบุคคล Decrease Corporate Income Tax rate to 20%
-111,867 ลบ.
เก็บภาษีที่ดินสิ่ งก่อสร้าง Land and Building Tax (Net Rate)
รวม Total (Net Rate)
30,000-50,000 ลบ.
280,000-350,000 ลบ.
ยังไม่รวมภาษีหุน้ ภาษีมรดก ค่าสัมปทาน รร.กวดวิชา 4 พันล้านบาท
The additional expense of “welfare for all” system
125,000- 250,000 ลบ.
แสดงอัตราการการจัดเก็บภาษีเฉลีย่ กับรายจ่ ายประชาชาติด้าน
สวัสดิการสั งคม ปี พ.ศ. ๒๕๔๙
ประเทศ
สวีเดน
เยอรมนี
สหรัฐอเมริ กา
ไทย
การจัดเก็บภาษี(เฉลี่ยร้อยละ)
๖๓
๕๔
๓๔
๑๐
รายจ่ายด้านสวัสดิการสังคม (ไม่ ๓๑
รวมด้านการศึกษา) คิดเป็ นร้อย
ละของรายได้ประชาชาติ
๒๗
๑๖
๒.๘
แสดงการจัดเก็บภาษีของประเทศ ปี ภาษี ๒๕๔๗ – ๒๕๕๑
ปี
๒๕๔๗
๒๕๔๘
๒๕๔๙
๒๕๕๐
รวม
รายได้
จัดเก็บ
๑,๒๘๔,๑๖ ๑,๗๓๘,๑๖๔. ๑,๘๒๕,๗๙๘ ๑,๗๐๔,๔๔๑. ๑๘๓๔๐๖๐.๑๑
๔.๓๗ บาท ๓๗ บาท
.๖๕ บาท
๘๓ บาท
บาท
ที่มาของรายได้ ส่วนใหญ่มาจากภาษี มลู ค่าเพิม่ รองลงมา ได้ แก่ ภาษี สรรพสามิต
ภาษี เงินได้ บคุ คลธรรมดา ภาษี เงินได้ นิติบคุ คล ภาษี จากส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ
และภาษี ศลุ กากร ตามลาดับ
๒๕๕๑
2008
Mb.
Budget on Social Welfare
: Community and Social
Services
2009
Mb.
2010
Mb.
2011
Mb.
Education
364,634.2
(21.9)
419,233.2
(21.4)
402,891.5
(23.7)
422,195.1
(20.3)
Health
154,140.4
(9.2)
169,633.2
(8.7)
178,852.7(10.
5)
209,848.0(10.0)
Social Security (social
insurance social
assistance)
- social insurance
115,086.4
(6.9)
151,449.7
(7.7)
135,488.4
(7.9)
139,465.9 (6.7)
94,734.7(5.7)
20,351.7(1.2)
121,185.1
(7.2)
14,303.3(0.8)
129.044.5(6,2)
- social assistance
131,595.8
(6.7)
19,853.9(1)
Housing and
community
46,386.0(2.7)
78,034.1(3.9)
31,373.8(1.8)
45,611.5(2.17)
Culture and recreation
13,729.6 (0.8)
14,101.4(0.7)
13,173.6(0.7)
14,821.9(0.7)
total
639,976.6
832,451.6
761,780.0
843,976.2
Fiscal year budget
1,660,00.0
1,951,700.0
1,700,000.0
2,070,000.0
Percentage of fiscal
year budget
41.8
42.6
44.8
40.7
10,421.4(0.5)
นโยบายประชาวิวฒั น์
มติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๔
นโยบายประชาวิวฒ
ั น์
ระบบการสร้างหลักประกันทางสังคม (ร่ วมจ่าย)
สวัสดิการ
ประกันสังคม
(นจ. ลจ. ออกฝ่ ายละ 5 %
(1.5+4+.5) รัฐสมทบ 2.75%
(1.5+1+.25) ต่ อเดือน เงินเดือน
1,650 – 15,000บาท) (นจ/ลจ.จ่ าย
82.5 บาท -750 บาทต่ อเดือน รัฐจ่ าย
45.375-412.5)
1.รักษาพยาบาล
ประกันสังคมแรงงาน
นอกระบบ
(100 บาทต่ อ
เดือน)( รั ฐสมทบ 50
บาทต่ อเดือน)
การออมแห่ งชาติ
(50 บาทต่ อเดือน)
(รั ฐสมทบ
25,40,50 บาทต่ อ
เดือนตามช่ วงอายุ
สมทบไม่ เกิน 2
หน่ วย)
สวัสดิการชุมชน
(30 บาทต่ อ
เดือน)
(รั ฐสมทบ 30
บาทต่ อเดือน 3 ปี
ต่ อคน)
/
ชดเชยรายได้ กรณี /
เข้ าโรงพยาบาล
/
/
2. เสียชีวิต
/
/
/
3. ทุพพลภาพ
/
/
/
4. คลอดบุตร
/
5. สงเคราะห์บตุ ร
/
6. ว่างงาน
/
7. บานาญ
/
บาเหน็จ
/
/
/
/
/
/
ผลการพัฒนางานสวัสดิการตามมติ ก.ส.ค.ที่ผ่านมา
• สศช. นาเรื่ องสังคมสวัสดิการและการคุ้มครองทางสังคมบรรจุไว้ ใน
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑
• พัฒนาการของ ๔ เสาหลัก (รัฐบาลนายกอภิสทิ ธิ์)
- เสาหลักที่ ๑ - เสาหลักที่ ๒ ขยายประกันสังคมสูแ่ รงงานนอกระบบ
พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ
กองทุนสวัสดิการชุมชนตาบล
- เสาหลักที่ ๓ เบี ้ยผู้สงู อายุ คนพิการถ้ วนหน้ า รถเมล์ฟรี รถไฟฟรี น ้าไฟฟรี
งบรักษาพยาบาลคนแนวตะเข็บชายแดน (สธ.)
