คุณสุวันชัย แสงสุขเอี่ยม-สมาคมธุรกิจคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น

Download Report

Transcript คุณสุวันชัย แสงสุขเอี่ยม-สมาคมธุรกิจคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น

โดย
สุ วนั ชัย แสงสุ ขเอีย่ ม
นายกสมาคมธุรกิจคลังสิ นค้ า ไซโล และห้ องเย็น
วันที่ 5 กันยายน 2556
สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
ASEAN = Association of South East Asia Nations
* ตั้งขึน้ ตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมือ่ 8 ส.ค. 2510
* ปัจจุบันมีสามชิกรวม 10 ประเทศ
ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ (2510)
บรู ไน (2527)
เวียดนาม (2538) ลาว พม่ า (2540) กัมพูชา (2542)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC)
* การประชุมสุ ดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ทีบ่ าหลี ต.ค. 2546
ให้ มกี ารจัดตั้ง AC ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020)
* การประชุมสุ ดยอดอาเซียนครั้งที่ 12 ทีเ่ ซบู ม.ค. 2550
ให้ จัดตั้ง AC แล้ วเสร็จเร็วขึน้ ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
* AC ประกอบด้ วย 3 เสาหลัก& กฎบัตรอาเซียน
1) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
2) ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (APSC)
3) ประชาสั งคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
AEC เป็ นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ ASEAN โดยมี
เป้าหมายดังนี้
1) ส่ งเสริมให้ ASEAN เป็ น “ตลาดและฐานการผลิต
เดียว” มีการเคลือ่ นย้ ายอย่ างเสรีของสิ นค้ า บริการ
การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝี มือ
2) ส่ งเสริมขีดความสามารถในการแข่ งขันของ ASEAN
3) ลดช่ องว่ างการพัฒนาระหว่ างประเทศสมาชิก
4) ส่ งเสริมการรวมตัวเข้ ากับประชาคมโลกของ ASEAN
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
AEC มีพนั ธสั ญญาทีส่ าคัญดังนี้
1) ภาษีนาเข้ าสิ นค้ าระหว่ างประเทศใน ASEAN เป็ น 0%
ยกเว้ นสิ นค้ าอ่ อนไหวต้ องไม่ เกิน 5%
สิ นค้ าอ่ อนไหวสู งต้ องมีการเจรจาชดเชยการไม่ ลดภาษี
และตกลงอัตราภาษีสุดท้ ายระหว่ างกัน
2) การถือหุ้นธุรกิจภาคบริการอย่ างน้ อยได้ 70% ภายในปี
คอมพิวเตอร์ /โทรคมนาคม/ท่ องเทีย่ ว/สุ ขภาพ 2553
Logistics
2556
อืน่ ๆ ทีเ่ หลือ
2558
สาขาอาชีพของแรงงานฝี มือทีม่ จี ะเคลือ่ นย้ ายได้ อย่ างเสรี
ในเบือ้ งต้ นมีดังนี้
1) ทันตแพทย์
4) วิศวกร
7) การสารวจ
2) แพทย์
5) สถาปนิก
3) พยาบาล
6) นักบัญชี
4.1 ผลบวก
1) เกิดการขยายตัวและเพิม่ โอกาสทางการค้ าและการ
ลงทุนทั้งในประเทศและระหว่ างประเทศใน ASEAN
2) สามารถใช้ ทรัพยากรการผลิตร่ วมกันจากทุกประเทศใน
ASEAN
3) สามารถใช้ แรงงานฝี มือจากประเทศใน ASEAN ได้
อย่ างสะดวกขึน้ อย่ างมาก
4) เกิดการแข่ งขันอันเป็ นประโยชน์ แก่ ผู้บริโภค ทั้งด้ าน
คุณภาพ ราคา และทางเลือก
5) เพิม่ อานาจการต่ อรองของไทยในเวทีโลกผ่ านช่ องทางของ
ASEAN
4.2 ผลลบ
1) ผู้ประกอบการและแรงงานฝี มือทีไ่ ม่ พร้ อม จะไม่
สามารถแข่ งขันได้ และถูกแย้ งงาน
2) ต่ างชาติใน ASEAN จะเข้ ามามีบทบาทและเป็ น
เจ้ าของกิจการมากขึน้ ในไทย
3) แรงงานฝี มือจากไทยทีม่ คี วามพร้ อมจานวนมาก
อาจไปทางานในประเทศอืน่ ใน ASEAN
4) แรงงานต่ างด้ าวโดยเฉพาะ พม่ า กัมพูชา และลาว
จะเดินทางกลับไปทางานในประเทศของตนมากขึน้
5.1 ทีต่ ้งั ของประเทศใน ASEAN
5.2 ปี 2553 ประชากร (ล้ านคน) GDP (พันล้ าน US$)
บรู ไน
0.4
12.0
กัมพูชา
15.3
11.2
อินโดนีเซีย