- เสาหลักที่ ๔ -
นโยบายรัฐบาลปั จจุบนั
1. ทาเขื่อนกัน้ นา้ ทะเลไม่ ให้ ท่วมกรุ งเทพฯ แถวๆ สมุทรสาครและสมุทรปราการ
โดยไม่ ต้องกู้
2. ดึงนา้ จากเขื่อน จากประเทศเพื่อนบ้ าน ลาว พม่ า เขมร ไว้ ใช้ หน้ าแล้ ง และเชื่อม
แม่ นา้ ด้ วยลาคลองใหม่ เพิ่มพืน้ ที่รับนา้ ป้องกันนา้ ท่ วม
3. รถไฟฟ้าให้ ครบทัง้ 10 สาย แต่ ละสายเก็บ 20 บาท ตลอดสาย
4. ทุกสถานีรถไฟฟ้า จะสร้ างคอนโดราคาประหยัดให้ เช่ า
5. ทารถไฟรางคู่เชื่อมต่ อบริเวณชานเมืองกรุ งเทพฯ
6. ทารถไฟฟ้าความเร็วสูง กรุ งเทพฯ-โคราช กรุ งเทพฯ-หัวหิน กรุ งเทพฯ-เชียงใหม่
7. ขยายแอร์ พอร์ ตลิงค์ ไปพัทยา
8. ภาคใต้ ทาแลนด์ บริดจ์
9. ปราบยาเสพติดให้ หมดไปภายใน 1 ปี
10. ความยากจนต้ องหมดไปภายใน 4 ปี
11. กองทุนหมู่บ้านเพิ่มเงินทุกตาบลๆ ละ หนึ่งล้ านบาท
12. พักหนีส้ าหรั บผู้ท่ มี ีหนีไ้ ม่ เกินห้ าแสนบาท ไม่ น้อยกว่ า 3 ปี
13. สาหรั บผู้ท่ มี ีหนีเ้ กินห้ าแสนแต่ ไม่ เกินหนึ่งล้ าน ให้ ปรั บโครงสร้ างหนี ้
14. โครงการ 30 บาทรั กษาทุกโรค รั กษาอย่ างมีคุณภาพ
15. ส่ งเสริม OTOP ร่ วมกับศูนย์ ศลิ ปาชีพ
16. องค์ การปกครองส่ วนท้ องถิ่น ได้ รับเงินเพิ่ม 25% ไม่ ต้องทุจริต
17. ออกเครดิตการ์ ดสาหรั บเกษตรกร เพื่อนาไปซือ้ ปุ๋ยหรื อเมล็ดพันธุ์เพื่อการ
เพาะปลูก
18. ลดภาษีนิตบิ ุคคล จาก 30% เหลือ 23%
19. จบปริญญาตรี ทางานมีเงินเดือนเริ่มต้ น 15,000 บาท เพิ่มค่ าแรงขัน้ ต่าเป็ น
300 บาทต่ อวัน
20. ปรับเงินเดือนให้ ข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ
21. คนไทยต้ องตัง้ ตัวได้ อย่ างมีศักดิ์ศรี
22. ตัง้ กองทุนร่ วมทุน แต่ ละจังหวัด
23. ตัง้ กองทุนร่ วมทุนในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน โดยมีเงินให้ นักศึกษาที่จบการศึกษา
กู้ยืม
24. คืนภาษีและเพิ่มค่ าลดหย่ อนภาษีให้ กับ ผู้ท่ ซี อื ้ บ้ านหลังแรก
25. คืนภาษีให้ กับผู้ซอื ้ รถคันแรก โดยต้ องถือครองรถไม่ น้อยกว่ า 5 ปี
26. สนับสนุนภาครัฐและเอกชน ไปหาสัมปทานพลังงาน เช่ น นา้ มัน จากทั่วโลก
27. เด็กนักเรียนมีคอมพิวเตอร์ ใช้ One Tablet PC Per Child
28. Free WIFI เล่ น Internet ในที่สาธารณะ เช่ น สถานศึกษา สถานที่ท่องเที่ยว
โรงพยาบาล ฯลฯ
29. ยกเว้ นวีซ่า ให้ กับประเทศแถบตะวันออกกลาง ญี่ปุ่น เพื่อส่ งเสริมการท่ องเที่ยว การค้ า
และการลงทุน
30. ทาสนามบินสุวรรณภูมิ ให้ เป็ น HUB
31. ประสานความสัมพันธ์ กับประเทศซาอุดอิ าระเบีย และเขมร ให้ กลับมา
เหมือนเดิม
32. เบีย้ อสม. ดีขนึ ้ กว่ าเดิม
33. เบีย้ ผู้สูงอายุเพิ่มขึน้ อายุ 60 ปี รั บ 600 บาท 70 ปี รั บ 700 บาท 80 ปี
รั บ 800 บาท 90 ปี รั บ 1000 บาท
34. ตัง้ งบประมาณเพื่อเป็ นกองทุนส่ งเสริมบทบาทสตรี เฉลี่ยจังหวัดละ 100
ล้ านบาท
แนวทางการพัฒนางานสวัสดิการ
ตามนโยบายนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
• รัฐบาล นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชนวัตร
• นโยบายรัฐบาล
- การเปลี่ยนผ่านของโครงสร้ างประชากรและสังคมไทยมีความจาเป็ นต้ องสร้ าง
สวัสดิการที่มนั่ คงให้ แก่คนไทยทุกคน
• สวัสดิการ ๔ เสาหลัก (นโยบายรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์)
- เสาหลักที่ ๑ กองทุนหมูบ่ ้ านชุมชนเมือง/พักหนี ้ครัวเรื อนของเกษตรกรรายย่อย (หนี ้
ต่ากว่า ๕๐๐,๐๐๐ บาท)
- เสาหลักที่ ๒ - เสาหลักที่ ๓ แรงงานมีรายได้ ไม่น้อยกว่าวันละ ๓๐๐ บาท ปริญญาตรี มีรายได้
ไม่น้อยกว่าเดือนละ ๑๕,๐๐๐ บาท /ขยายเบี ้ยยังชีพผู้สงู อายุ/
คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ค
- เสาหลักที่ ๔ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี /กองทุนพัฒนาศักยภาพของหมูบ่ ้ านและ
ชุมชน (๓๐๐,๐๐๐,๔๐๐,๐๐๐,๕๐๐,๐๐๐ บาท)
หลักคิด
- ที่ผา่ นมาให้ ความสาคัญกับการพัฒนาในแนวตังดู
้ กลุม่ เป้าหมาย เช่น
คนพิการ ผู้สงู อายุ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาส
- ขาดตัวร้ อยเชื่อมประเด็นร่วมในแนวราบ
- ขาดการกาหนดกลุม่ เป้าหมายที่ชดั เจน
- ขาดการเชื่อมร้ อยการดาเนินงานอย่างเป็ นระบบ
คนจน (ตัวเชื่อมร้ อยการดาเนินงานในอนาคต)
รายการ
จานวน
คนจน (ต่ากว่าเส้ นความ ๕.๕ล้ านคน
ยากจน)
- คนยากไร้
เฉียดจน
๑ ล้ านคน
๑๕ ล้ านคน
แนวทางการพัฒนางานสวัสดิการ
ตามนโยบายนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
• แผนบริหาราชการแผ่นดิน
(ลดจุดอ่อนในระบบสวัสดิการสังคม ในเสาที่ ๑ และ ๔)
โครงการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบสวัสดิการและคุ้มครองทางสังคม
เป็ นโครงการที่ตอบสนองการจัดสวัสดิการแก่คนไทยทุกคน โดยจัดทาแผนที่ทางสังคมให้ ทราบกลุ่มเป้าหมาย
ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส รวมทั ้งทรัพยากรที่มีอยู่ อุดช่องว่างการให้ บริการสวัสดิการสังคม โดยให้ หลักประกันด้ าน
รายได้ และการช่วยเหลืออย่างบูรณาการและครบวงจรแก่ผ้ ยู ากไร้ และผู้ด้อยโอกาสที่หลุดจากการได้ รับบริการทาง
สังคมให้ สามารถดารงชีวิตได้ อย่างมีศกั ดิ์ศรี และพึง่ ตนเองได้ รวมทั ้งส่งเสริม สนับสนุน ให้ อาสาสมัคร องค์การเอกชน
องค์กรชุมชน องค์กรธุรกิจตลอดจนหน่วยงานของรัฐในทุกพื ้นที่ให้ เข้ ามามีสว่ นร่วมในการคุ้มครองดูแลสวัสดิการของ
ประชาชนผ่านทางกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม ประกอบด้ วย 7 กิจกรรม วงเงิน ๔๓,๗๗๔ ล้ านบาท ใน ๔ ปี
• ขับเคลื่อนสังคมสวัสดิการและสวัสดิการถ้ วนหน้ า (๘๘ ลบ.) (สป.)