239.9
707.0
ลาว
6.2
6.5
มาเลเซีย
28.4
238.0
พม่ า
60.2
35.6
ฟิ ลิปปิ นส์
93.3
200.0
สิ งคโปร์
5.1
223.0
ไทย
69.1
319.0
เวียดนาม
89.9
104.0
ASEAN รวม
607.8
1,854.4
5.3
สิ งคโปร์
ไทย
มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
เวียดนาม
ลาว
อินโดนีเซีย
กัมพูชา
พม่ า
บรู ไน
ค่ าจ้ างรายวันขั้นต่า
1,500-1,700*
300
284
280-307
92-110
90-120
85-156
60
16
N/A* * = ไม่มีกฎหมายกาหนดค่าจ้างรายวันขั้นต่า
ทีม่ า www.businessinasia.com
5.4 การเปรียบเทียบไทยกับประเทศอืน่ ใน ASEAN
จากข้ อมูล Doing Business 2011 ของธนาคารโลก
และข้ อมูล IMD World Competitiveness Report พบว่ า
1) ความง่ ายในการเข้ าทาธุรกิจในภาพรวม
1. สิ งคโปร์
19. ไทย
21. มาเลเซีย
78. เวียดนาม 112. บรู ไน
121. อินโดนีเซีย
148. ฟิ ลิปปิ นส์ 147. กัมพูชา 171. ลาว
จากข้ อมูล 183 ประเทศ
5.4 การเปรียบเทียบไทยกับประเทศอืน่ ใน ASEAN (ต่ อ)
2) โครงสร้ างพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปโภคในการทาธุรกิจ
11. สิ งคโปร์
25. มาเลเซีย 46. ไทย
55. อินโดนีเซีย 56. ฟิ ลิปปิ นส์
วัดจากข้ อมูล 58 ประเทศ
3) ประสิ ทธิภาพทางธุรกิจ
1. สิ งคโปร์
4. มาเลเซีย 20. ไทย
34. อินโดนีเซีย 32. ฟิ ลิปปิ นส์
วัดจากข้ อมูล 58 ประเทศ
5.4 การเปรียบเทียบไทยกับประเทศอืน่ ใน ASEAN (ต่ อ)
4) รัฐบาลมีประสิ ทธิภาพ วัดจากข้ อมูล 58 ประเทศ
2. สิ งคโปร์
9. มาเลเซีย 18. ไทย
23. อินโดนีเซีย 31. ฟิ ลิปปิ นส์
5) ดัชนีการปฏิบัติงานด้ านโลจิสติกส์
2. สิ งคโปร์
29. มาเลเซีย 35. ไทย
44. ฟิ ลิปปิ นส์ 55. เวียดนาม 75. อินโดนีเซีย
118. ลาว
129. กัมพูชา 133. พม่ า
วัดจากข้ อมูล 155 ประเทศ
5.5 คลังสิ นค้ า ไซโล และห้ องเย็นสาธารณะของไทย
ปี 2555 [2551] จานวน (ราย)
ความจุ (ล้ านตัน)
คลังสิ นค้ า
ไซโล
ห้ องเย็น
รวม
5.058
2.257
0.629
7.944
97
25
159
281
[59]
[23]
[144]
[226]
[4.032]
[1.704]
[0.531]
[6.266]
5.5 คลังสิ นค้ า ไซโล และห้ องเย็นสาธารณะของไทย (ต่ อ)
ภูมภิ าค 2555 คลังสิ นค้ า[ราย] ไซโล
ห้ องเย็น
กลาง
4.702 [71] 1.683 [13] 0.519 [122]
ตะวันออก 0.181 [ 5] 0.192 [ 3] 0.021 [ 6]
เหนือ
0.132 [ 5] 0.040 [ 2] 0.051 [17]
อีสาน
0.004 [ 1]
0.341 [ 7] 0.012 [ 5]
ใต้
0.039 [15] 0.000 [ 0] 0.027 [ 9]
รวม
5.058 [97]
2.257 [25] 0.629 [159]
5.6 สั ดส่ วนต้ นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP ของไทย
2549 2550 2551 2552
การขนส่ ง
8.78% 8.85% 9.10% 8.26%
บริหารคลังสิ นค้ า 0.05% 0.03% 0.07% 0.06%
การถือครองสิ นค้ า 8.45% 8.17% 7.73% 6.94%
บริหารจัดการ
1.73% 1.71% 1.69% 1.53%
ต้ นทุนโลจิสติกส์
19.0% 18.8% 18.6% 16.8%
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
1) ศึกษาทาความเข้ าใจเกีย่ วกับ AEC
2) เตรียมรับการแข่ งขันจากต่ างชาติทจี่ ะมาลงทุนในไทย
2.1) ลดต้ นทุนโดยไม่ กระทบต่ อคุณภาพการให้ บริการ
2.2) ปรับปรุงการบริหารจัดการให้ มปี ระสิ ทธิภาพมากขึน้
2.3) พัฒนาและรักษาบุคลากร รวมทั้งเพิม่ ความรู้ ทางภาษา
2.4) ดาเนินการเพือ่ ให้ มมี าตรฐานในการให้ บริการ
2.5) นาระบบ IT มาใช้ เพือ่ ให้ บริการได้ ดแี ละสะดวกขึน้
2.6) ดาเนินการเพือ่ ให้ การบริการมีจุดเด่ นเฉพาะ
2.7) สร้ างและสานความสั มพันธ์ ทดี่ กี บั ลูกค้ า
3) เตรียมตัวรับโอกาสทีจ่ ะขยายธุรกิจไปยังประเทศอืน่ ใน
ASEAN เช่ น พม่ า ลาว และกัมพูชา
4) การร่ วมมือเพือ่ ผนึกกาลังกันระหว่ างผู้ประกอบการใน
ประเทศ
โดย
สุ วนั ชัย แสงสุ ขเอีย่ ม
นายกสมาคมธุรกิจคลังสิ นค้ า ไซโล และห้ องเย็น
วันที่ 5 กันยายน 2556