• จัดทาและพัฒนาระบบข้ อมูลสารสนเทศในรูปแผนที่ทางสังคม เพื่อพัฒนาให้ เป็ นศูนย์ปฏิบตั ิการทางสังคม
(Social map) (๕๐๐ ลบ.) (สป.)
• สวัสดิการเติมเต็มชีวิต (๒๔,๑๙๒ ลบ.) (พส.)
• สวัสดิการชุมชน (๓,๗๙๗.๓๔ ลบ.) (พอช. /สป.)
• ตาบลต้ นแบบคนไทยใจอาสา (๑,๐๙๖.๗๗ ลบ.) (สป)
• คนไทยใจอาสา (๑๓๐ ลบ.) (สป)
• กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม (๓,๓๐๐ ลบ.) (สป)
แผนผังการดาเนินงานตาม
โครงการพัฒนาและขับเคลือ่ นระบบสวัสดิการและคุ้มครองทางสั งคม
5.กองทุน
ส่งเสริมการ
จัด
สวัสดิการ
สังคม
6. คนไทย
ใจอาสา
3.
สวัสดิการ
ชุมชน
4. ตาบล
ต้ นแบบ
ประกันสังคม
ประกันสังคม
แรงงานนอก
ระบบ การ
ออมแห่งชาติ
เบี ้ยพิการ
สูงอายุ
2. สวัสดิ
การเติมเต็มชีวิต
ทัว่ ไป
45.5
ล้ านคน
1.Social
map
แผนที่ทาง
สังคม
เฉียดจน
15 ล้ านคน
ยากจน
5.5 ล้ านคน
ยากไร้ 1 ล้ าน
คน
แผนปฏิบัตกิ าร
ตามแผนยุทธศาสตร์ สวัสดิการสังคม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๑๖ โครงการ ใช้ งบประมาณทังสิ
้ ้น ๑๕,๙๗๓.๙๕ ล้ านบาท
ขอรับสนับสนุนกรอบงบประมาณ ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ เป็ นเงิน
๑๓,๙๘๒.๓ ล้ านบาท
(ปี ๒๕๕๗ เป็ นเงิน ๒,๖๕๐.๗ ล้ านบาท
ปี ๒๕๕๘ เป็ นเงิน ๔,๐๘๑.๑ ล้ านบาท
ปี ๒๕๕๙ เป็ นเงิน ๗,๒๕๐.๕ ล้ านบาท)
๖ ยุทธศาสตร์ ๑๖ โครงการ ปี งบประมาณ ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙
วงเงิน ๑๕,๙๗๓.๙ ลบ. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณปี
๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ เป็ นเงิน ๑๓,๙๘๒.๓ ล้ านบาท
ปี ๒๕๕๕
งบประม
าณรวม
๑๖
๑๐๐๑.
โครงกา
ปี ๒๕๕๖
๙๙๐
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
๒,๖๕๐ ๔,๐๘๑. ๗,๒๕๐ ๑๕,๙
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ การสร้ างและพัฒนาระบบสวัสดิการสั งคมเพือ่
สวัสดิการถ้ วนหน้ า (๓ โครงการ)
๑. โครงการสวัสดิการเติมเต็มชีวติ *
การจัดทาทะเบียนคนจน และเด็กในครอบครัวยากจน โดยนาการจัดการรายกรณี มาใช้
ในการดาเนินงานให้การช่วยเหลือ และพัฒนาเด็ก และครอบครัวยากจน การสร้างความรู ้
ความเข้าใจแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนระบบสวัสดิการสังคมสู่สวัสดิการถ้วน
หน้า โดยการประชุมสัมมนาและการรณรงค์เผยแพร่
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
เป้าหมาย/คน
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๖
๑,๐๐๐
๑๐,๐๐ ๕๐,๐๐ ๒๐๐,๐
๑,๐๐๐
๐
๐
๐๐
๕
๗.๒
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๕
๙๐
๔๕๐
๑,๘๐๐
รวม
๒,๓๕๒
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ การสร้ างและพัฒนาระบบสวัสดิการสั งคมเพือ่
สวัสดิการถ้ วนหน้ า
๒. โครงการขับเคลือ่ นระบบสวัสดิการสั งคมสู่ สวัสดิการถ้ วนหน้ า*
การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนระบบสวัสดิการสังคม
สู่สวัสดิการถ้วนหน้า โดยการประชุมสัมมนา การรณรงค์เผยแพร่ และการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
เป้าหมาย/จว.
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๖
-
-
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
๗๗
๑๙
๗๗
๒๑
ปี ๒๕๕๕
๗๗
๒๓
รวม
๗๗
๖๓
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ การสร้ างและพัฒนาระบบสวัสดิการสั งคมเพือ่
สวัสดิการถ้ วนหน้ า
๓. โครงการส่ งเสริมศักยภาพครอบครัวระดับตาบลทัว่ ประเทศ(คลินิกครอบครัว)*
การพัฒนาคนในชุมชนทาหน้าที่เป็ นผูด้ ูแล และให้คาปรึ กษาด้านครอบครัวในชุมชน
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย/ตาบล
งบ/ลบ.
๒๐
๒๐
๑๐
๒๐
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
๗๕
ปี ๒๕๕๕
รวม
๓๗๕ ๗๕๐
๑๘๗.
๓๗.๕
๗๓๕ ๙๙๐
๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ เสริมพลังทุกภาคส่ วนสู่ สังคมสวัสดิการ ( ๓
โครงการ )
๑. โครงการคนไทยใจอาสา*
การส่ งเสริ มสนับสนุนให้เกิดจิตอาสาและการเป็ นอาสาสมัคร ในสถานศึกษาและพืน้ ที่
ชุมชนทัว่ ประเทศ
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./ศธ./มท./อปท./สถาบันการศึกษา
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
เป้าหมาย
๑,๕๔๐ ๑,๕๔๐ ๒,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ๔,๐๐๐/
(เครื อข่าย/อปท.) /๘๗๘ /๘๗๘ /๑,๐๐๐ /๑,๕๐๐ ๒,๐๐๐
งบ/ลบ.
๑๕๓.๑
๒๓.๑๕
๑๐
๓๕
๔๐
๔๕
๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ เสริมพลังทุกภาคส่ วนสู่ สังคมสวัสดิการ ( ๓
โครงการ )
๒. การสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน*
๒.๑ ให้เงินสมทบแก่สมาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชนตาบลทัว่ ประเทศ ในอัตราไม่เกิน
๓๖๕ บาทต่อปี
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย คน
(ล้ าน)/อปท.
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
๑ / ๑.๔ / ๑.๕/
๒/
๒.๕/
๒,๕๐๐ ๓,๘๐๐ ๕,๐๐๐ ๖,๕๐๐ ๘,๐๐๐
๗๔๓.
๓๖๐๓.
๗๐๖.๖ ๕๑๑
๗๓๐ ๙๑๒.๕
๕
๖๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ เสริมพลังทุกภาคส่ วนสู่ สังคมสวัสดิการ
( ๓ โครงการ )
๒. การสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน*
๒.๒ ให้การสนับสนุนการจัดสวัสดิการฐานอาชีพ (ร้อยละ ๑๐ ของกลุ่มอาชีพที่จดั สวัสดิการชุมชนในพื้นที่
อบต. ๆ ละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท และ หมู่บา้ นละ ๑๐,๐๐๐ บาท)
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย ตาบล/
หมู่บ้าน
งบ/ลบ.
-
-
-
-
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
๒๕๐ / ๒๕๐ / ๓๐๐/
๒,๕๐๐ ๒,๕๐๐ ๓,๐๐๐
๕๐
๕๐
๖๐
๑๖๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ เสริมพลังทุกภาคส่ วนสู่ สังคมสวัสดิการ
( ๓ โครงการ )
๒. การสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชน*
๒.๓ ส่ งเสริ มความเข้มแข็งขององค์กรสวัสดิการชุมชนที่ได้รับการรับรองตามกฎหมายส่ งเสริ มการจัด
สวัสดิการสังคม.
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย /แห่ง
-
-
งบ/ลบ.
-
-
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
๔,๐๐๐ ๖,๐๐๐
๘,๐๐๐
๒๐
๓๐
๔๐
รวม
๙๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ เสริมพลังทุกภาคส่ วนสู่ สังคมสวัสดิการ
( ๓ โครงการ )
๓. การสนับสนุนกองทุนส่ งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคม*
สนับสนุนเงินกองทุนส่ งเสริ มการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อให้สามารถอุดหนุนโครงการขององค์การ
สวัสดิการสังคมในระบบปกติและระบบการกระจายเงินกองทุนสู่ ภูมิภาคและท้องถิ่นทัว่ ประเทศเพื่อให้ทุก
ภาคส่ วนรัฐ เอกชน ธุรกิจ อาสาสมัคร ประชาชนทัว่ ไปได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดสวัสดิการสังคม
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
เป้าหมาย
๘,๖๓๕ ๙,๒๗๐ ๙,๙๐๕
/(โครงการ/อปท./ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐/
/
/
/
/๔๐๐/ ๔๐๐/
จังหวัด)
๘,๐๐๐/ ๘,๐๐๐/ ๘,๐๐๐/
๗๗
๗๗
๗๗
๗๗
๗๗
งบ/ลบ.
๖,๑๗
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการและ
การบริหารจัดการ ( ๕ โครงการ )
๑. โครงการแผนที่ทางสังคม*
จัดทาแผนที่ทางสังคม เพื่อให้ทราบข้อมูลปั ญหาความต้องการทางสังคมกับแหล่งทรัพยากรทางสังคมใน
การจัดการกับจัดการกับปั ญหาและพัฒนากลุ่มเป้ าหมายต่างๆ นาไปใช้ในการกาหนดนโยบายและการ
นาไปใช้ในการปฏิบตั ิในระดับพื้นที่
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
เป้าหมาย /ระบบ
๑
๑
๑
-
-
งบ/ลบ.
๑๐
๑๐
๔๘๘
-
-
รวม
๕๐๘
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการและ
การบริหารจัดการ ( ๕ โครงการ )
๒. โครงการตาบลต้นแบบเพื่อการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ*
ดาเนินการบูรณาการโครงการ/กิจกรรมด้านสวัสดิการสังคมที่ดาเนินการในพื้นที่ตาบลทัว่ ประเทศ
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./มท.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย/ตาบล
งบ/ลบ.
๙๗๕
๑๒๐
๙๗๕
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
๑,๒๐๐ ๑,๔๒๕ ๑,๖๕๐
๑๔๘.๙ ๑๘๓.๒ ๒๑๗.๖
๒๕๒
๙๒๑.
๗
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการและ
การบริหารจัดการ ( ๕ โครงการ )
๓. โครงการพัฒนางานสั งคมสงเคราะห์ ในสถานศึกษา
ส่ งเสริ มการดาเนินงานของหน่วยงานที่ดาเนินงานสังคมสงเคราะห์ทางการศึกษา เพื่อเฝ้ าระวัง ดูแลและ
เชื่อมยงการช่วยเหลือที่ประสบปั ญหาทางสังคมและปั ญหาพฤติกรรม รวมทั้งส่ งเสริ มจิตอาสาและ
ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษาและชุมชน
หน่ วยงานรับผิดชอบ ศธ./กทม./มท./พม.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย/
จังหวัด
งบ/ลบ.
-
-
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
๗๗
๗๗
๗๗
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
รวม
๓๐๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการและ
การบริหารจัดการ ( ๕ โครงการ )
๔. โครงการให้ ความรู้ สวัสดิการสั งคมแก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ให้ความรู ้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นทัว่ ประเทศให้มีความรู ้ความสามารถในการบริ หารจัดการและการ
ปฏิบตั ิงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ตามอานาจหน้าที่ ในฐานะหน่วยให้บริ การประชาชนใน
พื้นที่
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./มท.
ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย/อปท.
งบ/ลบ.
-
-
ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
๒,๖๖
๒,๖๖๗ ๒,๖๖๗
๗
๒๐
๒๐
๒๐
รวม
๖๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานบริการและ
การบริหารจัดการ ( ๕ โครงการ )
๕. โครงการรองรับการดาเนินงานตามพระราชบัญญัติวชิ าชีพสั งคมสงเคราะห์ พ.ศ. ....
๕.๑ การจัดตั้งสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ให้การอุดหนุนการดาเนินงานของสภาวิชาชีพให้สามารถ
ดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในกฎหมาย
๕.๒ การอบรมเพื่อให้บุคลากรที่ปฏิบตั ิหน้าที่นกั สังคมสงเคราะห์ของหน่วยงานต่าง ๆ และตามภารกิจ
ตามกฎหมายที่กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของนักสังคมสงเคราะห์แต่ไม่มีวฒ
ุ ิทางสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ได้เข้ามา
เป็ นนักสังคมสงเคราะห์ตามกฎหมายวิชาชีพสังคมสงเคราะห์
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./สภาวิชาชีพฯ
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๖
๕.๑
เป้าหมาย/สภา
งบ/ลบ.
-
-
๕.๒
เป้าหมาย/คน
งบ.ลบ.
-
-
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
๑
๑
๑
๕
๕
๕
๒,๔๐๐
๒,๔๐๐
๓,๒๐๐
๖๐
๖๐
๘๐
รวม
๑๕
๒๐๐
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ การสร้ างและพัฒนามาตรการทางการเงินการคลังและการ
ระดมทุน (๒ โครงการ)
๑. โครงการศึกษารายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมของภาครัฐและเอกชนในภาพรวมของประเทศ
ศึกษารายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมที่ดาเนินงานโดยรัฐ องค์การเอกชน อาสาสมัครเปรี ยบเทียบต่อGDP โดย
เปรี ยบเทียบในแต่ละปี
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./สศช./สถิติ/สานักงบประมาณ/
สถาบันการศึกษาหรื อหน่วยงานเอกชน
ปี ๒๕๕๕
เป้าหมาย/เรื่ อง
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
-
-
๑
-
๑
๒
-
-
๘
-
๘
๑๖
ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ การสร้ างและพัฒนามาตรการทางการเงินการคลังและ
การระดมทุน (๒ โครงการ)
๒. โครงการศึกษาและจัดทาแผนปฏิบตั ิการปฏิรูปมาตรการการเงินการคลังเพือ่ สวัสดิการ
ของประชาชน
ศึกษาและจัดทาแผนปฏิบตั ิการปฏิรูปมาตรการการเงินการคลังเพื่อสวัสดิการของประชาชน โดย
การระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่ วน
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./กค./สถาบัน การศึกษาหรื อหน่วยงานเอกชน
ปี ๒๕๕๕
เป้าหมาย/เรื่ อง
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
-
-
๑
๑
-
๒
-
-
๔
๑
-
๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การขับเคลือ่ นระบบสวัสดิการสั งคมสู่ ประชาคมอาเซียนและ
ประชาคมโลก (๒ โครงการ)
๑. โครงการศึกษาและพัฒนาความร่ วมมือด้ านสวัสดิการสั งคมระหว่ างประเทศ
ศึกษาการจัดสวัสดิการสังคมในต่างประเทศและให้ขอ้ เสนอแนะการพัฒนาความร่ วมมือด้าน
สวัสดิการสังคมในเวทีอาเซียนและเวทีโลก
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./กต./สถาบัน การศึกษาหรื อหน่วยงานเอกชน
ปี ๒๕๕๕
เป้าหมาย/เรื่ อง
งบ/ลบ.
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
-
-
๑
-
-
๑
-
-
๕
-
-
๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ การขับเคลือ่ นระบบสวัสดิการสั งคมสู่ ประชาคมอาเซียนและ
ประชาคมโลก (๒ โครงการ)
๒. โครงการสนับสนุนการดาเนินงานภาคีความร่ วมมือระหว่ างผู้ปฏิบัตงิ าน นักการศึกษา
และสถาบันการศึกษาด้ านสั งคมสงเคราะห์ ในอาเซียน
ให้การสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีความร่ วมมือระหว่างผูป้ ฏิบตั ิงาน นักการศึกษาและ
สถาบันการศึกษาด้านสังคมสงเคราะห์ในอาเซี ยน ซึ่ งประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพในปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙
กิจกรรมประกอบด้วย การประชุมภาคีระดับภูมิภาค การแลกเปลี่ยนนักสังคมสงเคราะห์ในอาเซี ยน การพัฒนา
มาตรฐานการปฏิบตั ิงานสังคมสงเคราะห์ในอาเซี ยน และการส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนสังคมสงเคราะห์ใน
อาเซี ยน
หน่ วยงานรับผิดชอบ พม./คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ./
สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๖
เป้าหมาย/ครัง้
งบ/ลบ.
-
-
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
๒
๓
๒
๑๐
๑๕
๑๐
รวม
๓๕
ยุทธศาสตร์ ที่ ๖ ยุทธศาสตร์ การสร้ างความเข้ มแข็งของระบบเตรียม
ความพร้ อมและฟื้ นฟูในภาวะฉุกเฉิน (๑ โครงการ)
๕.๑ โครงการจัดทาแผนปฏิบตั ิการร่ วมระหว่ างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน
ในการช่ วยเหลือผู้ประสบภัย
จัดทาแผนปฏิบตั ิการร่ วมทั้งในส่ วนกลาง จังหวัด ท้องถิ่นและชุมชนในการช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภัย
หน่ วยงานรับผิดชอบ มท./พม.
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๕
รวม
เป้าหมาย/
(ชาติ/จังหวัด/อปท.)
-
-
๑
๗๗
๘,๐๐๐ ๘,๐๗๘
งบ/ลบ.
-
-
๑
๗๗
๘,๐๐๐ ๘,๐๗๘
United Nations Partnership
Framework 2012-16
Partnership on Social
Protection
สวัสดี
Welfare society
81
UN/ RTG Partnership
Results
on Social protection
RTG progressively provides
more adequate basic social
protection measures for all
throughout the life cycle,
which maintains
beneficiaries above the
nationally defined poverty
line level
Workers of the formal
sector and the informal
economy, and their
families are covered and
entitled to higher levels of
benefits through
contributory or partlysubsidized schemes
People are
aware of their
welfare rights
under the
Welfare Society
Strategy
Pillar 1:
Pillar 2:
Pillar 3:
Social assistance
Social insurance
Social services
Framework and budget
support to ensure the
financial and
institutional
sustainability of the
social welfare system is
developed and
implemented
Pillar 4:
Social
promotion
National Goal by 2017: Welfare society
= Establish an integrated social protection system
which provides protection to all throughout the course of life
82
ฐานการคุ้มครองทางสังคม
(Social Protection Floor)
เป็ นชุดนโยบายทางสังคมเพื่อ บูรณาการการสร้ างหลักประกันรายได้ และ
การเข้ าถึงบริ การทางสังคมสาหรับทุกคนโดยเฉพาะกลุม่ ผู้ด้อยโอกาส
โดยการป้องกันและเสริ มสร้ างศักยภาพของคนในวงจรชีวติ ซึง่ ได้ แก่การให้
หลักประกันรายได้ ขนพื
ั ้ ้นฐานในรูปแบบของการช่วยเหลือทางสังคม ทังใน
้
รูปแบบเงินและสิง่ ของ เช่น เงินบานาญสาหรับผู้สงู อายุ เงินช่วยเหลือคน
พิการ เด็ก การให้ หลักประกันรายได้ ในการทางาน การว่างงานและผู้มีรายได้
น้ อย รวมถึงการให้ หลักประกันถ้ วนหน้ า ในบริ การสังคม เช่น ด้ านสุขภาพ
น ้าดื่มที่สะอาดและสุขาภิบาล การศึกษา ความมัน่ คงด้ านอาหาร ที่อยู่
อาศัย และอื่น ๆ ที่จาเป็ นในแต่ละประเทศ (United Nations Chief
Executives Board (CEB) )
What is going on ?
“Social Protection Floor”
• Rio+20 United Conference on Sustainable
Development held in June 2012 in Rio de Janeiro,
Brazil, which encouraged national and local
initiatives aimed at providing social protection
floors for all members of the society.
• G-20 , Encouraged by the deliberation at the G-20
Meeting held in June 2012 in Los Cabos, Mexico,
which reaffirmed the priority on job-generating
economic growth combined with the
establishment of Social Protection Floors.
• ILO, encouraged by the 101st International
Labour /conference held in June 2012 in
Geneva, which adopted the recommendation
concerning national floors of social protection
(No. 202)
• The World Conference on Social Work and
Development held on 20 September 2012 in
Stockholm, Sweden, which emphasized the
importance of social protection floors.
• The recommendations of the 6th ASEAN GO-NGO
Forum for Social Welfare and Development held
on 20 September 2011 in Bangkok Thailand,
towards universal coverage of social protection to
the peoples of ASEAN.
• The 7th Senior Officials on Social Welfare and
Development held on 21-22 September 2011 in
Bangkok Thailand, to issue an ASEAN Declaration
the expresses the commitment of ASEAN
Member States at a higher level to strengthen
SPF implementation.
• Therefore in fulfillment of the recommendations of the
6th ASEAN GO-NGO Forum for Social Welfare and
Development . The 8th Senior Officials on Social
Welfare and Development held on 13 September 2011
in Ha Noi, Viet Nam, The Meeting considered the
Forum’s recommendation and agreed to support the
development of an ASEAN Declaration on the
strengthening SPF implementation in consultation with
other relevant sectoral bodies for adoption by the
ASEAN Leaders in 2013 during the ASEAN
Chairmanship of Brunei Darussalam.
ถาม - ตอบ